TH93217A - วิธีการและโรงหล่อทำงานรวมกันในการตรวจสอบและควบคุมความเรียบของตัวแถบและรูปทรงของตัวแถบ - Google Patents

วิธีการและโรงหล่อทำงานรวมกันในการตรวจสอบและควบคุมความเรียบของตัวแถบและรูปทรงของตัวแถบ

Info

Publication number
TH93217A
TH93217A TH701003617A TH0701003617A TH93217A TH 93217 A TH93217 A TH 93217A TH 701003617 A TH701003617 A TH 701003617A TH 0701003617 A TH0701003617 A TH 0701003617A TH 93217 A TH93217 A TH 93217A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
bar
control
shape
rolling mill
geometry
Prior art date
Application number
TH701003617A
Other languages
English (en)
Other versions
TH93217B (th
TH71366B (th
Inventor
วอลเลส เกลน
รีส์ แฮโรลด์
มูลเลอร์ เจสัน
บริทานิก ริชาร์ด
เกอร์เบอร์ เทอร์รี่
โดแมนตี้ ไทโน่
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
นางสาวสุคนธ์ทิพย์ จิตมงคลทอง
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางสาวสนธยา สังขพงศ์, นางสาวสุคนธ์ทิพย์ จิตมงคลทอง filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH93217A publication Critical patent/TH93217A/th
Publication of TH93217B publication Critical patent/TH93217B/th
Publication of TH71366B publication Critical patent/TH71366B/th

Links

Abstract

------06/11/2560------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ วิธีการและเครื่องผลิตที่ใช้ควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในโรงขึ้นรูปที่ใช้โรงรีด รูปทรงความหนาเป้าหมาย จะถูกคำนวณในรูปที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาที่จุดเข้าที่วัด ได้ของตัวแถบ ซึ่งจะเป็นไปตามข้อกำหนดของรูปทรงและความเรียบ การป้อนกลับแรงเครียดที่ แตกต่างจากแรงเครียดตามทางยาวตัวแถบจะถูกคำนวณ โดยระบบควบคุม โดยอาศัยวิธีการ เปรียบเทียบรูปทรงของความหนาที่จุดออกกับรูปทรงของความหนาเป้าหมาย และสัญญาณควบคุม จะถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ควบคุมอุปกรณ์ที่สามารถส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ผ่าน กระบวนการโดยโรงรีดร้อนค่าเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าและ/หรือเว็กเตอร์ความ ไวอาจจะคำนวณขึ้นได้ในรูปที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาเป้าหมาย เพื่อใช้ในการสร้าง สัญญาณควบคุมที่ส่งไปยังอุปกรณ์ควบคุม อุปกรณ์ควบคุมอาจจะเลือกมาจากกลุ่มหนึ่งหรือมากกว่า ที่ประกอบด้วยตัวควบคุมการพับ, ตัวควบคุมช่องห่างและตัวควบคุมสารทำความเย็น ------------ วิธีการและเครื่องผลิตที่ใช้ควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในโรงขึ้นรูปที่ใช้โรงรีด รูปทรงความหนาเป้าหมาย จะถูกคำนวณในรูปที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาที่จุดเข้าที่วัด ได้ของตัวแถบ ซึ่งจะเป็นไปตามข้อกำหนดของรูปทรงและความเรียบ การป้อนกลับแรงเครียดที่แตก ต่างจากแรงเครียดตามทางยาวตัวแถบจะถูกคำนวณ โดยระบบควบคุม โดยอาศัยวิธีการเปรียบเทียบ รูปทรงของความหนาที่จุดออกกับรูปทรงของความหนาเป้าหมาย และสัญญาณควบคุมจะถูกสร้างขึ้น เพื่อใช้ควบคุมอุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าและ/หรือเว็กเตอร์ความไวอาจจะคำนวณขึ้นได้ ในรูปที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาเป้าหมาย เพื่อใช้ในการสร้างสัญญาณควบคุมที่ส่งไปยัง อุปกรณ์ควบคุม อุปกรณ์ควบคุมอาจจะเลือกมาจากกลุ่มหนึ่งหรือมากกว่าที่ประกอบด้วยตัวควบคุม การพับ, ตัวควบคุมช่องห่างและตัวควบคุมสารทำความเย็น

Claims (6)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 04/09/2562 ข้อถือสิทธิไม่มี ---------------------------------------------------------------------------------------------------- ------06/11/2560------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 8 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. วิธีการสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตในการหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่มีโรงรีดร้อน ซึ่งวิธีการดังกล่าวประกอบรวมด้วย การวัดรูปทรงความหนาที่เข้าไปของตัวแถบโลหะที่เข้ามาก่อนที่ตัวแถบโลหะจะเข้าไปใน โรงรีดร้อน; การคำนวณรูปทรงของความหนาเป้าหมายที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาที่เข้าไป ที่วัดได้ในขณะที่มันเป็นไปตามข้อกำหนดของรูปทรงและการทำงานที่ทำให้เกิดความเรียบ; การวัดรูปทรงความหนาที่ออกมาของตัวแถบโลหะ หลังจากที่ตัวแถบโลหะออกมาจาก โรงรีดร้อนแล้ว; การคำนวณแรงเครียดที่แตกต่างที่ป้อนกลับจากแรงเครียดตามทางยาวในตัวแถบการ เปรียบเทียบรูปทรงของความหนาที่ออกมากับรูปทรงของความหนาเป้าหมายที่ได้จากรูปทรงของ ความหนาที่เข้าไปที่วัดได้; และ การควบคุมเครื่องผลิตที่ส่งผลถึงรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ออกมาจากโรงรีดร้อน ที่ตอบสนองต่อแรงเครียดที่แตกต่างที่ป้อนกลับมาดังกล่าวเป็นอย่างน้อยที่สุด 2. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่มีโรงรีดร้อน ของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง เครื่องผลิตที่ส่งผลถึงรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ออกมาจากโรงรีดร้อน ถูกเลือกจากหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งชนิดในกลุ่มที่ประกอบด้วย ตัวควบคุมการพับ, ตัวควบคุมช่อง ห่าง และ ตัวควบคุมสารทำความเย็น 3. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่มีโรงรีดร้อน ของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ประกอบรวมอีกด้วย: การคำนวณขนาดความดันของช่องห่างของลูกรีดจากรูปทรงของความหนาที่เข้ามา และ ขนาดและลักษณะเฉพาะของโรงรีดร้อน; การคำนวณส่วนเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าและเว็กเตอร์ของความไว ที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาเป้าหมาย และรูปทรงของความดันช่องห่างของลูกรีด เพื่อที่จะจัดให้มีการชดเชยในความผันผวนของรูปทรงและความเรียบในตัวแถบขึ้นรูป; และ อีกทั้ง การควบคุมเครื่องผลิตที่ส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ออกมาจากโรงรีด ร้อน ที่ตอบสนองต่อไปยังส่วนที่ใช้ในการควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าที่คำนวณได้ดังกล่าว และเว็กเตอร์ที่มีความไวที่คำนวณดังกล่าว 4. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่มีโรงรีดร้อน ของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ประกอบรวมอีกด้วย: การคำนวณขนาดความดันของช่องห่างของลูกรีดจากรูปทรงของความหนาที่เข้ามา และขนาดและลักษณะเฉพาะของโรงรีดร้อน; หน้า 2 ของจำนวน 8 หน้า การคำนวณส่วนเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้า เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของ ความหนาเป้าหมาย และรูปทรงของความดันช่องห่างของลูกรีด เพื่อที่จะจัดให้มีการชดเชยในความ ผันผวนของรูปทรงและความเรียบในตัวแถบขึ้นรูป; และ อีกทั้ง การควบคุมเครื่องผลิตที่ส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ออกมาจากโรงรีด ร้อน ที่ตอบสนองต่อไปยังส่วนที่ใช้ในการควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าที่คำนวณได้ดังกล่าว 5. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่มีโรงรีดร้อน ของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ประกอบรวมอีกด้วย: การคำนวณขนาดความดันของช่องห่างของลูกรีดจากรูปทรงของความหนาที่เข้ามา และ ขนาดและลักษณะเฉพาะของโรงรีดร้อน; การคำนวณเว็กเตอร์ของความไวที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาเป้าหมาย และ รูปทรงของความดันช่องห่างของลูกรีด เพื่อที่จะจัดให้มีการชดเชยในความผันผวนของรูปทรง และความเรียบในตัวแถบขึ้นรูป; และ อีกทั้ง การควบคุมเครื่องผลิตที่ส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ออกมาจากโรงรีด ร้อน ที่ตอบสนองต่อไปยังเว็กเตอร์ที่มีความไวที่คำนวณดังกล่าว 6. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่มีโรงรีดร้อนของ ข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ประกอบรวมอีกด้วย การให้กำเนิดเว็กเตอร์ของความคลาดเคลื่อนของช่องห่าง ของลูกรีดที่ปรับมาจากรูปทรงของความหนาที่ออกมาที่วัดได้และใช้เว็กเตอร์ความคลาดเคลื่อน ของช่องห่างของลูกรีดที่ปรับมามาคำนวณหาค่าเทียบเคียงในการควบคุมที่ป้อนไปด้านหน้า และเว็กเตอร์ของความไวอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุด 7. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่มีโรงรีดร้อนของ ข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งการคำนวณรูปทรงของความหนาเป้าหมายดังกล่าวรวมถึงการทำอย่างน้อยที่สุด คือ การกรองเวลาและการกรองความถี่บางส่วน 8. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่มีโรงรีดร้อน ของข้อถือสิทธิที่ 2 ที่ซึ่ง ขั้นตอนการควบคุมดังกล่าวรวมถึงการทำการควบคุมแบบป้อนกลับ แบบสมมาตร และการควบคุมแบบป้อนกลับแบบอสมมาตรของตัวควบคุมการพับ และตัวควบคุม ช่องห่าง 9. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่มีโรงรีดร้อน ของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง ขั้นตอนการควบคุมดังกล่าวรวมถึงการลดค่าความคลาดเคลื่อนจากการวัด ในระบบออกจากค่าป้อนกลับของความเครียดที่แตกต่างดังกล่าวเมื่อมีการใช้โรงรีด โดยค่าความ คลาดเคลื่อนในการวัดจากระบบดังกล่าวจะถูกสร้างขึ้นโดยอาศัยการเปรียบเทียบรูปทรงของความ หนาที่เข้าไปและออกมา เมื่อไม่ไดใช้โรงรีด หน้า 3 ของจำนวน 8 หน้า 1 0. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่มีโรงรีดร้อน ของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง ขั้นตอนการควบคุมดังกล่าวรวมถึง การทำการชดเชยอุณหภูมิและการ ตรวจหาการโก่งงอ 1 1. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่มีโรงรีดร้อน ของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง ขั้นตอนการควบคุมดังกล่าวรวมถึงการใช้กระบวนการต่อไปนี้ กระบวนการใดกระบวนการหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุดคือ การลดสารทำความเย็นที่เกิดจาก ผู้ปฏิบัติงาน และการตัดขอบจากการพับที่เกิดจากผู้ปฏิบัติงาน 1 2. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่มีโรงรีดร้อน ของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งรูปทรงของความหนาเป้าหมายดังกล่าวจะป้องกันไม่ให้ตัวแถบโก่งงอได้ 1 3. สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัว แถบที่มีโรงรีดร้อน ที่สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมดังกล่าวประกอบรวมด้วย: ชุดเครื่องเกจ์ (gauge) สำหรับการนำเข้าที่สามารถวัดรูปทรงของความหนาในการเข้าไป ของแถบโลหะที่เข้ามาก่อนที่แถบโลหะจะเข้าไปในโรงรีด; ตัวแบบรูปทรงของความหนาเป้าหมายที่สามารถคำนวณรูปทรงของความหนาเป้าหมาย ที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาที่เข้ามาที่วัดได้ดังกล่าว เพื่อที่จะให้เป็นไปตามข้อกำหนด ของรูปทรง และความเรียบ; ชุดเครื่องเกจ์ในช่องทางออกที่สามารถวัดรูปทรงความหนาที่ออกมาของตัวแถบโลหะ ดังกล่าวหลังจากที่ตัวแถบโลหะดังกล่าวออกมาจากโรงรีดดังกล่าวแล้ว; ตัวแบบของการป้อนกลับแรงเครียดที่แตกต่างที่สามารถคำนวณการป้อนกลับของ แรงเครียดที่แตกต่างจากแรงเครียดตามทางยาวในตัวแถบ โดยอาศัยวิธีการเปรียบเทียบรูปทรง ของความหนาที่ออกมากับรูปทรงความหนาเป้าหมายที่ได้จากรูปทรงของความหนาที่เข้าไป ที่วัดได้; และ ตัวแบบควบคุมที่สามารถควบคุมเครื่องผลิตที่ส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบ ที่ออกมาจากโรงรีดร้อน ที่ตอบสนองต่อการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าว 1 4. สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัว แถบที่มีโรงรีดร้อนของข้อถือสิทธิที่ 13 ที่ซึ่ง เครื่องผลิตที่ส่งผลถึงรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบ ที่ออกมาจากโรงรีดร้อนถูกเลือกจากหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งชนิดในกลุ่มที่ประกอบด้วย ตัวควบคุม การพับ, ตัวควบคุมช่องห่าง และ ตัวควบคุมสารทำความเย็น 1 5. สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูป ตัวแถบที่มีโรงรีดร้อนของข้อถือสิทธิที่ 13 ที่ยังประกอบรวมอีกด้วย: ตัวแบบของช่องห่างของลูกรีดที่สามารถคำนวณรูปทรงของความดันของช่องห่างของลูก รีดจากรูปทรงของความหนาที่เข้าไป และขนาดและคุณลักษณะเฉพาะของโรงรีดร้อน, และ หน้า 4 ของจำนวน 8 หน้า ตัวแบบของการบิดสแตคของการรีดแบบส่งไปข้างหน้า ที่สามารถคำนวณค่าเทียบเคียง ในการควบคุมแบบส่งไปด้านหน้าและ /หรือเว็กเตอร์ของความไวที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของ ความหนาเป้าหมาย และรูปทรงของความดันของช่องห่างของการรีด เพื่อที่จะจัดให้มีการชดเชยกับ ความผันผวนในรูปทรงและความเรียบในตัวแถบขึ้นรูปที่ได้ 1 6. สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัว แถบที่มีโรงรีดร้อนของข้อถือสิทธิที่ 13 ที่ยังประกอบรวมอีกด้วย: ตัวแบบของช่องห่างของลูกรีดที่สามารถคำนวณรูปทรงของความดันของช่องห่างของลูก รีดจากรูปทรงของความหนาที่เข้าไป และขนาดและคุณลักษณะเฉพาะของโรงรีดร้อน, และ ตัวแบบของการบิดสแตคของการรีดแบบส่งไปข้างหน้า ที่สามารถคำนวณค่าเทียบเคียงใน การควบคุมแบบส่งไปด้านหน้า เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาเป้าหมาย และรูปทรงของ ความดันของช่องห่างของการรีด เพื่อที่จะจัดให้มีการชดเชยกับความผันผวนในรูปทรงและความ เรียบในตัวแถบขึ้นรูปที่ได้ 1 7. สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัว แถบที่มีโรงรีดร้อนของข้อถือสิทธิที่ 13 ที่ยังประกอบรวมอีกด้วย: ตัวแบบของช่องห่างของลูกรีดที่สามารถคำนวณรูปทรงของความดันของช่องห่างของลูก รีดจากรูปทรงของความหนาที่เข้าไป และขนาดและคุณลักษณะเฉพาะของโรงรีดร้อน, และ ตัวแบบของการบิดสแตคของการรีดแบบส่งไปข้างหน้า ที่สามารถคำนวณ เว็กเตอร์ของ ความไวที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาเป้าหมาย และรูปทรงของความดันของช่องห่างของ การรีด เพื่อที่จะจัดให้มีการชดเชยกับความผันผวนในรูปทรงและความเรียบในตัวแถบขึ้นรูปที่ได้ 1 8. สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัว แถบที่มีโรงรีดร้อนของข้อถือสิทธิที่ 15 ที่ยังประกอบรวมอีกด้วย: ตัวแบบของการบิดสแตคของลูก รีดที่ปรับมาได้สามารถสร้างเว็กเตอร์ของความคลาดเคลื่อนของช่องห่างของลูกรีดที่ปรับมาได้จาก รูปทรงของความหนาที่ออกมาที่วัดได้ และจะใช้เว็กเตอร์ของความคลาดเคลื่อนของช่องห่างของ ลูกรีดที่ปรับมาได้ในการคำนวณหาค่าใดค่าหนึ่งต่อไปนี้เป็นอย่างน้อยที่สุด คือค่าเทียบเคียงในการ ควบคุมแบบป้อนไปทางด้านหน้า และเว็กเตอร์ความไว 1 9. สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัว แถบที่มีโรงรีดร้อนของข้อถือสิทธิที่ 13 ที่ซึ่ง ตัวแบบของรูปทรงของความหนาเป้าหมายดังกล่าวยัง รวมถึงความสามารถในการกรองเวลา และความสามารถในการกรองความถี่บางส่วนอย่างใด อย่างหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุดที่เป็นส่วนหนึ่งของการคำนวณรูปทรงของความหนาเป้าหมายดังกล่าว 2 0. สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัว แถบที่มีโรงรีดร้อนของข้อถือสิทธิที่ 14 ที่ซึ่ง ตัวแบบควบคุมดังกล่าวรวมถึง ความสามารถใน หน้า 5 ของจำนวน 8 หน้า การป้อนกลับแบบสมมาตรและความสามารถในการป้อนกลับแบบอสมมาตร สำหรับการควบคุม ตัวควบคุมการพับและตัวควบคุมช่องห่าง 2 1. สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัว แถบที่มีโรงรีดร้อนของข้อถือสิทธิที่ 13 ที่ซึ่งตัวแบบของการป้อนกลับแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าว รวมถึง ความสามารถในการนูลลิง (nulling) แบบอัตโนมัติ ที่สามารถลดค่าความคลาดเคลื่อนใน ระบบออกจากการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าว เมื่อมีการใช้โรงรีด โดยความคลาด เคลื่อนในระบบดังกล่าวเกิดขึ้นจากการเปรียบเทียบรูปทรงของความหนาที่เข้าไปและออกมา เมื่อไม่ได้ใช้โรงรีด 2 2. สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัว แถบที่มีโรงรีดร้อนของข้อถือสิทธิที่ 13 ที่ซึ่ง ตัวแบบของการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่าง ดังกล่าว รวมถึง ความสามารถในการชดเชยอุณหภูมิ และความสามารถในการตรวจหาการโก่งงอ 2 3. สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัว แถบที่มีโรงรีดร้อนของข้อถือสิทธิที่ 13 ที่ซึ่ง สถาปัตยกรรมใช้ควบคุมดังกล่าวสนับสนุน กระบวนการใดกระบวนการหนึ่งต่อไปนี้หนึ่งกระบวนการเป็นอย่างน้อยที่สุดคือ การลดปริมาณ สารทำความเย็นที่เกิดจากผู้ปฏิบัติงาน และการตัดขอบการพับที่เกิดจากผู้ปฏิบัติงาน 2 4. สถาปัตยกรรมสำหรับการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปตัว แถบที่มีโรงรีดร้อนของข้อถือสิทธิที่ 13 ที่ซึ่ง รูปทรงของความหนาเป้าหมายดังกล่าวป้องกันไม่ให้ ตัวแถบโก่งงอได้ 2 5. วิธีการผลิตตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบซึ่งถูกควบคุม ไว้โดยการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่อง ซึ่งวิธีการดังกล่าวประกอบรวมด้วย: (a) การประกอบตัวขึ้นรูปเป็นตัวแถบบางที่มีลูกรีดขึ้นรูปหนึ่งคู่ที่มีแนวขบดึง อยู่ระหว่างตัวลูกรีดทั้งสอง (b) การประกอบระบบส่งโลหะที่สามารถสร้างพูล (pool) ในการขึ้นรูปได้ที่ระหว่าง ตัวลูกรีดขึ้นรูปที่อยู่เหนือแนวขบดึง โดยมีเขื่อนกั้นด้านข้างอยู่ชิดกับปลายต่างๆ ของแนวขบดึง เพื่อกั้นพูลที่ใช้ในการขึ้นรูปไว้; (c) การประกอบส่วนที่อยู่ชิดกับตัวขึ้นรูปเป็นแถบบางเป็นโรงรีดร้อนที่มีลูกรีดที่มี ผิวขึ้นรูปมาประกอบกันเป็นช่องห่างของลูกรีดระหว่างตัวมัน ที่ซึ่งแถบร้อนที่เข้ามาจะถูกรีดผ่าน ช่องห่างนี้ โดยลูกรีดนี้จะมีผิวรีดชิ้นงานตามรูปทรงที่ต้องการตลอดตัวถูกรีดขึ้นรูปชิ้นงาน (d) การประกอบเครื่องผลิตที่ส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบดังกล่าวที่ออกมาจาก โรงรีดร้อนดังกล่าวที่ตอบสนองต่อสัญญาณควบคุม หน้า 6 ของจำนวน 8 หน้า (e) การประกอบระบบควบคุมที่สามารถคำนวณการป้อนกลับของแรงเครียดที่ แตกต่างจากแรงเครียดตามทางยาวในตัวแถบ โดยใช้การเปรียบเทียบรูปทรงของความหนาที่ออกมา กับรูปทรงของความหนาเป้าหมายที่ได้จากรูปทรงของความหนาที่เข้าไปที่วัดได้ และการสร้าง สัญญาณควบคุมตอบสนองต่อการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างที่คำนวณได้ดังกล่าว; และ (f) การเชื่อมต่อระบบควบคุมดังกล่าวกับเครื่องผลิตดังกล่าวที่สามารถส่งผลต่อรูปทรง เรขาคณิตของตัวแถบดังกล่าวที่ออกมาจากโรงรีดร้อนดังกล่าวที่ตอบสนองต่อสัญญาณควบคุมที่ สร้างขึ้นดังกล่าวจากระบบควบคุม 2 6. วิธีการผลิตตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบซึ่งถูก ควบคุมไว้โดยการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องตามข้อถือสิทธิที่ 25 ที่ซึ่ง เครื่องดังกล่าวที่ส่งผลต่อรูปทรง เรขาคณิตของตัวแถบดังกล่าวที่ออกมาจากโรงรีดร้อนดังกล่าว ถูกเลือกจากหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่ง ชนิดในกลุ่มที่ประกอบด้วย ตัวควบคุมการพับ, ตัวควบคุมช่องห่าง และ ตัวควบคุมสารทำความเย็น 2 7. วิธีการผลิตตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบซึ่งถูกควบคุม ไว้โดยการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องตามข้อถือสิทธิที่ 25 ที่ซึ่งระบบควบคุมดังกล่าวยังสามารถคำนวณ ส่วนเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าและเว็กเตอร์ของความไว, และยังสามารถสร้าง สัญญาณควบคุมที่ตอบสนองต่อ การป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าว, ส่วนเทียบเคียง ที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าและเว็กเตอร์ของความไว 2 8. วิธีการผลิตตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบซึ่งถูกควบคุม ไว้โดยการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องตามข้อถือสิทธิที่ 25 ที่ซึ่ง ระบบควบคุมดังกล่าวยังสามารถคำนวณ ส่วนเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้า, และที่ยังสามารถสร้างสัญญาณควบคุมที่ ตอบสนองต่อ การป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าวและส่วนเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบ ป้อนไปด้านหน้า 2 9. วิธีการผลิตตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบซึ่งถูกควบคุม ไว้โดยการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องตามข้อถือสิทธิที่ 25 ที่ซึ่ง ระบบควบคุมดังกล่าวยังสามารถคำนวณ เว็กเตอร์ของความไว, และ ที่ยังสามารถสร้างสัญญาณควบคุมที่ตอบสนองต่อการป้อนกลับของแรง เครียดที่แตกต่างดังกล่าว และเว็กเตอร์ของความไว 3 0. วิธีการผลิตตัวแถบในการหล่อขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบซึ่งถูกควบคุม ไว้โดยการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องตามข้อถือสิทธิที่ 27 ที่ซึ่ง ส่วนเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไป ด้านหน้าดังกล่าว และ เว็กเตอร์ของความไวดังกล่าวถูกคำนวณเป็นฟังก์ชั่นรูปทรงความหนา เป้าหมาย ซึ่งได้มาจาก รูปทรงของความหนาที่เข้าไปที่วัดได้, และ รูปทรงของความดันของช่องห่าง ของการรีด เพื่อที่จะจัดให้มีการชดเชยกับความผันผวนในรูปทรงและความเรียบในตัวแถบขึ้น รูปที่ได้ หน้า 7 ของจำนวน 8 หน้า 3 1. โรงหล่อขึ้นรูปเป็นตัวแถบบางสำหรับการผลิตตัวแถบขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิต ของตัวแถบภายใต้การควบคุมโดยการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องนี้ ซึ่งโรงหล่อขึ้นรูปเป็นตัวแถบบาง ดังกล่าวที่ประกอบรวมด้วย: (a) ตัวขึ้นรูปแถบบางที่มีลูกรีดขึ้นรูปหนึ่งคู่ที่มีแนวขบดึงอยู่ระหว่างตัวมันด้วย (b) ระบบส่งโลหะที่สามารถสร้างพูลที่ใช้ขึ้นรูประหว่างลูกรีดขึ้นรูปเหนือแนวขบดึง โดยมีเขื่อนด้านข้างอยู่ชิดกับปลายของแนวขบดึง เพื่อกั้นพูลขึ้นรูปดังกล่าวไว้ (c) ตัวขับที่สามารถขับลูกรีดขึ้นรูปให้หมุนสวนทางกันเพื่อสร้างเป็นชั้นโลหะที่แข็ง ตัวบนผิวของลูกรีดขึ้นรูป และขึ้นรูปเป็นแถบเหล็กกล้าบางผ่านแนวขบดึงระหว่าง ลูกรีดขึ้นรูป จากชั้นที่แข็งตัวนั้น (d) โรงรีดร้อนที่มีลูกรีดขึ้นรูปชิ้นงานที่มีผิวขึ้นรูปชิ้นงานประกอบกัน เป็นช่องห่างของลูกรีดระหว่างตัวมัน ที่ซึ่งตัวแถบขึ้นรูปจากตัวขึ้นรูปแถบบางอาจจะถูกรีดผ่านใน นั้นออกมา (e) เครื่องผลิตซึ่งถูกเชื่อมต่อกับโรงรีดร้อนดังกล่าวที่สามารถส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิต ของตัวแถบที่ผ่านกระบวนการโดยโรงรีดร้อนที่ตอบสนองต่อสัญญาณควบคุม; และ (f) ระบบควบคุมที่สามารถคำนวณการป้อนกลับของแรงเครียดแตกต่างจากแรง เครียดตามทางยาวในตัวแถบ โดยการเปรียบเทียบรูปทรงของความหนาที่ออกมากับรูปทรงของ ความหนาเป้าหมายที่ได้จากรูปทรงของความหนาที่เข้าไปที่วัดได้ ที่สามารถสร้างสัญญาณ ควบคุมตอบสนองต่อการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าว และถูกเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ ที่ส่งผลให้เครื่องผลิตที่ส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบ ที่ผ่านโรงรีดร้อนที่ตอบสนองต่อ สัญญาณควบคุมดังกล่าว 3 2. โรงหล่อขึ้นรูปเป็นตัวแถบบางสำหรับการผลิตตัวแถบขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิต ของตัวแถบภายใต้การควบคุมโดยการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องนี้ตามข้อถือสิทธิที่ 31 ที่ซึ่ง เครื่องผลิต ดังกล่าวที่สามารถส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบดังกล่าวที่ผ่านกระบวนการโดยโรงรีดร้อน ถูกเลือกจากหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งชนิดในกลุ่มที่ประกอบด้วย ตัวควบคุมการพับ, ตัวควบคุมช่อง ห่าง และ ตัวควบคุมสารทำความเย็น 3 3. โรงหล่อขึ้นรูปเป็นตัวแถบบางสำหรับการผลิตตัวแถบขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิต ของตัวแถบภายใต้การควบคุมโดยการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องนี้ตามข้อถือสิทธิที่ 31 ที่ซึ่งระบบควบคุม ดังกล่าวยังสามารถคำนวณส่วนเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าและเว็กเตอร์ของ ความไว, และที่ยังสามารถสร้างสัญญาณควบคุมที่ตอบสนองต่อส่วนเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบ ป้อนไปด้านหน้าดังกล่าวและเว็กเตอร์ของความไวดังกล่าวเพื่อทำให้เครื่องผลิตดังกล่าวส่งผลต่อ รูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ผ่านกระบวนการโดยโรงรีดร้อนที่ตอบสนองต่อสัญญาณควบคุม ดังกล่าว หน้า 8 ของจำนวน 8 หน้า 3 4. โรงหล่อขึ้นรูปเป็นตัวแถบบางสำหรับการผลิตตัวแถบขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิต ของตัวแถบภายใต้การควบคุมโดยการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องนี้ตามข้อถือสิทธิที่ 31 ที่ซึ่งระบบควบคุม ดังกล่าวยังสามารถคำนวณส่วนเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้า, และที่ยังสามารถสร้าง สัญญาณควบคุมในการตอบสนองต่อส่วนเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าดังกล่าวเพื่อ ทำให้เครื่องผลิตดังกล่าวส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ผ่านกระบวนการโดยโรงรีดร้อน ที่ตอบสนองต่อสัญญาณควบคุมดังกล่าว 3 5. โรงหล่อขึ้นรูปเป็นตัวแถบบางสำหรับการผลิตตัวแถบขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิต ของตัวแถบภายใต้การควบคุมโดยการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องนี้ตามข้อถือสิทธิที่ 31 ที่ซึ่ง ระบบควบคุม ดังกล่าวยังสามารถคำนวณเว็กเตอร์ของความไว, และที่ยังสามารถสร้างสัญญาณควบคุมในการ ตอบสนองต่อเว็กเตอร์ของความไวดังกล่าวเพื่อทำให้เครื่องผลิตดังกล่าวส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิต ของตัวแถบที่ผ่านกระบวนการโดยโรงรีดร้อนที่ตอบสนองต่อสัญญาณควบคุมดังกล่าว 3 6. โรงหล่อขึ้นรูปเป็นตัวแถบบางสำหรับการผลิตตัวแถบขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิต ของตัวแถบภายใต้การควบคุมโดยการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องนี้ตามข้อถือสิทธิที่ 33 ที่ซึ่ง ส่วน เทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าดังกล่าวและเว็กเตอร์ของความไวดังกล่าวถูกคำนวณ เป็นฟังก์ชั่นของรูปทรงของความหนาเป้าหมาย ซึ่งได้จากรูปทรงของความหนาที่เข้าไปที่ถูกวัด, และรูปทรงของความดันที่ช่องห่างของลูกรีด เพื่อจัดให้มีการชดเชยในความผันผวนของรูปทรง และความเรียบในตัวแถบขึ้นรูป ------------ 1. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในโรงหล่อขึ้นรูปตัวแถบที่ใช้โรงรีดร้อน ที่ ซึ่งวิธีการดังกล่าวประกอบด้วย การวัดรูปทรงของความหนาที่จุดนำเข้าของแถบโลหะที่เข้ามาก่อนที่แถบโลหะจะเข้าไป ในโรงรีดร้อน ; การคำนวณรูปทรงความหนาเป้าหมายที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาที่เข้ามาที่ วัดได้ ที่ให้เป็นไปตามข้อกำหนดของรูปทรงและความเรียบ ; การวัดรูปทรงของความหนาที่จุดออกของแถบโลหะหลังจากที่แถบโลหะออกมา โรงรีดร้อน ; การคำนวณการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างจากความเครียดตามทางยาวในตัว แถบ โดยอาศัยวิธีการเปรียบเทียบรูปทรงของความหนาที่ออกมากับรูปทรงของความหนาเป้าหมายที่ ได้จากรูปทรงของความหนาที่จุดนำเข้าที่วัดได้ ; และ การควบคุมอุปกรณ์ที่ส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ออกจากโรงรีดร้อนที่ตอบ สนองต่อการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าวเป็นอย่างน้อยที่สุด 2. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งอุปกรณ์ที่ส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัว แถบที่ออกจากโรงรีดร้อนจะเลือกมาจากกลุ่มหนึ่งหรือมากกว่า ที่ประกอบด้วยตัวควบคุมการพับ, ตัวควบคุมช่องห่างและตัวควบคุมสารทำความเย็น 3. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือข้อ 2 ที่ซึ่งประกอบต่อไปด้วย การคำนวณรูปทรงของความดันของช่องห่างของลูกรีดจากรูปทรงของความหนาที่จุด เข้าและขนาดและคุณลักษณะเฉพาะตัวของโรงรีดร้อน ; การคำนวณค่าเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้า และเว็กเตอร์ความไวที่เป็น ฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาเป้าหมาย และรูปทรงของความดันของช่องห่างของลูกรีด เพื่อจัดให้ มีการชดเชยสำหรับความผันผวนในรูปทรงและความเรียบในตัวแถบขึ้นรูป ; และ การควบคุมต่อไปของอุปกรณ์ที่ส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ออกจากโรงรีด ร้อนที่ตอบสนองต่อค่าเทียบเคียงในการควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าที่คำนวณ ได้ดังกล่าว และ เว็กเตอร์ความไวที่คำนวณได้ดังกล่าว 4. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือข้อ 2 ที่ซึ่งประกอบต่อไปด้วยการคำนวณรูป ทรงของความดันของช่องห่างของลูกรีดจากรูปทรงของความหนาที่จุดเข้า และขนาดและคุณลักษณะ เฉพาะของโรงรีดร้อน ; การคำนวณค่าเทียบเคียงที่ควบคุมการป้อนไปด้านหน้าที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของ ความหนาเป้าหมาย และรูปทรงของความดันของช่องห่างของลูกรีด เพื่อจัดให้มีการชดเชยสำหรับ ความผันผวนในรูปทรงและความเรียบในตัวแถบขึ้นรูป ; และ การควบคุมต่อไปของอุปกรณ์ที่ส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ออกจากโรงรีด ร้อนที่ตอบสนองต่อค่าเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าที่คำนวณได้ดังกล่าว 5. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือข้อ 2 ที่ซึ่งประกอบต่อไปด้วย การคำนวณรูปทรงของความดันของช่องห่างของลูกรีดจากรูปทรงของความหนาที่จุด เข้า และขนาดและคุณลักษณะเฉพาะของโรงรีดร้อน ; การคำนวณเว็กเตอร์ความไวที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาเป้าหมายและรูป ทรงของความดันของช่องห่างของลูกรีด เพื่อจัดให้มีการชดเชยสำหรับความผันผวนในรูปทรงและ ความเรียบในตัวแถบขึ้นรูป ; และ การควบคุมตัวอุปกรณ์ต่อไปที่สามารถส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ออกจาก โรงรีดร้อนที่ตอบสนองต่อเว็กเตอร์ความไวที่คำนวณได้ดังกล่าว 6. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งข้างต้น ที่ซึ่งประกอบต่อไปด้วย การ สร้างเว็กเตอร์ของค่าความคลาดเคลื่อนของช่องห่างของลูกรีด จากรูปทรงของความหนาที่จุดออกที่วัด ได้และการใช้เว็กเตอร์ความคลาดเคลื่อนของช่องห่างของลูกรีดในการคำนวณค่าใดค่าหนึ่งเป็นอย่าง น้อยที่สุดคือ ค่าเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าและเว็กเตอร์ความไว 7. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งข้างต้น ที่ซึ่งการคำนวณรูปทรง ความหนาเป้าหมายดังกล่าวจะประกอบด้วยการกรองของเวลา และการกรองความถี่บางส่วนอย่างใด อย่างหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุด 8. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่งขั้นตอนของการควบคุมดังกล่าวจะประกอบ ด้วยการควบคุมแบบป้อนกลับแบบสมมาตร และการควบคุมแบบป้อนกลับแบบอสมมาตรของตัว ควบคุมการพับและตัวควบคุมช่องห่าง 9. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งข้างต้น ที่ซึ่งขั้นตอนของการควบคุมดัง กล่าวจะประกอบด้วยการลบค่าความคลาดเคลื่อนในระบบออกจากค่าป้อนกลับของแรงเครียดที่แตก ต่างดังกล่าว เมื่อใช้โรงรีด โดยค่าความคลาดเคลื่อนของระบบดังกล่าวจะเกิดขึ้นจากการเปรียบเทียบ รูปทรงความหนาที่จุดเข้าและจุดออก เมื่อไม่ได้ใช้โรงรีด 1 0. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งข้างต้น ที่ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของ การควบคุมดังกล่าว จะประกอบด้วยการชดเชยอุณหภูมิและการตรวจหาการโก่งงอ 1 1. วิธีการควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในแถบขึ้นรูปที่ใช้โรงรีดร้อนตามที่ระบุไว้ ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง ขั้นตอนของการควบคุมดังกล่าวจะประกอบด้วยการปรับปริมาณสารทำ ความเย็นที่เกิดจากผู้ปฏิบัติงาน และการตัดขอบจากการพับที่เกิดจากผู้ปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอย่างน้อยที่สุด 1 2. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งข้างต้น ที่ซึ่งรูปทรงความหนาเป้าหมาย ดังกล่าวจะเป็นตัวป้องกันไม่ให้ตัวแถบโก่งงอ 1 3. สถาปัตยกรรมควบคุมที่ใช้ควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในโรงขึ้นรูปตัวแถบที่ ใช้โรงรีดร้อน ที่ซึ่งสถาปัตยกรรมควบคุมดังกล่าวจะประกอบด้วย อุปกรณ์เกจ์ที่จุดนำเข้าที่สามารถวัดรูปทรงความหนาที่จุดเข้าของแถบโลหะที่เข้ามาก่อน ที่แถบโลหะดังกล่าวจะเข้าไปในโรงรีดดังกล่าว ; ตัวแบบรูปทรงความหนาเป้าหมายที่สามารถคำนวณรูปทรงความหนาเป้าหมายที่เป็น ฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาที่จุดเข้าที่วัดได้ดังกล่าวให้เป็นไปตามข้อกำหนดของรูปทรงและ ความเรียบ ; อุปกรณ์เกจ์ที่จุดออกที่สามารถวัดรูปทรงความหนาที่จุดออกของแถบโลหะดังกล่าว หลังจากที่แถบโลหะดังกล่าวออกจากโรงรีดดังกล่าว ; ตัวแบบป้อนกลับแรงเครียดที่แตกต่างที่สามารถคำนวณการป้อนกลับของแรงเครียดที่ แตกต่างจากแรงเครียดตามทางยาวในตัวแถบ โดยอาศัยวิธีการเปรียบเทียบรูปทรงความหนาที่ออกมา กับรูปทรงความหนาเป้าหมายที่ได้จากรูปทรงความหนาที่จุดเข้าที่วัดได้ ; และ ตัวแบบควบคุมที่สามารถควบคุมอุปกรณ์ที่ส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ออก จากโรงรีดร้อน ที่ตอบสนองต่อการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าวเป็นอย่างน้อยที่สุด 1 4. สถาปัตยกรรมควบคุมตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 13 ที่ซึ่งอุปกรณ์ที่ส่งผลต่อรูปทรง เรขาคณิตของตัวแถบ ที่ออกจากโรงรีดร้อน จะเลือกมาจากกลุ่มหนึ่งหรือมากกว่าที่ประกอบด้วยตัว ควบคุมการพับ, ตัวควบคุมช่องห่างและตัวควบคุมสารทำความเย็น 1 5. สถาปัตยกรรมควบคุมตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 13 หรือข้อ 14 ที่ซึ่งประกอบต่อไป ด้วย ตัวแบบของช่องห่างของลูกรีดที่สามารถคำนวณรูปทรงของความดันของช่องห่างของ ลูกรีดจากรูปทรงของความหนาที่จุดเข้า และขนาดและคุณลักษณะเฉพาะของโรงรีดร้อน ; และ ตัวแบบบิดตัวสแตคของลูกรีดแบบป้อนไปด้านหน้าที่สามารถคำนวณค่าเทียบเคียงที่ใช้ ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้า และเว็กเตอร์ความไวที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาเป้าหมาย และรูปทรงของความดันของช่องห่างของลูกรีด เพื่อจัดให้มีการชดเชยสำหรับการผันผวนในรูปทรง และความเรียบในแถบขึ้นรูป 1 6. สถาปัตยกรรมควบคุมตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 13 หรือข้อ 14 ที่ซึ่งประกอบต่อไป ด้วย ตัวแบบของช่องห่างของลูกรีดที่สามารถคำนวณรูปทรงของความดันของช่องห่างของ ลูกรีด จากรูปทรงของความหนาที่จุดเข้าและขนาดและคุณลักษณะเฉพาะของโรงรีดร้อน ; และ ตัวแบบบิดตัวสแตคของลูกรีดแบบป้อนไปด้านหน้าที่สามารถคำนวณค่าเทียบเคียงที่ใช้ ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้า ที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาเป้าหมาย และรูปทรงของความ ดันของช่องห่างของลูกรีด เพื่อจัดให้มีการชดเชยสำหรับความผันผวนในรูปทรงและความเรียบใน แถบขึ้นรูป 1 7. สถาปัตยกรรมควบคุมสำหรับควบคุมรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบในตัวแถบขึ้นรูป ที่มี โรงรีดร้อนตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 13 หรือข้อ 14 ที่ซึ่งประกอบต่อไปด้วย ตัวแบบของช่องห่างของลูกรีดที่สามารถคำนวณรูปทรงของความดันของช่องห่างของ ลูกรีดจากรูปทรงของความหนาที่จุดเข้าและขนาดและคุณลักษณะเฉพาะของโรงรีดร้อน ; และ ตัวแบบบิดตัวสแตคของลูกรีดแบบป้อนไปด้านหน้าที่สามารถคำนวณเว็กเตอร์ความไว ที่เป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาเป้าหมาย และรูปทรงของความดันของช่องห่างของลูกรีด เพื่อ จัดให้มีการชดเชยสำหรับความผันผวนในรูปทรงและความเรียบในตัวแถบขึ้นรูป 1 8. สถาปัตยกรรมควบคุมสำหรับควบคุมตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 15 ถึงข้อ 17 ข้อใด ข้อหนึ่ง ที่ซึ่งประกอบต่อไปด้วยตัวแบบบิดตัวสแตคของลูกรีดที่สามารถสร้างเว็กเตอร์ความ คลาดเคลื่อนของช่องห่างของลูกรีดจากรูปทรงของความหนาที่จุดออกที่วัดได้ และใช้เว็กเตอร์ความ คลาดเคลื่อนของช่องห่างของลูกรีดในการคำนวณค่าใดค่าหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุดของค่าเทียบเคียง ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้า และเว็กเตอร์ความไว 1 9. สถาปัตยกรรมควบคุมสำหรับควบคุมตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 13 ถึงข้อ 18 ข้อใดข้อ หนึ่ง ที่ซึ่งตัวแบบของรูปทรงของความหนาเป้าหมายดังกล่าวจะประกอบต่อไปด้วยส่วนใดส่วนหนึ่ง เป็นอย่างน้อยที่สุดคือ ความสามารถในการกรองตามเวลาและความสามารถในการกรองตามความถี่ บางส่วน ที่เป็นส่วนของการคำนวณรูปทรงความหนาเป้าหมายดังกล่าว 2 0. สถาปัตยกรรมควบคุมสำหรับควบคุมตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 14 ที่ซึ่งตัวแบบ ควบคุมดังกล่าวจะประกอบด้วยความสามารถในการป้อนกลับแบบสมมาตร และความสามารถใน การป้อนกลับแบบอสมมาตรสำหรับควบคุมตัวควบคุมการพับและตัวควบคุมช่องห่าง 2 1. สถาปัตยกรรมควบคุมสำหรับควบคุมตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 13 ถึง 20 ข้อใดข้อ หนึ่งที่ซึ่งตัวแบบของการป้อนกลับแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าวจะประกอบด้วย ความสามารถของ กระบวนการนูลลิงหรือลบทิ้งแบบอัตโนมัติ ที่สามารถลบค่าความคลาดเคลื่อนในระบบออกจากการ ป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าว เมื่อมีการใช้โรงรีด โดยค่าความคลาดเคลื่อนในระบบดัง กล่าวจะถูกสร้างขึ้นจากการเปรียบเทียบของรูปทรงของความหนาที่จุดเข้าและจุดออก เมื่อไม่ได้ใช้ โรงรีด 2 2. สถาปัตยกรรมควบคุมตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 13 ถึงข้อ 21 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง ตัวแบบป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าวจะประกอบด้วยความสามารถในการชดเชย อุณหภูมิ และความสามารถในการตรวจหาการโก่งงอ 2 3. สถาปัตยกรรมควบคุมตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 13 ถึงข้อ 22 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง สถาปัตยกรรมควบคุมดังกล่าวจะเป็นตัวสนับสนุนกระบวนการใดกระบวนการหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่ สุดคือ กระบวนการปรับปริมาณสารทำความเย็นที่เกิดจากผู้ปฏิบัติงานและกระบวนการตัดขอบจาก การพับที่เกิดจากผู้ปฏิบัติงาน 2 4. สถาปัตยกรรมควบคุมตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 13 ถึง 23 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัว แบบรูปทรงของความหนาเป้าหมายดังกล่าวจะเป็นตัวป้องกันไม่ให้ตัวแถบโก่งงอได้ 2 5. วิธีการสร้างตัวแถบขึ้นรูปบางที่มีรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบภายใต้การควบคุม โดย การขึ้นรูปต่อเนื่อง ที่ซึ่งวิธีการดังกล่าวประกอบด้วย (a) การประกอบตัวขึ้นรูปแถบบางที่ใช้ลูกรีดขึ้นรูปหนึ่งคู่ที่มีแนวขบดึงอยู่ระหว่างตัว มัน (b) การประกอบระบบส่งโลหะที่สามารถสร้างพูลขึ้นรูปได้ระหว่างลูกรีดขึ้นรูปเหนือ แนวขบดึง โดยมีเขื่อนด้านข้างอยูชิดกับปลายของแนวขบดึงมากั้นพูลขึ้นรูปดังกล่าวไว้ (c) การประกอบให้ชิดกับตัวขึ้นรูปแถบบางโรงรีดร้อนที่มีลูกรีดขึ้นรูปที่มีผิวขึ้นรูปที่ ประกอบกันเป็นช่องห่างของลูกรีดระหว่างตัวมัน ซึ่งเป็นทางที่แถบร้อนจะถูกรีดออกมา โดยลูกรีด ขึ้นรูปชิ้นงานดังกล่าวจะมีผิวขึ้นรูปชิ้นงานตามรูปทรงที่ต้องการตลอดตัวลูกรีดขึ้นรูปชิ้นงานนั้น (d) การประกอบอุปกรณ์ที่ส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบดังกล่าวที่ออกจาก โรงรีดร้อนดังกล่าว ที่ตอบสนองต่อสัญญาณควบคุม (e) การประกอบระบบควบคุมที่สามารถคำนวณการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่าง จากแรงเครียดตามทางยาวในตัวแถบ โดยอาศัยวิธีการเปรียบเทียบรูปของความหนาที่จุดออกกับ รูปทรงของความหนาเป้าหมายที่ได้ จากรูปทรงของความหนาที่จุดเข้าที่วัดได้และสร้างสัญญาณควบ คุมตอบสนองต่อการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างที่คำนวณได้ดังกล่าวเป็นอย่างน้อยที่สุด ; และ (f) การเชื่อมต่อระบบควบคุมดังกล่าวเข้ากับอุปกรณ์ดังกล่าวที่สามารถส่งผลต่อรูปทรง เรขาคณิตของแถบดังกล่าวที่ออกจากโรงรีดร้อนดังกล่าว ที่ตอบสนองต่อสัญญาณควบคุมที่สร้างขึ้น ดังกล่าวจากระบบควบคุม 2 6. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 25 ที่ซึ่งอุปกรณ์ดังกล่าวที่สามารถส่งผลต่อรูปทรง เรขาคณิตของตัวแถบดังกล่าวที่ออกจากโรงรีดร้อนดังกล่าว จะเลือกจากกลุ่มหนึ่งหรือมากกว่าที่ ประกอบด้วยตัวควบคุมการพับ, ตัวควบคุมช่องห่างและตัวควบคุมสารทำความเย็น 2 7. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 25 หรือข้อ 26 ที่ซึ่งระบบควบคุมดังกล่าวจะ ประกอบต่อไปด้วยการคำนวณค่าเทียบเคียงควบคุมการป้อนไปด้านหน้า และเว็กเตอร์ความไว และ ประกอบต่อไปด้วยการสร้างสัญญาณควบคุมที่ตอบสนองต่อการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่าง ดังกล่าว, ค่าเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมการป้อนไปด้านหน้าดังกล่าว และเว็กเตอร์ความไวดังกล่าว 2 8. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 25 และข้อ 26 ที่ซึ่งระบบควบคุมดังกล่าวจะ ประกอบต่อไปด้วยการคำนวณค่าเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมการป้อนไปด้านหน้า และสามารถสร้าง สัญญาณควบคุมที่ตอบสนองต่อการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าว และค่าเทียบเคียงที่ใช้ ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าดังกล่าว 2 9. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 25 และข้อ 26 ที่ซึ่งระบบควบคุมดังกล่าวจะ สามารถคำนวณเว็กเตอร์ความไว และสามารถสร้างสัญญาณควบคุมที่ตอบสนองต่อการป้อนกลับของ แรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าว และเว็กเตอร์ความไวดังกล่าว 3 0. วิธีการตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 27 ที่ซึ่งค่าเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมดังแบบป้อนไปด้าน หน้าดังกล่าวและเว็กเตอร์ความไวดังกล่าวจะคำนวณขึ้นเป็นฟังก์ชันของรูปทรงของความหนาเป้า หมายที่ได้จากรูปทรงของความหนาที่จุดเข้าที่วัดได้ และรูปทรงของความดันที่ช่องห่างของลูกรีดและ จัดให้มีการชดเชยสำหรับความผันผวนในรูปทรงและความเรียบในแถบขึ้นรูป 3
1. โรงงานขึ้นรูปแถบบางที่ใช้ผลิตแถบขึ้นรูปบางด้วยรูปทรงเรขาคณิตของแถบที่ถูกควบ คุม โดยการขึ้นรูปต่อเนื่อง ที่ซึ่งโรงงานขึ้นรูปตัวแถบบางดังกล่าวจะประกอบด้วย (a) ลูกรีดขึ้นรูปแถบบางที่มีลูกรีดขึ้นรูปหนึ่งคู่ที่มีแนวขบดึงอยู่ระหว่างตัวมัน (b) ระบบส่งโลหะที่สามารถสร้างพูลขึ้นรูประหว่างลูกรีดขึ้นรูปเหนือแนวขบดึง โดยมี เขื่อนด้านข้างวางตัวอยู่ชิดกับปลายของแนวขบดึง เพื่อกั้นพูลขึ้นรูปดังกล่าวไว้ (c) อุปกรณ์ที่ทำให้ลูกรีดขึ้นรูปหมุนสวนทางกัน เพื่อสร้างเป็นชั้นโลหะแข็งตัวบนผิว ของลูกรีดขึ้นรูป และขึ้นรูปแถบเหล็กกล้าบางผ่านแนวขบดึงระหว่างลูกรีดขึ้นรูปจากชั้นที่แข็งตัวนั้น (d) โรงรีดร้อนที่ใช้ลูกรีดขึ้นรูปชิ้นงานที่ใช้ผิวขึ้นรูปชิ้นงานประกอบกันเป็นช่องห่าง ของลูกรีด ซึ่งเป็นทางที่ซึ่งแถบขึ้นรูปจากตัวขึ้นรูปแถบบางจะถูกรีดออกมา (e) อุปกรณ์เชื่อมต่อกับโรงรีดร้อนดังกล่าวที่สามารถส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัว แถบที่ผ่านกระบวนการโดย โรงรีดร้อนที่ตอบสนองต่อสัญญาณควบคุม ; และ (f) ระบบควบคุมที่สามารถคำนวณค่าป้อนกลับแรงเครียดที่แตกต่างจากแรงเครียดตาม ทางยาวในตัวแถบ โดยอาศัยวิธีการเปรียบเทียบรูปทรงของความหนาที่จุดออกกับรูปทรงของความ หนาเป้าหมายที่ได้จากรูปทรงของความหนาที่จุดเข้าที่วัดได้ ที่สามารถสร้างสัญญาณควบคุมที่ตอบ สนองต่อการป้อนกลับของแรงเครียดที่แตกต่างดังกล่าวและเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ดังกล่าว เพื่อทำให้ อุปกรณ์นั้นส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ผ่านกระบวนการโดยโรงรีดร้อน เพื่อตอบสนองต่อสัญญาณควบคุมดังกล่าว 3
2. โรงขึ้นรูปแถบบางตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 31 ที่ซึ่งอุปกรณ์ดังกล่าวที่สามาถส่ง ผลของรูปทรงเรขาคณิตของแถบดังกล่าว ที่ผ่านกระบวนการ โดยโรงรีดร้อนจะเลือกจากกลุ่มหนึ่ง หรือมากกว่าที่ประกอบด้วยตัวควบคุมการพับ, ตัวควบคุมช่องห่างและตัวควบคุมสารทำความเย็น 3
3. โรงขึ้นรูปแถบบางตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 31 หรือข้อ 32 ที่ซึ่งระบบควบคุมดัง กล่าวจะประกอบต่อไปด้วยการคำนวณค่าเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าและเว็กเตอร์ ความไว และจะประกอบต่อไปด้วยการสร้างสัญญาณควบคุมที่ตอบสนองต่อค่าเทียบเคียงที่ใช้ควบคุม แบบป้อนไปด้านหน้าดังกล่าว และเว็กเตอร์ความไวดังกล่าว เพื่อทำให้อุปกรณ์ดังกล่าวส่งผลต่อรูป ทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ผ่านกระบวนการจากโรงรีดร้อน ที่ตอบสนองต่อสัญญาณควบคุมดังกล่าว 3
4. โรงขึ้นรูปแถบบางตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 31 ถึง 33 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งระบบ ควบคุมดังกล่าวจะสามารถคำนวณค่าเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้า และสามารถสร้าง สัญญาณควบคุมที่ตอบสนองต่อค่าเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบป้อนไปด้านหน้าดังกล่าว เพื่อทำให้ อุปกรณ์ดังกล่าวส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ผ่านกระบวนการจากโรงรีดร้อนที่ตอบสนอง ต่อสัญญาณควบคุมดังกล่าว 3
5. โรงรีดแถบบางตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 31 ถึงข้อ 34 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งระบบควบ คุมดังกล่าวจะสามารถคำนวณเว็กเตอร์ความไว และสามารถสร้างสัญญาณควบคุมที่ตอบสนองต่อ เว็กเตอร์ความไวดังกล่าว เพื่อทำให้อุปกรณ์ดังกล่าวส่งผลต่อรูปทรงเรขาคณิตของตัวแถบที่ผ่าน กระบวนการจากโรงร้อนที่ตอบสนองต่อสัญญาณควบคุมดังกล่าว 3
6. โรงขึ้นรูปแถบบางตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 33 ที่ซึ่งค่าเทียบเคียงที่ใช้ควบคุมแบบ ป้อนไปด้านหน้าดังกล่าว และเว็กเตอร์ความไวดังกล่าว จะถูกคำนวณขึ้นเป็นฟังก์ชันของรูปทรงของ ความหนาเป้าหมายที่ได้จากรูปทรงของความหนาที่จุดเข้าที่วัดได้ และรูปทรงของความดันที่ช่องห่าง ของลูกรีด เพื่อจัดให้มีการชดเชยสำหรับความผันผวนในรูปทรงและความเรียบในตัวแถบขึ้นรูป
TH701003617A 2007-07-19 วิธีการและโรงหล่อทำงานรวมกันในการตรวจสอบและควบคุมความเรียบของตัวแถบและรูปทรงของตัวแถบ TH71366B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH93217A true TH93217A (th) 2009-01-30
TH93217B TH93217B (th) 2009-01-30
TH71366B TH71366B (th) 2019-09-04

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CN104511482B (zh) 一种热轧带钢凸度控制方法
CN104942019B (zh) 一种带钢冷轧过程宽度自动控制方法
CN101890435B (zh) 热轧串联式轧机的凸度和/或楔形自动控制方法及系统
CN101745549B (zh) 一种热连轧机带钢进钢温度的控制方法
CN101934292A (zh) 热轧带钢粗轧机组镰刀弯和楔形自动控制方法
CN101134207A (zh) 冷轧板形设定计算中热轧来料凸度的处理方法
EP2651578B2 (de) WALZSTRAßE ZUR RÖHRENSTAHL- UND DÜNNBANDERZEUGUNG
CN102172637B (zh) 基于测厚仪分段监控的高精度自动厚度控制方法及其设备
KR100241167B1 (ko) 연속열간압연에 있어서의 강편접합부의 압연방법
JPS59197309A (ja) 高いプロフィル品質と平担度品質とを備えたストリップを造るための方法およびストリップタンデム圧延ライン
CN101912886A (zh) 一种控制边部减薄的优化方法
DE112004002903T5 (de) Walzenkeilanstellungs-/Steuerverfahren zum Walzen von Plattenförmigem Material
CN102601128A (zh) 炉卷轧机轧件温差控制方法
DE10211623A1 (de) Rechnergestütztes Ermittlungverfahren für Sollwerte für Profil-und Planheitsstellglieder
EP3888810B1 (en) Method of controlling flatness of strip of rolled material, control system and production line
JP2002126813A (ja) 板圧延における圧下レベリング設定方法
CN111036693A (zh) 一种高速热轧线材的轧制力能校核计算方法
TH93217A (th) วิธีการและโรงหล่อทำงานรวมกันในการตรวจสอบและควบคุมความเรียบของตัวแถบและรูปทรงของตัวแถบ
TH71366B (th) วิธีการและโรงหล่อทำงานรวมกันในการตรวจสอบและควบคุมความเรียบของตัวแถบและรูปทรงของตัวแถบ
JP2013006190A (ja) 条鋼の圧延方法
JP7298645B2 (ja) 形鋼の断面寸法変化量予測モデルの生成方法、形鋼の断面寸法変化量予測モデルの生成装置、形鋼の断面寸法の予測方法、形鋼の断面寸法の制御方法、および形鋼の製造方法
JP5618911B2 (ja) 線材圧延の元材の製造方法
EP1481742B1 (de) Steuerrechner und rechnergestütztes Ermittlungsverfahren für eine Profil- und Planheitssteuerung für eine Walzstrasse
CN114029346A (zh) 一种适用于自由规程轧制的精轧机组辊缝调平修正方法
KR101528690B1 (ko) 강판 제조 방법