TH9241B - การวิเคราะห์ทางอิมมูโนที่อาศัยการกระจายแสงเป็นหลักโดยไม่ต้องใช้การรวมตัวกันเองของอนุภาค - Google Patents

การวิเคราะห์ทางอิมมูโนที่อาศัยการกระจายแสงเป็นหลักโดยไม่ต้องใช้การรวมตัวกันเองของอนุภาค

Info

Publication number
TH9241B
TH9241B TH9301000943A TH9301000943A TH9241B TH 9241 B TH9241 B TH 9241B TH 9301000943 A TH9301000943 A TH 9301000943A TH 9301000943 A TH9301000943 A TH 9301000943A TH 9241 B TH9241 B TH 9241B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
microspheres
analite
type
histogram
coated
Prior art date
Application number
TH9301000943A
Other languages
English (en)
Other versions
TH14152A (th
TH14152EX (th
Inventor
ปีเตอร์ แฮนเซน นายดับบลิว.
เซนเนแรซโซ นายไมเคิล
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH14152A publication Critical patent/TH14152A/th
Publication of TH14152EX publication Critical patent/TH14152EX/th
Publication of TH9241B publication Critical patent/TH9241B/th

Links

Abstract

วิธีการวิเคราะห์ทางอิมมูโนแบบเป็นเนื้เดียวกันสำหรับหาอานาไลท์ที่เป็น แอนติบอดี แอนติเจนหรือแฮปเตนหนึ่งชนิดหรือมากกว่าในตัวอย่างของไหลพร้อมกันไปที่ประ กอบด้วยการวัดผลเชิงปริมาณของอานาไลท์ดังกล่าวที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงทางสถิติทาง ด้านขนาดของฮิสโตแกรมการกระจายความสูงของพัลส์ของการกระจายแสงของไมโครส เฟียร์โพลีเมอร์ที่เคลือยด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางค่อนข้างใหญ่และ สม่ำเสมอที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยการยึดเกาะของอนุภาคโลหะคอลลอยด์ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางค่อน ข้างเล็กและไม่สม่ำเสมอที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวเข้ากับไมโครสเฟียร์ดังกล่าว สำ หรับการวิเคราะห์อานาไลน์หลายชนิดพร้อมกันไปนั้นจะกำหนดไมโครสเฟียร์ที่มีขนาดหรือ ดรรชนีหักเหต่างกันให้กับอานาไลท์แต่ละชนิด อาจใช้การวิเคราะห์ในระบบประเภทการยึด เกาะแบบก้าวหน้า การแทนที่ การยับยั้งและการแข่งขัน โดยที่ทิศทางของการเปลี่ยน แปลงขนาดฮิสโตแกรมจะขึ้นอยู่กับระบบ ขนาดที่สดวกแก่การวัดคือความกว้างของพีคที่ทำให้ ปกติแล้วของฮิสโตแกรมที่แสดงด้วยกราฟ สำหรับการวิเคราะห์อานาไลท์หลายชนิดพร้อมกัน ไปนั้นจะใช้ไมโครสเฟียร์ของโพลีเมอร์ที่มีขนาดสม่ำเสมอที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางหรือดรรชนีหัก เหเด่นเป็นพิเศษหนึ่งชนิดสำหรับอานาไลท์แต่ละชนิด อนุภาคโลหะคอลลอยด์ชนิดที่มีขนาดไม่ สม่ำเสมอที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวเมื่อใช้ในความเข้มข้นที่ใช้ผลจะทำหน้าที่เป็นตัวกำ จัดอีกด้วยเพื่อลดผลการรบกวนของสารไม่จำเพาะในตัวอย่างของไหลที่มีอานาไลท์ โดย เฉพาะอย่างยิ่งเมื่อตัวอย่างดังกล่าวมาจากแหล่งทางชีววิทยา นอกจากนั้นมีการบรรยายถึง เซลไหลผ่านแบบปลอกที่ปรับปรุงให้ดีขึ้นสำหรับใช้กับ FPA

Claims (6)

1. การวิเคราะห์ทางอิมมูโนที่อาศัยการกระจายแสงของอนุภาคเป็นหลัก สำหรับวัดอานา ไลท์ (สารต้องการวิเคราะห์) ในตัวอย่างของไหล ที่ประกอบด้วยขั้นตอนของ: a) การรวมเข้ากับตัวอย่างของไหลดังกล่าวด้วยชุดของสารเข้าทำปฏิกิริยาที่รวมถึงไมโคร สเฟียร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำเสมอที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่หนึ่ง และอนุภาคโลหะคอล ลอย์ ที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่สองที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครสเฟียร์หรือสารเชิงซ้อน ทางอิมมู ที่ประกอบด้วย ไมโครสเฟียร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำเสมอดังกล่าว และอนุภาคโลหะคอล ลอย์ดังกล่าวเพื่อทำเป็นของผสม และยอมให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้น ที่ซึ่งอย่างน้อยชนิดหนึ่งของโมเลกุล ยึดเหนี่ยวชนิดที่หนึ่งและโมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่สองดังกล่าวจะยึดกับอานาไลท์ดังกล่าวปฏิกิริยา ดังกล่าวจะก่อให้เกิด หรือสลายการเกิดเชิงซ้อนของสารเชิงซ้อนทางอิมมูโนดังกล่าว เพื่อที่ของผสม ที่ถูกทำปฏิกิริยาจะรวมถึงไมโครสเฟียร์ดังกล่าวที่อยู่ในรูปที่ไม่เป็นสารเชิงซ้อนในสารเชิงซ้อนนทาง อิมมูโนหรือทั้งคู่ ระดับของการยึดเหนี่ยวของไมโครเฟียร์ในของผสมที่ถูกทำปฏิกิริยาดังกล่าวกับ อนุภาคโลหะคอลลอยด์ดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับการมีอยู่ หรือปริมาณของอานาไลท์ดังกล่าวในตัวอย่าง ของไหลดังกล่าว b) การวัดแสงที่กระจายโดยไมโครสเฟียร์ดังกล่าวในของผสมที่ถูกทำปฏิกิริยา โดยวิธีการ ใช้เครื่องวิเคราะห์อนุภาคไหลด้วยแสงเพื่อให้มีสัญญาณการกระจายแสงแก่ไมโครสเฟียร์ดังกล่าว c) การหาขนาดของการกระจายทางสถิติของสัญญาณการกระจายแสงดังกล่าว สำหรับไม โครสเฟียร์ดังกล่าวในของผสมที่ถูกทำปฏิกิริยาดังกล่าว ในลักษณะที่ขนาดของการกระจายสถิติดัง กล่าว จะเปลี่ยนแปลงตามระกับการยึดเหนี่ยวของไมโครสเฟียร์ดังกล่าวกับอนุภาคโลหะคอลลอยด์ ดังกล่าวในของผสมที่ถูกทำปฏิกิริยาดังกล่าวและ d) การทำสหสัมพันธ์ระหว่างขนาดของการกระจายทางสถิติของสัญญาณการกระจายแสง สำหรับไมโครสเฟียร์ดังกล่าวในของผสมที่ถูกทำปฏิกิริยาดังกล่าว กับปริมาณของอานาไลท์ดังกล่าว ในตัวอย่างของไหลดังกล่าว 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1ที่ซึ่งอนุภาคโลหะคอลลอยด์ที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยว ชนิดที่สองดังกล่าวจะเป็นอนุภาคโลหะคอลลอยด์ที่มีขนาดไม่สม่ำเสมอ 3. การวิเคราะห์ทางอิมมูโนที่อาศัยการกระจายแสงของอนุภาคเป็นหลักสำหรับวัดอานา ไลท์ในตัวอย่างของไหลที่ประกอบด้วยขั้นตอนของ a) การรวมเข้ากับตัวอย่างของไหลดังกล่าวด้วย ชุดของสาร เข้าทำปฏิกิริยาที่รวมถึงไมโคร สเฟียร์โพลีเมอร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำเสมอที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่หนึ่งและอนุภาคโลหะ คอลลอย์ที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่สองที่มีขนาดเล็กทำไมโครสเฟียร์ หรือสารเชิงซ้อน ทางอิมมูโน ที่ประกอบด้วย ไมโครสเฟียร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำเสมอดังกล่าว และอนุภาคโลหะคอล ลอย์ดังกล่าว เพื่อทำเป็นของผสม และยอมให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้น ที่ซึ่งอย่างน้อยชนิดหนึ่งของโมเลกุล ยึดเหนี่ยวชนิดที่หนึ่ง และชนิดที่สองดังกล่าวจะยึดกับอานาไลท์ดังกล่าวปฏิกิริยาดังกล่าวจะก่อให้ เกิดหรือสลายการเกิดเชิงซ้อนของสารเชิงซ้อนทางอิมมูโนดังกล่าวที่อยู่ในรูปที่ไม่เป็นสารเชิงซ้อน ใน สารเชิงซ้อนนทางอิมมูโนหรือทั้งคู่ ระดับของการยึดเหนี่ยวของไมโครเฟียร์ในของผสมที่ถูกทำ ปฏิกิริยาดังกล่าวกับอนุภาคโลหะคอลลอยด์ดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับการมีอยู่หรือปริมาณของอานาไลท์ ดังกล่าวในตัวอย่างของไหลดังกล่าว b) การวัดแสงที่ถูกกระจายโดยไมโครสเฟียร์ดังกล่าวในของผสมที่ถูกทำปฏิกิริยาโดยวิธี การใช้เครื่องวิเคราะห์อนุภาคไหลด้วยแสง เพื่อให้มีสัญญาณการกระจายแสงแก่ไมโครสเฟียร์ ดังกล่าว c) การหาขนาดการกระจายทางสถิติในรูปของฮิสโตแกรมของความสูงของพัลส์ของ สัญญาณการกระจายแสงสำหรับไมโครสเฟียร์ดังกล่าวในของผสมที่ถูกทำปฏิกิริยาดังกล่าว ที่ซึ่งฮิส โตแกรมของความสูงของพัลส์ สำหรับไมโครสเพียร์ดังกล่าวจะไม่เหลื่อมกับฮิสโตแกรมของความ สูงของพัลส์ สำหรับอนุภาคโลหะคอลลอยด์ดังกล่าว ในลักษณะที่ขนาดของฮิสโตแกรมดังกล่าวจะ เปลี่ยนแปลงตามระดับการยึดเหนี่ยวของไมโครสเฟียร์ดังกล่าวกับโลหะคอลลอยด์ดังกล่าวในของ ผสมที่ถูกทำปฏิกิริยาดังกล่าว และ d) การทำสหสัมพันธ์ระหว่างขนาดของฮิสโตแกรมของสัญญาณการกระจายแสงดังกล่าว สำหรับไมโครสเฟียร์ดังกล่าวในของผสมที่ถูกทำปฏิกิริยาดังกล่าว กับปริมาณของอานาไลท์ดังกล่าว ในตัวอย่างของไหลดังกล่าว 4. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 3 ยังประกอบด้วยขั้นตอนการวัดสัญญาณการกระจายแสง สำหรับของผสมที่เป็นตัวควบคุม ที่รวมถึงไมโครสเฟียร์ดังกล่าวในเครื่องวิเคราะห์อนุภาคไหลด้วย แสงดังกล่าว การหาขนาดของฮิสโตแกรมของสัญญาณการกระจายแสงดังกล่าวจากไมโครสเฟียร์ ในของผสมที่เป็นตัวควบคุมดังกล่าว ขั้นตอนการทำสหสัมพันธ์ดังกล่าวของฮิสโตแกรมของ สัญญาณการกระจายแสงดังกล่าวจากไมโครสเฟียร์ดังกล่าวในของผสมที่ถูกทำปฏิกิริยาที่รวมถึงขั้น ตอนการเปรียบเทียบขนาดดังกล่าวกับขนาดของฮิสโตแกรมของสัญญาณการกระจายแสงดังกล่าว จากไมโครสเฟียร์ในของผสมที่เป็นตัวควบคุมดังกล่าว เพื่อหาการเปลี่ยนแปลงของขนาดดังกล่าวที่ เกิดจากการทำปฏิกิริยา 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งสัญญาณการกระจายแสงดังกล่าวจะ เป็นสัญญาณการกระจายแสงไปข้างหน้าด้วยมุมต่ำ 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งสัญญาณการกระจายแสงดังกล่าวจะ เป็นสัญญาณการกระจายแสงที่ค่อนข้างจะเป็นมุมฉาก 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่งการยึดเหนี่ยวของอนุภาคคอลลอยด์ที่เคลือบด้วย โมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่สองดังกล่าว เข้ากับไมโครสเฟียร์โพลีเมอร์ที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยว ชนิดที่หนึ่งดังกล่าว จะเพิ่มขึ้นโดยอานาไลท์ดังกล่าว และการเพิ่มขึ้นดังกล่าวจะเป็นผลให้มีกาเพิ่ม ขนาดของฮิสโตแกรมดังกล่าว 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่งการยึดเหนี่ยวของอนุภาคคอลลอยด์ที่เคลือบด้วย โมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่สองดังกล่าว เข้ากับไมโครสเฟียร์โพลีเมอร์ที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยว ชนิดที่หนึ่งดังกล่าว จะลดลงโดยอานาไลท์ดังกล่าว และการลดลงดังกล่าวจะเป็นผลให้มีการลด ขนาดของฮิสโตแกรมดังกล่าวของ 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่งขนาดของฮิสโตแกรมดังกล่าวประกอบด้วยความกว้าง ของพีคที่ทำให้ปกติของการแสดงด้วยกราฟของฮิสโตแกรมดังกล่าว 1 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่งยังประกอบด้วยขั้นตอนของการจัดให้มีอัตรา ส่วนของอนุภาคโลหะดังกล่าวต่อไมโครสเฟียร์โพลีเมอร์ดังกล่าว ที่มีผลในการลดการรบกวนใน การวิเคราะห์ทางอิมมูโนดังกล่าวโดยสารยึดเกาะอย่างที่ไม่จำเพาะ 1 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 10 ที่ซึ่งอัตราส่วนดังกล่าวอยู่ในช่วงระหว่าง 2 ถึง 100,000 ต่อ 1 1 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 10 ที่ซึ่งอัตราส่วนดังกล่าวอยู่ในช่วงระหว่าง 1,000 ถึง 10,000 ต่อ 1 1 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งไมโครสเฟียร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำเสมอ ดังกล่าวประกอบด้วยไมโครสเฟียร์โพลีเมอร์ที่สม่ำเสมอ 1 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งไมโครสเฟียร์ดังกล่าวประกอบด้วยไม โครสเฟียร์ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยอยู่ในช่วงระหว่างประมาณ 0.02 ถึงประมาณ100 ไมโครเมตร 1 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งไมโครสเฟียร์ดังกล่าวประกอบด้วยไม โครสเฟียร์ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยอยู่ในช่วงระหว่างประมาณ 0.05 ถึงประมาณ10.0 ไมโครเมตร 1 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งไมโครสเฟียร์ดังกล่าวประกอบด้วย ไมโคร สเฟียร์ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยอยู่ในช่วงระหว่างประมาณ 0.5 ถึงประมาณ 5.0ไมโครเมตร 1 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่งการยึดเหนี่ยวของอนุภาคคอลลอยด์ดังกล่าวถูกเลือกจาก กลุ่มที่ประกอบด้วยอนุภาคทอง,แพลตตินัม, เงิน และทองแดง 1 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งอนุภาคโลหะคอลลอยด์ดังกล่าวคือ อนุภาคทอง 1 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยของอนุภาค คอลลอยด์ดังกล่าวอยู่ในช่วงระหว่างประมาณ 20 นาโนเมตร ถึงประมาณ 120 นาโนเมตร 2 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยของอนุภาค คอลลอยด์ดังกล่าวอยู่ในช่วงระหว่างประมาณ 50 นาโนเมตร ถึงประมาณ 80 นาโนเมตร 2 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยของไมโคร สเฟียร์ดังกล่าว ต่อเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยของอนุภาคโลหะ จะอยู่ระหว่างประมาณ15:1 ถึงประมาณ 30:1 2 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 4 ที่ซึ่งไมโครสเฟียร์ดังกล่าวในของผสมที่เป็นตัวควบคุม ดังกล่าว จะเป็นไมโครสเฟียร์โพลีเมอร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำเสมอที่ไม่ถูกกระตุ้นโดยทางเคมีอิมมูโน และที่ซึ่งขั้นตอนการวัดสัญญาณการกระจายแสงในเครื่องวิเคราะห์อนุภาคไหลด้วย แสงจะรวมถึง ขั้นตอนการควบคุมเส้นผ่าศูนย์กลางของกระแสตัวอย่างของผสมดังกล่าว ในเครื่องวิเคราะห์ดัง กล่าวให้อยู่ภายในช่วงระหว่างประมาณ 3 ไมโครเมตร ถึง 10 ไมโครเมตร เพื่อจะได้สัมประสิทธิ์ ของการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณการกระจายแสงดังกล่าว บริเวณการแสดงด้วยกราฟค่าเฉลี่ยฮิสโต แกรมไม่เกินกว่าประมาณ 2% สำหรับไมโครสเฟียร์โพลิเมอร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำเสมอที่ไม่ถูก กระตุ้นโดยทางเคมีอิมมูในของผสมที่เป็นตัวควบคุมดังกล่าว 2 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งขั้นตอนดังกล่าวของการรวบรวมชุดของ สารเข้าทำปฏิกิริยาเข้ากับตัวอย่างของไหลดังกล่าวจะรวมถึงขั้นตอนการรวบรวมอนุภาคโลหะคอล ลอยด์ที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่สองดังกล่าวเข้ากับตัวอย่างของไหลดักล่าว เพื่อทำเป็น ของผสมชนิดที่หนึ่งและบ่มของผสมชนิดที่หนึ่งไว้เพื่อที่อนุภาคโลหะคอลลอยด์ที่เคลือบด้วย โมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่สองดังกล่าวจะยึดเหนี่ยวกับอานาไลท์ดังกล่าวและเพื่อที่ปริมาณของ อนุภาคโลหะคอลลอยด์ที่ไม่ถูกยึดเหนี่ยวในของผสมชนิดที่หนึ่งจะมีความสัมพันธ์ผกผันกับปริมาณ ของอานาไลท์ในตัวอย่างของไหลดังกล่าวและจากนั้นจะทำการรวมของผสมชนิดที่หนึ่งดังกล่าว เข้ากับไมโครสเฟียร์ ที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่หนึ่งดังกล่าวเพื่อให้ได้เป็นของผสมที่ถูก ทำปฏิกิริยาดังกล่าว 2 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัวอย่างของไหลดังกล่าวจะรวมถึง อานาไลท์จำนวนหนึ่ง ขั้นตอนการรวมกันดังกล่าวจะรวมถึงขั้นตอนการจัดให้มีชุดของสารเข้าทำ ปฏิกิริยาที่แยกจากกัน สำหรับแต่ละอานาไลท์ดังกล่าวและทำการรวมชุดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยาดัง กล่าวทั้งหมดเข้ากับตัวอย่างของไหลดังกล่าว เพื่อที่ของผสมที่ถูกทำปฏิกิริยาดังกล่าวจะรวมถึงไม โครสเฟียร์จากชุดสารเข้าทำปฏิกิริยาดังกล่าวทั้งหมด ขั้นตอนการวัดจะรวมถึงขั้นตอนการวัด 2 5. สัญญาณการกระจายแสง สำหรับไมโครสเฟียร์ดังกล่าวทั้งหมด ไมโครสเฟียร์ในแต่ละ ชุดของสารเข้าทำปฏิกิริยาดังกล่าวจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง หรือดัชนีการหักเหที่แตกต่างจากไมโคร สเฟียร์ในแต่ละชุดของสารเข้าทำปฏิกิริยาอื่น ๆ และขั้นตอนดังกล่าวของการหาขนาดการกระจายทาง สถิติของสัญญาณการกระจายแสงดังกล่าว จะรวมถึงขั้นตอนการแยกสัญญาณการกระจายแสงที่ใช้ แทนไมโครสเฟียร์จากชุดของสารเข้าทำปฏิกิริยาที่ต่างกัน เพื่อทำเป็นการกระจายทางสถิติที่แยกจาก กันที่เกี่ยวกับอานาไลท์แต่ละตัว และการหาขนาดสำหรับการกระจายที่แยกจากกันแต่ละค่า a) การใส่ลงในภาชนะทำปฏิกิริยาด้วยไมโครสเฟียร์โพลิเมอร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำเสมอที่ เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิด ที่ซึ่งยึดเหนี่ยวอานาไลท์ดังกล่าว,อนุภาคโลหะคอลลอยด์ชนิดที่ มีขนาดไม่สม่ำเสมอที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่สองซึ่งยึดเหนี่ยวอานาไลท์ดังกล่าว และ ตัวอย่างของไหลที่มีอานาไลท์ดังกล่าว เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งที่มีผลให้เกิดเป็นของผสมที่ถูก ปฏิกิริยาที่รวมถึงสารเชิงซ้อนทางอิมมูโน ในระหว่างสามองค์ประกอบโดบวิธีนี้อย่างน้อยไมโครส เฟียร์บางส่วนจะถูกรวมเข้าไปในสารเชิงซ้อนทางอิมมูโนดังกล่าว b) การวัดแสงที่ถูกกระจายโดยไมโครสเฟียร์ดังกล่าวในของผสมที่ถูกปฏิกิริยาที่รวมถึง ไมโครสเฟียร์ในสารเชิงซ้อนทางอิมมูโน โดยวิธีการใช้เครื่องวิเคราะห์อนุภาคไหลด้วยแสง เพื่อจัด ให้มีสัญญาณการกระจายแสงสำหรับไมโครสเฟียร์ดังกล่าว และ c) การวัดขนาดของฮิสโตแกรมการกระจายความสูงของพัลส์ของสัญญาณการกระจาย แสงดังกล่าว d) การเปรียบเทียบขนาดในข้อ c) กับขนาดสำหรับของผสมที่เป็นตัวควบคุมที่ประกอบ ด้วยไมโครสเฟียร์โพลีเมอร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำ เสมอซึ่งถูกวิเคราะห์ในขณะที่ไม่มีอานาไลท์ หรือ อนุภาคโลหะคอลลอยด์ เพื่อหาการเปลี่ยนแปลงในขนาดของฮิสโตแกรมในข้อ c)ดังกล่าวและ e) การหาความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงขนาดของฮิสโตแกรมดังกล่าวกับความเข้ม ข้นของอานาไลท์ดังกล่าวในตัวอย่างของไหลดังกล่าว 2 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 25 ที่ซึ่ง อานาไลท์ดังกล่าว คือ แอนติเจน หรือแฮปเทน โมเลกุล ยึดเหนี่ยวชนิดที่หนึ่งดังกล่าว ประกอบด้วย แอนติ-อานาไลท์แอนติบอดีชนิดที่หนึ่ง และโมเลกุลยึด เหนี่ยวชนิดที่สอง ประกอบด้วย แอนติ-อานาไลท์แอนติบอดีชนิดที่สอง 2 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 25 ที่ซึ่งอานาไลท์ดังกล่าว คือ แอนติบอดี และโมเลกุลยึด เหนี่ยวชนิดที่หนึ่งและชนิดที่สองดังกล่าว แต่ละชนิด คือ แนติเจน หรือแฮปเทน ซึ่งยึดเหนี่ยวกับ อานาไลท์แอนติบอดีดังกล่าวหรือที่ซึ่งโมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่หนึ่งดังกล่าวประกอบด้วย แอนติเจน ซึ่งยึดเหนี่ยวกับอานาไลท์แอนติบอดีดังกล่าวและโมเลกุลยึดเหนี่ยวที่สองดังกล่าว ประกอบด้วย แอนติบอดีที่เจาะจงต่ออานาไลท์แอนติบอดีดังกล่าว 2 8. วิธีการตรวจหาอานาไลท์ในตัวอย่างของไหลโดยปฏิกิริยาแทนที่ที่มีอานาไลท์เป็นสื่อ กลาง ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของ a) การจัดให้มีสารเข้าทำปฏิกิริยาที่เป็นสารเชิงซ้อนทางอิมมูโนที่รวมถึงไมโครสเฟียร์โพ ลิเมอร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำเสมอที่เคลือบด้วยอานาไลท์ และอนุภาคโลหะคอลลอยด์ชนิดที่มีขนาดไม่ สม่ำเสมอที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวซึ่งยึดเหนี่ยวอานาไลท์หรืออนุภาคโลหะคอลลอยด์ที่ เคลือบด้วยอานาไลท์ และไมโครสเฟียร์โพลิเมอร์ที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวซึ่งยึดเหนี่ยวอานา ไลท์ ดังกล่าว b) การผสมสารเข้าทำปฏิกิริยาที่เป็นสารเชิงซ้อนทางอิมมูโนเข้ากับตัวอย่างของไหล ที่มี อานาไลท์ดังกล่าวเป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งที่เพียงพอ สำหรับอานาไลท์ดังกล่าวที่จะแทนที่ส่วนหนึ่ง ของอนุภาคโลหะคอลลอยด์ดังกล่าวจากสารเชิงซ้อนทางอิมมูโนดังกล่าว c) การวัดแสงที่ถูกกระจายโดยไมโครสเฟียร์ดังกล่าวทั้งก่อนและหลังการแทนที่ด้วยอานา ไลท์ในข้อ b) โดยวิธีการใช้เครื่องวิเคราะห์อนุภาคไหลด้วยแสง เพื่อให้ได้สัญญาณการกระจายแสง สำหรับไมโครสเฟียร์ดังกล่าว d) การหาขนาดของฮิสโตแกรมกระจายความสูงของพัลส์ สำหรับสัญญาณการกระจาย แสงดังกล่าว สำหรับไมโครสเฟียร์ดังกล่าวทั้งก่อนและหลังการแทนที่ด้วยอานาไลท์ในข้อ b ) เพื่อ หาการเปลี่ยนแปลงในขนาดดังกล่าว และ e) การหาความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงขนาดของฮิสโตแกรมดังกล่าวกับความเข้ม ข้นของอานาไลท์ดังกล่าวในตัวอย่างของไหลดังกล่าว 2 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 28 ที่ซึ่งอานาไลท์ดังกล่าวคือ แอนติเจนหรือแฮปเทน 3 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 28 ที่ซึ่งอานาไลท์ดังกล่าวคือ แอนติบอดี และโมเลกุลยึด เหนี่ยวดังกล่าวคือแอนติเจนที่ตรงกัน 3
1. วิธีการสำหรับตรวจหาอานาไลท์ที่เป็นแอนติเจน หรือแฮปเทนในตัวอย่างของไหลโดย ปฏิกิริยาการแข่งขัน ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของ: a) การผสมอนุภาคโลหะชนิดที่มีขนาดไม่สม่ำเสมอที่เคลือบด้วยแอนติ-อานาไลท์ แอนติบอดี, อานาไลท์,แอนติเจนหรือไมโครสเฟียร์โพลีเมอร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำเสมอที่เคลือบด้วย แฮปเทน และตัวอย่างของไหลที่มีอานาไลท์แอนติเจน หรือแฮปเทนเพื่อทำเป็นอของผสม และปล่อย ของผสมดังกล่าวไว้เป็นระยะเวลาหนึ่ง ที่เพียงพอสำหรับการเกิดสารเชิงซ้อนทางอิมมูโนแบบการ แข่งขันในของผสมดังกล่าว โดยที่อย่างน้อยบางส่วนของไมโครสเฟียร์จะรวมอยู่ในสารเชิงซ้อนทาง อิมมูโนดังกล่าว b) การวัดแสงที่ถูกกระจายโดยไมโครสเฟียร์ดังกล่าวในของผสมดังกล่าวก่อน และหลัง การเกิดสารเชิงซ้อนทางอิมมูโนแบบการแข่งขันดังกล่าว โดยวิธีการใช้เครื่องวิเคราะห์อนุภาคไหล ด้วยแสง เพื่อให้ได้สัญญาณการกระจายแสงสำหรับไมโครสเฟียร์ดังกล่าว c) การหาขนาดของฮิสโตแกรมกระจายความสูงของพัลส์สำหรับสัญญาณการกระจาย แสงก่อนและหลังการเกิดสารเชิงซ้อนทางอิมมูโนแบบการแข่งขันดังกล่าว และ d) การหาความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงขนาดของฮิสโตแกรมดังกล่าวกับความเข้ม ข้นของอานาไลท์ดังกล่าวในตัวอย่างของไหลดังกล่าว 3
2. วิธีการตรวจหาอานาไลท์แอนติบอดีในตัวอย่างของไหลโดยปฏิกิริยากรแข่ง ขันประกอบด้วยขั้นตอนของ : a) การผสมอนุโลหะชนิดที่มีขนาดไม่สม่ำเสมอที่เคลือบด้วยแอนติเจน หรือแฮปเทน ซึ่ง ยึด เหนี่ยวกับอานาไลท์แอนติบอดี ตัวอย่างของไหลที่มีอานาไลท์แอนติบอดี และไมโครสเฟียร์โพลี เมอร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำเสมอที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยวแอนติเจน หรือแฮปเทนดังกล่าว เพื่อทำ เป็นของผสมและปล่อยของผสมที่ถูกทำปฏิกิริยาดังกล่าวไว้เป็นระยะเวลาหนึ่งที่เพียงพอสำหรับการ เกิดสารเชิงซ้อนทางอิมมูโนแบบการแข่งขัน b) การวัดแสงที่ถูกกระจายโดยไมโครสเฟียร์ดังกล่าวในของผสมที่ถูกทำปฏิกิริยาก่อน และหลังการเกิดสารเชิงซ้อนทางอิมมูโนแบบการแข่งขันดังกล่าว โดยวิธีการใช้เครื่องวิเคราะห์ อนุภาคไหลด้วยแสง เพื่อให้ได้สัญญาณการกระจายแสงสำหรับไมโครสเฟียร์ดังกล่าว c) การหาขนาดของฮีสโตแกรมการกระจายความสูงของพัลส์การกระจายแสง สำหรับ สัญญาณการกระจายแสงดังกล่าวก่อนและหลังการเกิดสารเชิงซ้อนทางอิมมูในแบบการแข่งขัน และ d) การหาความสัมพันธ์การเปลี่ยนแปลงขนาดของฮิสโตแกรมดังกล่าวกับความเข้มข้น ของอานาไลท์ดังกล่าวในตัวอย่างของไหลดังกล่าว 3
3. วิธีการสำหรับตรวจหาอานาไลท์ในตัวอย่างของไหลที่ประกอบด้วยปฏิกิริยายับยั้ง ซึ่ง ประกอบด้วยขั้นตอนของ: a) การจัดให้มีไมโครสเฟียร์โพลีเมอร์ชนิดที่ขนาดสม่ำเสมอ ที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึด เหนี่ยวชนิดที่หนึ่งที่เชื่อมต่อ (คอนจูเกต) อยู่กับอานาไลท์เพื่อให้เกิดเป็นสารเข้าทำปฏิกิริยาชนิดที่ หนึ่ง b) การจัดให้มีอนุภาคโลหะชนิดที่มีขนาดไม่สม่ำเสมอที่เคลือบด้วยโมเลกุลยึดเหนี่ยว ชนิดที่สองที่ยึดเหนี่ยวอานาไลท์เพื่อให้เกิดเป็นสารเข้าทำปฏิกิริยาชนิดที่สอง c) การรวมตัวอย่างของไหลที่มีอานาไลท์เข้ากับสารเข้าทำปฏิกิริยาชนิดที่สองเพื่อให้เกิด เป็นของผสมชนิดที่หนึ่ง และทำการบ่มของผสมชนิดที่หนึ่งดังกล่าวเป็นระยะเวลาหนึ่งที่เพียงพอ สำหรับการเกิดสารเชิงซ้อนทางอิมมูโนชนิดที่หนึ่งที่รวมอยู่กับอนุภาคโลหะดังกล่าว และปล่อย อนุภาคโลหะที่ไม่ถูกยึดเหนี่ยวไว้บางส่วน ในลักษณะที่ปริมาณของอนุภาคโลหะที่ไม่ถูกยึดเหนี่ยว ในของผสมชนิดที่หนึ่งดังกล่าว จะมีความสัมพันธ์ผกผันกับความเข้มข้นของอานาไลท์ในตัวอย่าง ดังกล่าว d) การรวมของผสมชนิดที่หนึ่งดังกล่าวเข้ากับสารเข้าทำปฏิกิริยาชนิดที่หนึ่งเพื่อให้ได้ ของผสมชนิดที่สอง และทำการบ่มของผสมชนิดที่สองดังกล่าว เพื่อให้ได้สารเชิงซ้อนทางอิมมูโน ชนิดที่สองระหว่างไมโครสเฟียร์ดังกล่าวกับอนุภาคโลหะที่ไม่ถูกยึดเหนี่ยวดังกล่าว e) การวัดแสงที่ถูกกระจายโดยไมโครสเฟียร์ในของผสมชนิดที่สองโดยวิธีการใช้เครื่อง วิเคราะห์อนุภาคไหลด้วยแสง เพื่อจัดให้มีสัญญาณการกระจายแสงสำหรับไมโครสเฟียร์ดังกล่าว และ f) การวัดขนาดของฮิสโตแกรมการกระจายความสูงของพัลส์ ของสัญญาณการกระจาย แสงดังกล่าว g) การเปรียบเทียบขนาดดังกล่าวในข้อf) กับขนาดชนิดเดียวกันสำหรับของผสมการ ปฏิกิริยาที่เป็นตัวควบคุมที่ประกอบด้วยไมโคร สเฟียร์โพลีเมอร์ชนิดที่มีขนาดสม่ำเสมอที่ถูกเคลือบ ในขณะที่ไม่มีอานาไลท์ หรืออนุภาคโลหะ เพื่อหาการเปลี่ยนแปลงทางสถิติในขนาดของฮิสโต แกรมในข้อ f)ดังกล่าวและ h) การหาความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงขนาดของฮิสโตแกรมดังกล่าวกับความเข้ม ข้นของอานาไลท์ดังกล่าวในตัวอย่างของไหลดังกล่าว 3
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33 ที่ซึ่งอานาไลท์ดังกล่าว คือ แฮปเทน หรือแอนติเจน และ โมเลกุลยึดเหนี่ยวชนิดที่สองดังกล่าว คือ แอนติ-แฮปเทน หรือแอนติ-แอนติเจนบอดี 3
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33 ที่ซึ่งอานาไลท์ดังกล่าวคือ แอนติบอดี และโมเลกุล ยึดเหนี่ยวชนิดที่สองดังกล่าวจะยึดเหนี่ยวแอนติบอดีดังกล่าว 3
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 25-35 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งขนาดของฮิสโตแกรมดังกล่าว คือ ความกว้างของพีคที่ทำให้ปกติของการแสดงด้วยกราฟของฮีสโตแกรมดังกล่าว
TH9301000943A 1993-05-31 การวิเคราะห์ทางอิมมูโนที่อาศัยการกระจายแสงเป็นหลักโดยไม่ต้องใช้การรวมตัวกันเองของอนุภาค TH9241B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH14152A TH14152A (th) 1994-06-22
TH14152EX TH14152EX (th) 1994-06-22
TH9241B true TH9241B (th) 1999-11-23

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US5286452A (en) Simultaneous multiple assays
AU670489B2 (en) Light scatter-based immunoassay without particle self aggregation
DE3650542T2 (de) Festphasen-System für Ligand-Rezeptor-Bestimmungen
US20010002316A1 (en) Light scatter-based immunoassay
DE69803729T2 (de) Mikroteilchen-vergrössertes Streulichtassay und Mikroteilchen-Reagenz dazu
EP0833157B1 (en) Assay reagents and devices
US5739042A (en) Method of assay
US5814468A (en) Methods of enumerating receptor molecules for specific binding partners on formed bodies and in solution
FR2638848A1 (fr) Procede de detection et/ou de dosage dans un milieu liquide ou semi-liquide d'au moins une substance organique, biologique ou medicamenteuse soluble, par une methode d'agglutination
Golden et al. Automated processing integrated with a microflow cytometer for pathogen detection in clinical matrices
WO1995017674A1 (en) Method of assay using two distinguishable types of particles
CA2495138A1 (en) Multiplexed analysis for determining a serodiagnosis of viral infection
Gella et al. Latex agglutination procedures in immunodiagnosis
TH9241B (th) การวิเคราะห์ทางอิมมูโนที่อาศัยการกระจายแสงเป็นหลักโดยไม่ต้องใช้การรวมตัวกันเองของอนุภาค
TH14152A (th) การวิเคราะห์ทางอิมมูโนที่อาศัยการกระจายแสงเป็นหลักโดยไม่ต้องใช้การรวมตัวกันเองของอนุภาค
CA2096530A1 (en) Method and apparatus for screening microscopic cells utilizing light scatter techniques
EP2088429B1 (en) Reagent and method for immunological analysis
Posner et al. A quantitative approach for studying IgE–FcεRI aggregation
JPH01301165A (ja) 免疫測定法
WO2009110846A1 (en) Method for determination of affinity and kinetic constants
JPH06317592A (ja) 生体特異的検定法
TH14152EX (th) การวิเคราะห์ทางอิมมูโนที่อาศัยการกระจายแสงเป็นหลักโดยไม่ต้องใช้การรวมตัวกันเองของอนุภาค
McDade et al. Rapid, economical testing in the clinical laboratory: a new flow cytometry-based multiplex system
CA2179826C (en) Method of assay
AT402674B (de) Verfahren und mittel zum nachweisen von verfahren und mittel zum nachweisen von antigenen antigenen