TH93246A - กลไกล็อค - Google Patents

กลไกล็อค

Info

Publication number
TH93246A
TH93246A TH701003799A TH0701003799A TH93246A TH 93246 A TH93246 A TH 93246A TH 701003799 A TH701003799 A TH 701003799A TH 0701003799 A TH0701003799 A TH 0701003799A TH 93246 A TH93246 A TH 93246A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
release
locking
housing
detent
locked state
Prior art date
Application number
TH701003799A
Other languages
English (en)
Other versions
TH93246B (th
TH55617B (th
Inventor
บลันช์ เดวิด
Original Assignee
นางสาวอนัญญา เหลืองประวัติ
นายมนูญ ช่างชำนิ
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวอนัญญา เหลืองประวัติ, นายมนูญ ช่างชำนิ filed Critical นางสาวอนัญญา เหลืองประวัติ
Publication of TH93246B publication Critical patent/TH93246B/th
Publication of TH93246A publication Critical patent/TH93246A/th
Publication of TH55617B publication Critical patent/TH55617B/th

Links

Abstract

DC60 (06/12/56) การประดิษฐ์นี้เกี่ยวกับชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้า 1 มีตัวเรือน 10 และตัวกักยึด 6 ซึ่งถูกติดตั้งบนตัวเรือนสำหรับการเคลื่อนที่ไปยังส่วนนั้นระหว่างตำแหน่งเปิดและปิดโดยสัมพันธ์กัน ชุดประกอบล็อคยังมีวิถีทางล็อค 12 รวมถึงตัวดีเทนท์ (detent) 21 ซึ่งเมื่ออยู่ในในตำแหน่งแอกทีฟจะหยุด ตัวกักยึดจากการเคลื่อนสัมพันธ์กับตัวเรือน ชุดประกอบล็อคยังมีตัวกระตุ้นชนิดไฟฟ้า 14 ซึ่งสามารถทำให้ วิถีทางกักอยู่ในสภาพล็อคหรือถูกปลด การประดิษฐ์นี้เกี่ยวกับชุดประกอบล็อคที่ถุกควบคุมโดยไฟฟ้า 1 มีส่วนที่เป็นตัวเรือน 10 และตัวกักยึด 6 ซึ่งถูกติดตั้งบนตัวเรือนสำหรับเคลื่อนที่ยังส่วนนั้นระหว่างตำแหน่งเปิดและปิดโดยสัมพันธ์กัน ชุดประกอบล็อคยังมีวิถีทางล็อค 12 รวมถึงตัวดีเทนท์ (detent) 21 ซึ่งเมื่อเมื่อในตำแหน่งแอกทีฟจะหยุด ตัวกั้นจากการเลื่อนสัทพันธ์กับตัวเรือน ชุดประกอบล็อคยังมีส่วนที่เป็นตัวขับเร้าไฟฟ้า 14 ซึ่งสามารถทำให้ กลไกสำหรับยึดยอมรับรับสภาพล็อคหรือถูกปลด

Claims (2)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 5/1/59 1. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าสำหรับกักสลักกลอนอย่างปล่อยออกได้ที่รวมถึง ตัวเรือน ตัวกักยึด (keeper) เมื่อใช้งานจะกระทำกับกับสลักกลอน ตัวกักยึดติดตั้งที่ตัวเรือนและ เคลื่อนที่ได้โดยสัมพันธ์กับตัวเรือนจากตำแหน่งปิด วิถีทางล็อคซึ่งรวมถึงตัวดีเทนท์ (detent) ซึ่งทำงานร่วมกับตัวกักยึดเพื่อที่ว่าเมื่อตัวดีเทนท์ถูก กักในตำแหน่งแอ็กทีฟ ตัวกักยึดถูกทำให้หยุดจากการเคลื่อนที่จากตำแหน่งปิดของมันเพื่อให้ ตัวกักยึดกักสลักกลอนเมื่อใช้งาน วิถีทางล็อคยังรวมถึงวิถีทางกักซึ่งเมื่ออยู่ในสภาวะล็อคจะกักตัวดีเทนท์ในตำแหน่งแอ็กทีฟ และเมื่ออยู่ในสภาวะปลดปล่อยจะปลดปล่อยตัวดีเทนท์สำหรับการเคลื่อนที่จากตำแหน่งแอ็กทีฟ วิถีทางกักรวมถึงชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้ซึ่งอยู่ในตำแหน่งที่หนึ่งเมื่อตัวดีเทนท์อยู่ในตำแหน่ง แอ็กทีฟ และเคลื่อนที่ไปตำแหน่งที่สองเมื่อตัวดีเทนท์ถูกทำให้เคลื่อนที่จากตำแหน่งแอ็กทีฟ วิถีทางกักยังรวมถึงตัวหยุดซึ่งขัดขวางการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้ไปยังตำแหน่งที่ สองเมื่อวิถีทางกักอยู่ในสภาวะล็อค ตัวกระตุ้นชนิดไฟฟ้ารวมถึงโซลีนอยด์ที่มีพลันเจอร์ (plunger) พลันเจอร์สามารถเชื่อมต่อกับ ตัวหยุดอย่างปรับได้เพื่อทำให้วิถีทางล็อคสามารถทำงานในโมดป้องกันการขัดข้อง โดยเมื่อมีการ ให้พลังงานแก่ตัวกระตุ้นจะทำให้วิถีทางกักอยู่ในสภาวะที่ถูกล็อค หรือหลังจากการปรับการ เชื่อมต่อของตัวหยุดกับพลันเจอร์ให้ทำงานในโมดที่ปลอดภัยจากการขัดข้อง โดยเมื่อมีการให้ พลังงานแก่ตัวกระตุ้นจะทำให้วิถีทางกักอยู่ในสภาวะปลดปล่อย ที่ซึ่งเมื่อวิถีทางกักอยู่ในสภาวะล็อค การกระตุ้นตัวกักยึดให้เคลื่อนที่โดยสัมพันธ์กับตัวเรือน จะกระตุ้นวิถีทางกักเพื่อให้อยู่ในสภาวะปลดปล่อย ในกรณีที่วิถีทางกักอยู่ในสภาวะปลดปล่อย ตัวดีเทนท์สามารถเคลื่อนที่ได้จากตำแหน่งแอ็กทีฟโดยการเคลื่อนที่ของตัวกักยึดโดยสัมพันธ์กับ ตัวเรือนจากตำแหน่งปิดเมื่อปลดปล่อยสลักกลอน 2. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้หมุนรอบแกนที่หนึ่งเมื่อ เคลื่อนที่ระหว่างตำแหน่งที่หนึ่งและที่สอง 3. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้รวมถึง แขนที่ถูกขับเคลื่อนซึ่งจับยึดตัวหยุดเมื่อชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งที่สอง และ วิถีทางกักอยู่สภาวะที่ถูกล็อค 4. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 3 ที่ซึ่งแขนที่ถูกขับเคลื่อนรวมถึงปลายอิสระซึ่งจับยึด ตัวหยุดเมื่อชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งที่สองและวิถีทางกักอยู่ในสภาวะที่ถูกล็อค 5. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัวหยุดหมุนรอบแกนที่สอง ซึ่งขนานกับแกนที่หนึ่ง แขนขับเคลื่อนเมื่อจับยึดตัวหยุดจะจ่ายแรงไปยังตัวหยุดซึ่งมุ่งอย่างมี นัยสำคัญไปยังแกนที่สอง 6. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 5 ที่ซึ่งวิถีทางกักรวมถึงชิ้นส่วนขับเคลื่อนซึ่งจับยึดตัว ดีเทนท์และถูกเชื่อมต่อกับชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้เพื่อให้การเคลื่อนที่ของตัวดีเทนท์จากตำแหน่งแอก ทีฟสร้างโมเมนต์รอบแกนที่หนึ่ง ซึ่งโมเมนต์มีแขนโมเมนต์ซึ่งจะเพิ่มขึ้นเมื่อตัวดีเทนท์เคลื่อนที่จาก ตำแหน่งแอ็กทีฟ 7. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 6 ที่ซึ่งชิ้นส่วนขับเคลื่อนถูกเชื่อมต่อแบบเป็นข้อต่อกับ ปลายด้านหนึ่งที่ถูกเชื่อมต่อกับชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้และปลายอีกด้านหนึ่งที่ถูกเชื่อมต่อกับตัวเรือน สำหรับหมุนรอบแกนที่สอง 8. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิก่อนหน้าข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งพลันเจอร์ถูกเชื่อมต่อกับ ตัวหยุดอย่างปรับได้เพื่อยอมให้ปรับตำแหน่งตัวหยุดโดยสัมพันธ์กับปลายอิสระของแขนที่ถูก ขับเคลื่อนเพื่อปรับโมดการทำงานของตัวกระตุ้นระหว่างโมดป้องกันการขัดข้องและแบบที่ปลอดภัย จากการขัดข้อง 9. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิก่อนหน้าข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัวกักยึดรวมถึงช่องที่ รับรองตัวดีเทนท์เมื่อตัวดีเทนท์อยู่ในตำแหน่งแอ็กทีฟ 1 0. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 9 ที่ซึ่งช่องรวมถึงผนังด้านข้างที่เป็นมุมซึ่งถูกจับยึด โดยตัวดีเทนท์เมื่อตัวดีเทนท์อยู่ในตำแหน่งแอ็กทีฟ มุมของผนังด้านข้างจะใช้เพื่อกระตุ้นตัว ดีเทนท์ออกจากช่องเมื่อตัวกักยึดถูกทำให้เคลื่อนที่ออกจากตำแหน่งปิด 1 1. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิก่อนหน้าข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัวกักยึดถูกไบแอสไปยัง ตำแหน่งปิด 1 2. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิก่อนหน้าข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัวหยุดถูกเชื่อมต่อกับพลัน เจอร์โดยแขนเชื่อมต่อซึ่งสามารถปรับความยาวได้เพื่อปรับโมดการทำงานของวิถีทางล็อค 1 3. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 12 ที่ซึ่งการปรับแขนเชื่อมต่อทำให้เกิดการปรับ ตำแหน่งของสกรูโดยสัมพันธ์กับแขนเชื่อมต่อ 1 4. วิถีทางล็อคสำหรับใช้งานในชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าซึ่งมีตัวเรือนและตัวกักถูก ติดตั้งในตัวเรือนและสามารถเคลื่อนที่โดยสัมพันธ์กับตัวเรือนจากตำแหน่งล็อคไปยังตำแหน่งปล่อย วิถีทางล็อคที่รวมถึง ตัวดีเทนท์ซึ่งเมื่อถูกกักในตำแหน่งแอ็กทีฟ ตัวกักถูกทำให้หยุดจากการเคลื่อนที่จากตำแหน่ง ล็อคของมัน วิถีทางล็อคยังรวมถึงวิถีทางกักซึ่งเมื่ออยู่ในสภาวะล็อคจะกักตัวดีเทนท์ในตำแหน่ง แอ็กทีฟ และเมื่ออยู่ในสภาวะปลดปล่อยจะปลดปล่อยตัวดีเทนท์สำหรับการเคลื่อนที่จากตำแหน่ง แอ็กทีฟ ที่ซึ่งเมื่อวิถีทางกักอยู่ในสภาวะล็อค การกระตุ้นตัวกักให้เคลื่อนที่โดยสัมพันธ์กับตัวเรือนจะ กระตุ้นวิถีทางกักให้พยายามอยู่ในสภาวะปลดปล่อย ในกรณีที่วิถีทางกักอยู่ในสภาวะปลดปล่อย ตัวดีเทนท์สามารถเคลื่อนที่ได้จากตำแหน่งแอ็กทีฟโดนการเคลื่อนที่ของตัวกั้นสัมพันธ์กับตัวเรือน จากตำแหน่งปิด ที่ซึ่งวิถีทางกักรวมถึงชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้ซึ่งอยู่ในตำแหน่งที่หนึ่งเมื่อตัวดีเทนท์อยู่ในตำแหน่ง แอ็กทีฟและเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งที่สองเมื่อตัวดีเทนท์ถูกทำให้เคลื่อนที่จากตำแหน่งแอ็กทีฟ วิถีทางกักยังรวมถึงตัวหยุดซึ่งขัดขวางการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้ไปยังตำแหน่งที่สองเมื่อ วิถีทางกักอยู่ในสภาวะที่ถูกล็อค ตัวกระตุ้นชนิดไฟฟ้าซึ่งกระทำกับกับวิถีทางล็อคที่สามารถทำงานเพื่อทำให้วิถีทางกักอยู่ใน สภาวะที่ถูกล็อคหรือสภาวะปลดปล่อย ตัวกระตุ้นชนิดไฟฟ้ารวมถึงโซลีนอยด์ที่มีพลันเจอร์ พลัน เจอร์ สามารถเชื่อมต่อกับตัวหยุดอย่างปรับได้เพื่อยอมให้วิถีทางล็อคสามารถทำงานใน โมดป้องกันการขัดข้องโดยที่การให้พลังงานแก่ตัวกระตุ้นจะทำให้วิถีทางกักอยู่ในสภาวะที่ถูกล็อค หรือหลังจากการปรับการเชื่อมต่อของตัวหยุดกับพลันเจอร์ให้ทำงานในโมดที่ปลอดภัยจากการ ขัดข้อง โดยเมื่อมีการให้พลังงานแก่ตัวกระตุ้นจะทำให้วิถีทางกักอยู่ในสภาวะปลดปล่อย 1 5. วิถีทางล็อคสำหรับใช้งานตามข้อถือสิทธิ 14 ที่ซึ่งดัวกักเป็นสลักกลอน 1 6. วิถีทางล็อคตามข้อถือสิทธิ 15 ที่ซึ่งตัวกักเป็นตัวกักยึด 1 7. วิถีทางล็อคตามข้อถือสิทธิ 14 หรือ 16 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัวกักถูกเชื่อมต่อกับพลันเจอร์ โดยแขน เชื่อมต่อซึ่งสามารถปรับความยาวได้เพื่อปรับโมดการทำงานของวิถีทางล็อค 1 8. ชุดประกอบกระทบชนิดไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 17 ที่ซึ่งการปรับแขนเชื่อมต่อทำให้เกิดการปรับ ตำแหน่งของสกรูสัมพันธ์กับแขนเชื่อมต่อ ------------------------------------------------------ 1. ชุดประกอบพุ่งกระทบแบบใช้ไฟฟ้าสำหรับรักษาสภาะเกลียวโดยปล่อยออกได้รวมถึง ตัวเรือน ปลอกกันแหวนหลุดเมื่อใช้งานจะโต้ตอบกับสลักเกลียว ปลอกกันแหวนหลุดติดตั้งที่ตัวเรือน และเลื่อนได้โดยสัมพันธ์กันกับตัวเรือนจากตำแหน่งปิด ตัวกักยึด (keeper) เมื่อใช้งานจนกระทำกับกับสลักกลอน ตัวกักยึดติดตั้งที่ตัวเรือนและ เคลื่ยนที่ได้โดยสัมพันธ์กับตัวเรือนจากตำแหน่งปิด วิถีทางล็อคซึ่งรวมถึงตัวดีเทนท์ (dedent) ซึ่งทำงานร่วมกับตัวยึดเพื่อที่ว่าเมื่อตัวดีเทนท์ถูก กักในตำแหน่งแอกทีฟ ตัวกักยึดถูกทำให้หยุดจากการเคลื่ยนที่จากตำแหน่งปิดของมันเพื่อให้ตัวกัก ยึดกักสลักกลอนเมื่อใช้งาน วิถีล็อคยังรวมถึงวิถีทางกักซึ่งเมื่อถูกสภาวะล็อคจะกักตัวดีเทนท์ในตำแหน่งแอกทีฟ วิถ๊ทางกักรวมถึงชิ้นงานที่เคลื่อนท่ได้ซึ่งอยู่ในตำแหน่งที่หนึ่งเมื่อตัวดีเทนท์อยู่ในตำแหน่ง แอกทีฟ และเคลื่อนมราไปตำแหน่งที่สองเมื่อตัวดีเทนท์ถูกทำให้เคลื่อนที่จากตำแหน่งแอกทีฟ วิถีทางกักยังรวมถึงตัวหยุดซึ่งขัดขวางการเคลื่ยนที่ของชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้ไปยังตำแหน่งที่ สองเมื่อวิถีทางกักอยู่ในสภาวะล็อค ตัวกระตุ้นชนิดไฟฟ้ารวมถึงโซลีนอยด์ที่มีพลันเจอร์(plunger) พลันเจอร์สามารถเชื่อมต่อกับ ตัวหยุดอย่างปรับได้ทำให้วิถีทางกักอยู่ในสภาวะที่ถูกล็อค หรือหลังจากการปรับการ เชื่อมต่อของตัวหยุดกับพลันเจอร์ให้ทำงานในโมดที่ปลอดภัยจากการขัดข้อง โดยเมื่อมีการให้ พลังงานแก่ตัวกระตุ้นจะทำให้วิถีทางกักอยู่ในสภาวะปลดปล่อย ที่ซึ่งเมื่อวิถีทางกักอยู่ในสภาวะล็อค การกระตุ้นตัวกักยึดให้เคลื่อนที่โดยสัมพันธ์กับตัวเรือน จะกระตุ้นวิถีทางกักเพื่อให้อยู่ในสภาวะปลดปล่อย ในกรณีที่วิถีทางกักอยู่โดยสัมพันธ์กับตัว เรือนจากตำแหน่งปิดเมื่อปลดล็อคปล่อยสลักกลอน 2. ตัวพุ่งกระทบฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง กลไกสำหรับยึดรวมถึงส่วนที่เป็นส่วนที่เลื่อนได้ซึ่ง ใช้ตำแหน่งที่หนึ่งเมื่อกลไกสำหรับขัดและปล่อยอยู่ในตำแหน่งประจำการ และเลื่อนไปตำแหน่งที่สอง เมื่อกลไกสำหรับขดและปล่อยถูกเลื่อนจากตำแหน่งประจำการ กลไกสำหรับยึดยังรวมถึงกลไกสำหรับ หยุดซึ่งขัดวางการเคลื่อนที่ของส่วนที่เลื่อนได้ไปยังตำแหน่งที่สองเมื่อกลไกสำหรับยึดอยู่ในสภาวะที่ถูก ล็อค 3. ตัวพุ่งกระทบไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 2 ที่ซึ่ง ส่วนที่เลื่อนได้หมุนรอบแกนที่หนึ่งเมื่อเลื่อน ระหว่างตำแหน่งที่หนึ่งและสอง 4. ตัวพุ่งกระทบไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 2 หรือ 3 ที่ซึ่ง ส่วนที่เลื่อนได้รวมถึงแขนที่ถูกขับเคลื่อนซึ่ง คาบเกี่ยวกลไกสำหรับหยุดเมื่อส่วนที่เลื่อนได่เลื่อนเข้าหาตำแหน่งที่สอง และกลไกสำหรับยึดอยู่ใน สภาวะทีถูกล็อค 5. ตัวพุ่งกระทบไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 4 ที่ซึ่ง แขนที่ถูกขับเคลื่อนมีส่วนที่เป็นปลายที่เป็นอิสระ ซึ่งคาบเกี่ยวกลไกสำหรับหยุดเมื่อส่วนที่เลื่อนได้เลื่อนเข้าหาตำแหน่งที่สองและกลไกสำหรับยึดอยุ่ใน สภาวะที่ถูกล็อค 6. ชุดประกอบพุ่งกระทบแบบใชเไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 4 หรือ 5 ที่ซึ่ง กลไกสำหรับหยุดหมุนรอบ แกนที่สอง แขนขับดันที่คาบเกี่ยวกลไกสำหรับหยุดป้อนแรงไปยังกลไกสำหรับหยุดซึ่งมุ่งเน้นไปอย่าง เพียงพอทางแกนที่สอง 7. ชุดประกอบพุ่งกระทบแบบใช้ไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 6 ที่ซึ่ง กลไกสำหรับยึดรวมถึงส่วนสำหรับ ขับดันที่ซึ่งคาบเกี่ยวกับกลไกสำหรับขัดและปลอยต่อกับส่วนที่เลื่อนได้ เพื่อให้การเคลื่อนที่ของกลไก สำหรับขัดและปล่อยจากตำแหน่งประจำการสร้างโมเม้นต์รอบแกนที่หนึ่ง ที่ซึ่งโมเม้นต์มีแขนของ โมเมนต์ซึ่งจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากลไกสำหรับขัดและปล่อยเลื่อนจากตำแหน่งประจำการ 8. ชุดประกอบพุ่งกระทบแบบใช้ไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 7 ที่ซึ่ง ส่วนสำหรับขัดดันต่อเป็นปล้องกับ ปลายด้านหนึ่งที่ต่อกับส่วนที่เลื่อนได้และปลายอีกด้านหนึ่งที่ต่อกับตัวเรือนสำหรับหมุนรอบแกนที่สอง 9. ชุดประกอบพุ่งกระทบไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 8 รวมถึงตัวขับเร้าไฟฟ้าซึ่งโต้ตอบกับกล ไกสำหรับล็อคซึ่งสามารถใช้ใหเกลไกสำหรับยึดยอมรับสภาวะที่ถูกล็อคหรือสภาวะปลดปล่อย 1 0. ชุดประกอบพุ่งกระทบแบบใช้ไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 9 ที่ซึ่ง ตัวขับเร้าโต้ตอบกับกลไกสำหรับ ล็อคเพื่อทำใหเกลไกสำหรับล็อคสามารถปฎิบัติการในแบบวิธีป้องกันการขัดข้อง โดยเมื่อมีการให้พลัง งานกระตุ้นแก่ตัวขับเร้าทำให้กลไกสำหรับยึดยอมรับสภาวะที่ถูกล็อคและปฎิบัติการในแบบวิธีที่ปลอด ภัยจาการขัดข้อง โดยเมื่อมีการให้พลังงานกระตุ้นแก่ตัวขับเร้าทำให้กลไกสำหรับยึดยอทรับสภาวะปลด ปล่อย 1 1. ชุดประกอบพุ่งกระทบแบบใช้ไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 9 หรือ 10 ที่ซึ่ง ตัวขับเร้ารวมถึงโซลึ นอยด์ที่มีลูกสูบซึ่งชักกลับต้านกับปฎิบัติการของกลไกรับถ่วงเมื่อมีการใหเพลังงานกระตุ้นของตัวขับ เร้า 1 2. ชุดประกอบพุ่งกระทบแบบใช้ไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 11 ที่วึ่ง ลูกสูบต่อกับกลไกสำหรับหยุด โดยให้ปรับได้เพื่อยอมใหเปรับตำแหน่งกลไกสำหรับหยุดโดยสัมพันธ์กับปลายที่เป็นอิสระของแขนที่ถูก ขับเคลื่อนเพื่อปรับโหมดปฎิบัติการของตัวขับเร้าระหว่างแบบที่ป้องกันการขัดข้องและแบบที่ปลอดภัย จาการขัดข้อง 1 3. ชุดประกอบพุ่งกระทบแบบใช้ไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิก่อนหน้าข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งปลอกกันแหวน หลุดรวมถึงช่องเว้าที่รองรับกลไกสำหรับขัดและปล่อยเมื่อกลไกสำหรับและปลดปล่อยอยู่ในตำแหน่ง ประจำการ 1 4. ชุดประกอบพุ่งกระทบแบบใช้ไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 13 ที่ซึ่ง ช่องเว้ารวมถึงผนังด้านข้างที่เป็น มุมซึ่งถูกคาบเกี่ยวโดยกลไกสำหรับขัดและปล่อย เมื่อกลไกสำหรับขัดปล่อยอยู่ในตำแหน่งประจำ การ มุมของผนังด้านข้างถูกกระตุ้นกลไกสำหรับและปลดปล่อยออกของช่องเว้าเมื่อปลอกกันแหวนหลุดถูก เลื่อนออกไปจากตำแหน่งปิด 1 5. ชุดประกอบพุ่งกระทบแบบใชเไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิก่อนหน้าข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง ปลอกกัน แหวนหลุดถูกถ่วงเข้าตำแหน่งปิด 1 6. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้ารวมถึง ตัวเรือน สลักเกลียวที่ติดตั้งในตัวเรือนและถูกเลื่อนได้โดยสัมพันธ์กันกับตัวเรือนจากตำแหน่งล็อคที่ ยื่นออกไปยังตำแน่งปล่อยที่ถูกชักเข้า กลไกสำหรับล็อคซึ่งมีส่วนที่เป็นกลไกสำหรับขัดและปลดปล่อยซึ่งเมื่อรักษาสภาพในตำแหน่ง ประจำการสลักเกลียวจะถูกหยุดจาการเลื่อนจากตำแหน่งล็อคที่ยื่นออกไปของมัน กลไกสำหรับล็อคยัง มีส่วนที่เป็นกลไกสำหรับยึดซึ่งเท่ออยู่ในสภวะปลดปล่อยกลไกสำหรับขัดและวำหรับเครื่อลที่จาก ตำแหน่งประจำการ ตัวขับเร้าไฟฟ้าซึ่งโต้ตอบกับกลไกสำหรับล็อคที่สามารถใช้ทำให้กลไกสำหรับยึดยอมรับ สภาวะที่ถูกล็อคหรือสภาวะปลดปล่อย 1 7. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 16 ที่ซึ่ง กลไกสำหรับยึดรวมถึงส่วนที่ เลื่อนได้ซึ่งจำใช้ตำแหน่งเมื่อกลไกสำหรับขัดและปล่อยอยู่ในตำแหน่งประจำการ และเลื่อนไปที่ ตำแหน่งที่สองเมื่อกลไกสำหรับขัดและปล่อยถูกเลื่อนจากตำแหน่งประจำการ กลไกสำหรับยึดรวมถึง กลไกสำหรับหยุดซึ่ขัดขวางการเคลื่อนที่ของส่วนที่เลื่อนได้ไปยังตำแหน่งที่สองเมื่อกลไกสำหรับยึดอยู่ ในสภาวะที่ถูกล็อค 1 8. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 17 ที่ซึ่ง ส่วนที่เลื่อนได้หมุนรอบแกน ที่หนึ่งเมื่อเลื่อนระหว่งตำแหน่งที่หนึ่งและสอง 1 9. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 18 ที่วึ่ง ส่วนที่เลื่อนได้รวมถึงส่วนที่ เป็นแขนที่ถูกขับเคลื่อนซึ่งคาบเกี่ยวกลไกสำหรับหยุดเมื่อส่วนเลื่อนได้เลื่อนเข้าหาตำแหน่งที่สองและ กลไกสำหรับยึดอยู่ในสภาวะที่ถูกล็อค 2 0. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 19 ที่ซึ่ง กลไกสำหรับหยุดหมุนรอบ แกนที่สอง แขนขับดันเมื่อคาบเกี่ยวกลไกสำหรับหยุดป้อนแรงให้แก่กลไกสำหรับหยุดซึ่งมุ่งเน้นอย่าง เพียงพอไปทางแกนที่สอง 2 1. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 20 ที่ซึ่ง กลไกสำหรับยึดรวมถึงส่วน สำหรับขับดันวึ่งคาบเกี่ยวกับกลไกสำหรับขัดและปล่อย และต่อกับส่วนที่เลื่อนได้เพื่อให้การเคลื่อนที่ของกล ไกสำหรับขัดและปล่อยจากตำแหน่งประจำการสร้างโมเม้นต์รอบแกนที่หนึ่ง โมเม้นต์นี้มีแขนของ โมเมนต์ขึ้นเพิ่มขึ้นเมื่อกลไกสำหรับขัดและปล่อยเลื่อนจากตำแหน่งประจำการ 2 2. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 21 ที่ซึ่ง ส่วนสำหรับขับดันถูกต่อเป็น ปล้องกับปลายด้านหนึ่งที่ต่อกับส่วนที่เลื่อนได้เลื่อนได้และปลายอีกด้านที่ถุกต่อกับตัวเรือนสำหนัลหมุนรอบ แกนที่สอง 2 3. ชุดประกอบล็อคท่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 16 ถึง 22 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง ตัวขับ เร้าไฟฟ้าโต้ตอบกับกลไกสำหรับล็อคเพื่อทำให้กลไกสำหรับล็อคสามารถปฎิบัติการในแบบวิธีป้องกัน การขัดข้อง โดยที่ปฎิบัติการของตัวขับเร้าทำให้กลไกสำหรับยึดยอมรับสภาวะที่ถูกล็อคและปฎิบัติการใน แบบวิธีที่ปลอดภัยจากการขัดข้อง โดยที่ปฎิบัติการของตัวขับเร้าทำให้กลไกสำหรับยึดยอมรับสภาวะ ปลดปล่อย 2 4. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 16 ถึง 24 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง ตัวขับ เร้าไฟฟ้ารวมถึงโซลีนนอยด์ที่มีลูกสูบซึ่งซึ่งชักกลับต้านกันปฎิบัติการของกลไกสำหรับถ่วงเมื่อมีการให้พลัง งานกระตุ้นในตัวขับเร้า 2 5. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 24 ที่ซึ่ง ถูกสูบต่อกับกลไกสำหรับ หยุดโดยให้ปรับได้เพื่อยอมให้มีการปรับปรุงตำแหน่งของกลไกสำหรับหยุดที่สัมพันธ์กันกับปลายที่เป็นอิสระ ของแขนที่ถูกขับเคลื่อนเพื่อปรับโหมดปฎิบัติการของตัวขับเร้าระหว่างแบบป้องกันการขัดข้องและแบบ ปลอดภัยจาการขัดข้อง 2 6. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 16 ถึง 25 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง สลัก เกลียวมีส่วนที่เป็นช่องเว้าเพื่อให้รองรับกลไกสำหรับขัดและปล่อยเมื่อกลไกสำหรับขัดและปล่อยอยู่ใน ตำแหน่งประจำการ 2 7. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 16 ถึง 24 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีส่วนที่ เป็นตัวขับเร้าที่ควบคุมด้วยมือได้ที่สามารถใช้ชักเข้าสลักเกลียวจากตำแหน่งล็อคที่ยื่นออกไป ตัวขับเร้าที่ ควบคุมด้วยมือได้มีส่วนเป็นของช่องเว้าเพื่อให้รองรับกลไกสำหรับขัดและปล่อยเมื่อกลไกสำหรับขัดและ ปล่อยอยู่ในตำแหน่งประจำการ 2 8. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 26 หรือ 27 ที่ซึ่ง ช่องเว้ามีส่วนที่เป็น ผนังด้านข้างที่เป็นมุมซึ่งถูกควบคุมเกี่ยวโดยกลไกสำหรับขัดและปล่อยเมื่อกลไกสำหรับขัดและปล่อยอยู่ใน ตำแหน่งประจำการ มุมของผนังด้ารข้างมีไว้เพื่อกระตุ้นกลไกสำหรับขัดและปล่อยออกของช่องเว้าเมื่อ ปลอกกันแหวนหลุดถูกเลื่อนออกไปจากตำแหน่งปิด 2 9. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 16 ถึง 28 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง สลัก เกลียวถูกถ่วงเข้าหาตำแหน่งปิด 3 0. ชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ 16 ถึง 29 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง เมื่อกล ไกสำหรับยึดอยู่สภาวะล็อคซึ่งการกระตุ้นสลักเกลียวให้เลื่อนโดยสมพันธ์กับตัวเรือนเข้าหาตำแหน่ง ปล่อยจะกระตุ้นกลไกสำหรับยึดให้พยายามยอมรับสภาวะปลดปล่อย เมื่อกลไกสำหรับยึดอยู่ในสภาวะ ปลดปล่อยกลไกสำหรับขัดและปล่อยเลื่อนได้จากจำแหน่งประจำการโดยการเคลื่อนของสลักเกลียว สัมพันธ์กับตัวเรือนจากตำแหน่งล็อคที่ถูกขยาย 3 1. กลไกสำหรับล็อคสำหรับใช้งานในชุดประกอบล็อคที่ถูกควบคุมโดยไฟฟ้าซึ่งมีตัวเรือนและตัว กั้นถูกติดตั้งในตัวเรือนและถูกเลื่อนโดยสัมพันธ์กับตัวเรือนโดยจากตำแหน่งล็อคไปยังตำแหน่งปล่อย กลไกสำหรับล็อคมีส่วนที่เป็น กลไกสำหรับขัดและปล่อยซึ่งเมื่อรักษาสภาพในตำแหน่งประจำหารตัวกั้นถูกหยุดจากการ เลื่อนจากตำแหน่งล็อคของมัน กลไกสำหรับล้อคยังมีส่วนที่เป็นกลไกสำหรับยึดซึ่งเมื่ออยู่ในสภาวะล็อค จะรักษาสภาพกลไกสำหรับกลไกสำหรับขัดและปล่อยในตำแหน่งประจำการ และเมื่ออยู่ในสภาวะปลด ปล่อยกลไกสำหรับขัดและปล่อยสำหรับเคลื่อนที่จากตำแหน่งประจำการ ที่ซึ่ง เมื่อกลไกสำหรับยึดอยู่ในสภาวะล็อคการกระตุ้นตัวกั้นเพื่อเลื่อนโดยสัมพันธ์กับตัวเรือน กระตุ้นกลไกสำหรับยึดให้พยายามยอมรับสภาวะปลดปล่อยในกรณีที่กลไกสำหรับยึดอยู่ในสภาวะปลด ปล่อยกลไกสำหรับขัดและปล่อยจะเลื่อนได้จากตำแหน่งประจำการโดยการเลื่อนเคลื่อนที่ของตัวกั้นสัมพันธ์ กับตัวเรือนจากตำแหน่งปิด ตัวขับเร้าไฟฟ้าซึ่งโต้ตอบกลไกสำหรับล็อคที่สามารุทำใหเกลไกสำหรับยึดยอมรับสภาวะ ที่ถูกล็อคหรือภาวะปลดปล่อย 3 2. กลไกสำหรับล็อคตามข้อถือสิทธิ 31 ที่ซึ่ง ตัวกั้นเป็นสลักเกลียว 3 3. กลไกสำหรับล็อคตามข้อถือสิทธิ 32 ที่ซึ่ง ตัวกั้นเป็นปลอกกันแหวนหลุด 3 4. กลไกสำหรับล็อคตามข้อถือสิทธิ 33 ที่ซึ่ง กลไกสำหรับยึดมีส่วนที่เป็นส่วนที่เลื่อนได้ซึ่งใช้ ตำแหน่งที่หนึ่งเมื่อกลไกสำหรับขัดและปล่อยอยู่ในตำแหน่งประจำการและเลื่อนไปที่ตำแหน่งที่สองเมื่อ กลไกสำหรับขัดและปลดปล่อยถูกเลื่อนจากตำแหน่งประจำการ กลไกสำหรับยึดยังมีส่วนที่เป็นกลไกสำหรับ หยุดซึ่งขัดขวางการเคลื่อนที่ของส่วนได้ไปยังตำแหน่งที่สองเมื่อกลไกสำหรับยึดอยู่ในสภาะที่ถูก ล็อค 3 5. กลไกสำหรับล็อคตามข้อถือสิทธิ 34 ที่ซึ่ง ส่วนที่เลื่อนได้หมุนรอบแกนที่หนึ่วเมื่อเลื่อน ระหว่างตำแหน่งที่หนึ่งและสอง 3 6. กลไกสำหรับล็อคตามข้อถือสิทธิ 35 ที่วึ่ง ส่วนที่เลื่อนได้มีส่วนที่เป็นแขนที่ถูกขับเคลื่อนซึ่ง คาบเกี่ยวกลไกสำหรับหยุดเมื่อส่วนที่เลื่อนได้เลื่อนเข้าหาตำแหน่งที่สองและกลไกสำหรับยึดอยู่ใน สภาวะที่ถูกล็อค 3 7. กลไกสำหรับล็อคตามข้อถือสิทธิ 36 ที่ซึ่ง กลไกสำหรับหยุดหมุนรอบแกนที่สอง แขนขับดัน เมื่อคาบเกี่ยวกลไกสำหรับหยุดป้อนแรงให้แรงให้แก่กลไกสำหรับหยุดซึ่งมุ่งเน้นไปทางสองอย่างเพียงพอ 3 8. กลไกสำหรับล็อคตามข้อถือสิทธิ 37 ที่ซึ่ง กลไกสำหรับยุดรวมถึงส่วนสำหรับขับดันซึ่งคาบ เกี่ยวกลไกสำหรับขัดและปลดปล่อยและถูกต่อกับส่วนที่เลื่อนได้เพื่อให้การเคลื่อนที่ของกลไกสำหรับขัดและ ปล่อยจากตำแหน่งประจำการสร้างโมเม้นต์รอบแกนที่หนึ่ง โดยที่โมเม้นนี้มีแขนของโมเมนต์ซึ่งจะเพิ่ม ขึ้นเนื่องจากกลไกสำหรับและปล่อยเลื่อนจากตำแหน่งประจำการ 3 9. กลไกสำหรับล็อคตามข้อถือสิทธิ 38 ที่ซึ่ง ส่วนสำหรับขับดันต่อเป็นปล้องกับปลายด้านหนึ่ง ที่ต่อกับส่วนที่เลื่อนได้และปลายอีกด้านหนึ่งต่อกับตัวเรือนสำหรับหมุนรอบแกนที่สอง 4 0. กลไกสำหรับล็อคตามข้อถือสิทธิ 31 ถึง 39 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่ง ตัวขับเร้าไฟฟ้าโต้ตอบกับกล ไกสำหรับล็อคเพื่อทำให้กลไกสำหรับล็อคมีสภาวะถูกล็อคและปฎิบัติการแบบปลอดภัยจาก การขัดข้องโดยที่ปฎิบัติการของตัวขับเร้าทำให้กลไกสำหรับยึดเพิ่มยอมรับสภาวพปลปล่อย 4
1. กลไกสำหรับล็อคตามข้อถือสิทธิ 31 ถึง 40 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง ตัวขับเร้าไฟฟ้ารวมถึงโซลี นอยด์ที่มีลูกสุบซึ่งชักกลับต้านกับปฎิบัติการของกลไกสำหรับถ่วง เมื่อมีการให้พลังงานกระตุ้นแก่ตัวขับ เร้า 4
2. กลไกสำหรับล็อคตามข้อถือสิทธิ 41 ที่ซึ่ง ลูกสูบต่อกับกลไกสำหรับหยุดโดยให้ปรับได้เพื่อ ยอมให้มีการปรับของตำแหน่งของกลไกสำหรับหยุดสัมพันธ์กันกับปลายที่เป็นอิสระของแขนที่ถูกขับ เคลื่อนเพื่อปรับโหมดปฎิบัติการของตัวขับเร้าระหว่างแบบป้องกันการขัดข้องและแบบปลอดภัยจากการ ขัดข้อง
TH701003799A 2007-08-01 กลไกล็อค TH55617B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH93246B TH93246B (th) 2009-01-30
TH93246A true TH93246A (th) 2009-01-30
TH55617B TH55617B (th) 2017-06-27

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP5925761B2 (ja) 耐ショックロック
US8528961B2 (en) Electric swing plug door operator with auxiliary door locking mechanism
JP5357192B2 (ja) 緊急時にパッセンジャードアを開放するデバイス
US6755336B2 (en) Return mechanism for a cyclic tool
US7802488B2 (en) Telescopic actuator with a main rod and an auxiliary rod, and a method making use thereof
US9021905B2 (en) Driving device
KR102541353B1 (ko) 로터리 래치 및 보호 위치를 구비한 차량용 안전 장치
CA2432990A1 (en) Flywheel operated tool
US7770391B2 (en) Device for effecting a bi-directional displacement of a means along a guide
CN109720957B (zh) 促动器,远程触发装置,限速器以及电梯
EP3505481B1 (en) Remote triggering device, governor assembly and elevator
TH93246A (th) กลไกล็อค
TH55617B (th) กลไกล็อค
JP6793164B2 (ja) 抵抗溶接装置
BR112021008754A2 (pt) dispositivo de abertura de emergência para porta de aeronaves, com liberação de puxador
US10570804B2 (en) Rotary regulator with concomitantly movable force store
NL8002132A (nl) Elektrische handboormachine met inrichting voor het naar keuze omschakelen voor het draaiend of kloppend boren.
RU2005129123A (ru) Вращающийся блокирующий механизм, в частности, для замочных цилиндров
JP6180536B2 (ja) 所定状態のデバイスを解除可能にロックするための機構を備えた安全スイッチ
CN220637774U (zh) 一种制动装置及打钉机
RU2766658C1 (ru) Задвижка с линейным приводом
RU2250863C2 (ru) Устройство фиксации шарнирного узла
EP3651833B1 (en) Pump device having a holding device for receiving a syringe
CN118269042A (zh) 一种打钉机及打钉机的工作方法
CN116220495A (zh) 助力机构及地井盖组件