TH88320A - สารเชิงซ้อนของซีเซียมอะลูมิเนียมฟลูออไรด์แบบอสัณฐาน,การผลิต และการใช้สารเชิงซ้อนนี้ - Google Patents

สารเชิงซ้อนของซีเซียมอะลูมิเนียมฟลูออไรด์แบบอสัณฐาน,การผลิต และการใช้สารเชิงซ้อนนี้

Info

Publication number
TH88320A
TH88320A TH601006447A TH0601006447A TH88320A TH 88320 A TH88320 A TH 88320A TH 601006447 A TH601006447 A TH 601006447A TH 0601006447 A TH0601006447 A TH 0601006447A TH 88320 A TH88320 A TH 88320A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
unique
during
complex
weight
pressure
Prior art date
Application number
TH601006447A
Other languages
English (en)
Other versions
TH69649B (th
TH88320B (th
Inventor
เจ. ฮาร์มส์ ดร.เกิร์ด
ฮอฟมันน์ ดร.ฮาร์ทมุท
เลห์มันน์ เคลาส์-ปีเตอร์
ชีดท์ อเล็กซานเดอร์
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายบุญมา เตชะวณิช
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายบุญมา เตชะวณิช filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH88320A publication Critical patent/TH88320A/th
Publication of TH88320B publication Critical patent/TH88320B/th
Publication of TH69649B publication Critical patent/TH69649B/th

Links

Abstract

DC60 (20/03/50) การประดิษฐ์นี้จะจัดเตรียมสารเชิงซ้อนของซีเซียมอะลูมิเนียมฟลูออไรด์แบบอสัณฐาน, กรรมวิธีสำหรับการผลิตและการใช้สารเชิงซ้อนเป็นฟลักซ์ โดยเฉพาะสำหรับการบัดกรีแบบอ่อนของ อะลูมิเนียม การประดิษฐ์นี้จะจัดเตรียมสารเชิงซ้อนของซีเซียมอะลูมิเนียมฟลูออไรด์แบบอสัณฐาน, กรรมวิธีสำหรับการผลิตและการใช้สารเชิงซ้อนเป็นฟลักซ์ โดยเฉพาะสำหรับการบัคกรีแบบอ่อนของ อะลูมิเนียม

Claims (2)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------13/07/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 3 หน้าข้อลือสิทธิ 1.) เมื่อปฏิกิริยาเสร็จสมบูรณ์ทำการให้สุญญากาศเพื่อระเหยนำที่มีอยู่ในเครื่องปฏิกรณ์เพื่อได้ของแข็ง; ที่ซึ่งความดันถูกลดลงถึงค่าระหว่าง 10 และ 100 มิลลิบาร์เป็นระยะเวลาระหว่าง5 นาที และหนึ่งชั่วโมง; และ d) การขจัดนำจากของแข็งของขันตอน c) ที่อุณหภูมิระหว่าง 80 และ 300?ซ และความดันระหว่าง 10 และ 900 มิลลิบาร์ 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอนกรรมวิธี a) และ ๖)อุณหภูมิเป็นระหว่าง 105 และ 150?ซ 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอนกรรมวิธี a) และ b) ความดันเป็นระหว่าง 0.9 และ 2.0 บาร์สัมบูรณ์ 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 3 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอนกรรมวิธี a) เวลาการทำปฏิกิริยาเป็นระหว่าง 30 นาที และ 5 ชั่วโมง 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 4 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขันตอนกรรมวิธี a) และ/หรือ b) สารเติมแต่ง คือ กรดไฮโดรฟลูออริกเจือจาง หรือ CsOH 1. 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 6 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขันตอนกรรมวิธี c) ความดันจะถูกลดลงถึงค่าระหว่าง 20 และ 40 มิลลิบาร์สัมบูรณ์ ------------ แก้ไข 3/11/58 1.c) เมื่อปฏิกิริยาเสร็จสมบูรณ์ทำการให้สุญญากาศเพื่อระเหยน้ำที่มีอยู่ในเครื่องปฏิกรณ์ เพื่อได้ของแข็ง; ที่ซึ่งความดันถูกลดลงถึงค่าระหว่าง 10 และ 100 มิลลิบาร์เป็นระยะเวลาระหว่าง 5 นาที และหนึ่งชั่วโมง; และ d) การขจัดน้ำจากของแข็งของขั้นตอน c) ที่อุณหภูมิระหว่าง 80 และ 300๐ซ และ ความดันระหว่าง 10 และ 900 มิลลิบาร์ 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอนกรรมวิธี a) และ b) อุณหภูมิเป็นระหว่าง 105 และ 150๐ซ 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอนกรรมวิธี a) และ b) ความดันเป็นระหว่าง 0.9 และ 2.0 บาร์สัมบูรณ์ 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 3 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี a) เวลาการทำปฏิกิริยาเป็นระหว่าง 30 นาที และ 5 ชั่วโมง 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 4 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี a) และ/หรือ b) สารเติมแต่ง คือ กรดไฮโดรฟลูออริกเจือจาง หรือ CsOH 1. 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 6 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี c) ความดันจะถูกลดลงถึงค่าระหว่าง 20 และ 40 มิลลิบาร์สัมบูรณ์ 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 7 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี c) เวลาที่ซึ่งน้ำจะได้รับการระเหยเพื่อทำให้ได้ของแข็งเป็นระหว่าง 15 และ 30 นาที 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 8 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี d) ปริมาณความชื้นที่เหลือซึ่งน้อยกว่า 0.1% จะได้รับการทำให้ได้มา 1 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 9 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี d) อุณหภูมิเป็นระหว่าง 100 และ 180๐ซ 1 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 10 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี d) ความดันเป็นระหว่าง 20 และ 100 มิลลิบาร์ 1 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 11 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี d) แก๊สตัวพาสามารถได้รับการนำมาใช้เพื่อกำจัดความชื้นแทนที่จะใช้สุญญากาศ 1 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 12 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่ากรรมวิธีได้รับ การดำเนินการอย่างเฉพาะในเครื่องปฏิกรณ์เครื่องเดียว, ถ้าจะให้ดีคือในเครื่องทำให้แห้งสำหรับ การผสมในสุญญากาศ 1 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 13 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าขั้นตอนกรรมวิธี a) และ/หรือ b) ได้รับการดำเนินการในเครื่องปฏิกรณ์แบบถังคน และ/หรือเครื่องนวด 1 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 14 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าขั้นตอนกรรมวิธี c) ได้รับการดำเนินการในเครื่องสำหรับการทำให้แห้งซึ่งยอมให้มีการทำให้แห้งที่รวดเร็ว 1 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 15 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าขั้นตอนกรรมวิธี c) ได้รับการดำเนินการในเครื่องทำให้แห้งโดยการพ่นฝอย, เครื่องทำให้แห้งแบบสายพาน หรือเครื่องทำ ให้แห้งแบบฐานก่อสภาพของไหล 1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 16 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าขั้นตอนกรรมวิธี d) ได้รับการดำเนินการในเครื่องสำหรับการทำให้แห้งซึ่งยอมให้มีการทำให้แห้งที่อุณหภูมิสูงกว่า 80๐ซ 1 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 17 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าขั้นตอนกรรมวิธี d) ได้รับการดำเนินการในเตาอบสำหรับการทำให้แห้งหรือเตาเผาแบบโรตารี 1 9. สารเชิงซ้อน CsAIF แบบอสัณฐานสามารถทำให้ได้มาโดยกระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 18 ข้อหนึ่งข้อใด 2 0. สารเชิงซ้อน CsAIF ตามข้อถือสิทธิที่ 19, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าการเริ่มหลอมเหลวของ สารซ้อนกับต่ำกว่า 440๐ซ 2 1. สารเชิงซ้อน CsAIF ตามข้อถือสิทธิที่ 20, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าการเริ่มหลอมเหลวของ สารเชิงซ้อนต่ำกว่า 430๐ซ 2 2. สารเชิงซ้อน CsAIF ตามข้อถือสิทธิที่ 20, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าการเริ่มหลอมเหลวของ สารเชิงซ้อนต่ำกว่า 420๐ซ 2 3. สารเชิงซ้อน CsAIF ตามข้อถือสิทธิที่ 19, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าช่วงการหลอมเหลวของ สารเชิงซ้อนเป็นระหว่าง 400 และ 500๐ซ 2 4. สารเชิงซ้อน CsAIF ตามข้อถือสิทธิที่ 23, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าช่วงการหลอมเหลวของ สารเชิงซ้อนเป็นระหว่าง 410 และ 490๐ซ 2 5. สารเชิงซ้อน CsAIF ตามข้อถือสิทธิที่ 23, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าช่วงการหลอมเหลวของ สารเชิงซ้อนเป็นระหว่าง 415 และ 480๐ซ 2 6. สารเชิงซ้อน CsAIF ตามข้อถือสิทธิที่ 19 ถึง 25 ข้อหนึ่งข้อใด, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่า สารเชิงซ้อนมีซีเซียม 45 ถึง 65% โดยน้ำหนัก, อะลูมิเนียม 5 ถึง 15% โดยน้ำหนัก, และฟลูออรีน 20 ถึง 40% โดยน้ำหนัก 2 7. สารเชิงซ้อน CsAIF ตามข้อถือสิทธิที่ 26, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าสารเชิงซ้อนมีซีเซียม 50 ถึง 60% โดยน้ำหนัก, อะลูมิเนียม 7 ถึง 13% โดยน้ำหนัก, และฟลูออรีน 25 ถึง 35% โดยน้ำหนัก 2 8. สารเชิงซ้อน CsAIF ตามข้อถือสิทธิที่ 26, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าสารเชิงซ้อนมีซีเซียม 55 ถึง 60% โดยน้ำหนัก, อะลูมิเนียม 8 ถึง 12% โดยน้ำหนัก, และฟลูออรีน 27 ถึง 33% โดยน้ำหนัก 2 9. สารเชิงซ้อน CsAIF ตามข้อถือสิทธิที่ 19 ถึง 28 ข้อหนึ่งข้อใด เป็นฟลักซ์, ถ้าจะให้ดีคือ สำหรับการบัดกรีแบบอ่อนของอะลูมิเนียม ------------------------------------------------------------------------------ 1. กรรมวิธีสำหรับการผลิตสารเชิงซ้อน CsA1F แบบอสัณฐานซึ่งทำให้มีลักษณะเฉพาะโดยขั้น ตอนกรรมวิธีที่ตามมา a) การยึดเหนี่ยวซีเซียมฟลูออไรด์ที่ละลายอยู่ในน้ำกับอะลูมิเนียมฟลูออไรด์ในรูปของแข็ง และการสร้างสภาพอสัณฐานขึ้นมาโดยการเติมสารประกอบกรดหรือด่างที่เป็นสารเติมแต่ง b) การสร้างให้มีสภาพด่างหรือสภาพกรดตามที่ต้องการขึ้นมาในผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายโดย การเติมสารประกอบกรดหรือด่างที่เป็นสารเติมแต่ง c) การนำสุญญากาศที่รุนแรงออกใช้เมื่อปฎิกิริยาเสร็จสมบูรณ์เพื่อระเหยน้ำที่มีอยู่ในเครื่อง ปฎิกรณ์อย่างรวดเร็วมาก d) การขจัดน้ำจากผลิตภัณฑ์ที่อุณหภูมิสูงและภายใต้สุญญากาศที่ลดลง 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอนกรรมวิธี a) และ b) อุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง 95 และ 175 ํซ, ถ้าจะให้ดีคือระหว่าง 105 และ 150 ํซ 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี a) และ b) ความดันจะอยู่ระหว่าง 0.4 และ 2.5 บาร์สัมบูรณ์, ถ้าจะให้ดีคือระหว่าง 0.9 และ 2.0 บาร์สัมบูรณ์ 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี a) เวลาทำปฏิกิริยาอยู่ระหว่าง 15 นาที และ 6 ชั่วโมง, ถ้าจะให้ดีคือระหว่าง 30 นาทีและ 5 ชั่วโมง 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี a) และ/หรือ b) สมบัติของผลิตภัณฑ์สามารถควบคุมได้โดยการเติมสารเติมแต่ง 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 5 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี a) สภาพอสัณฐานตามที่ต้องการสามารถสร้างขึ้นมาได้ในผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายโดยการเติม สารประกอบกรดหรือด่างที่เป็นสารเติมแต่ง 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 6 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี a) และ/หรือ b) สภาพด่างหรือสภาพกรดตามที่ต้องการสามารถสร้างขึ้นมาได้ในผลิตภัณฑ์ ขั้นสุดท้ายโดยการเติมสารประกอบกรดหรือด่างที่เป็นสารเติมแต่ง 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 7 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี a) และ/หรือ b) สารเติมแต่ง CsHCO3, Cs2CO3, CsOH, กรดไฮโดรฟลูออริกเจือจางหรือ ซีเซียมไบฟลูออไรด์, ถ้าจะให้ดีคือกรดไฮโดรฟลูออริกเจือจางหรือ CsOH ได้รับการนำมาใช้ 1.1 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 9 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี c) เมื่อปฏิกิริยาเสร็จสมบูรณ์ น้ำที่มีอยู่ในเครื่องปฏิกรณ์จะได้รับการระเหยอย่างรวดเร็วมาก โดยการนำสุญญากาศที่รุนแรงออก 1 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 10 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี c) ความดันจะได้รับการลดลงจนถึงค่าระหว่าง 10 และ 100 มิลลิบาร์, ถ้าจะให้ดีคือระหว่าง 20 และ 40 มิลลิบาร์สัมบูรณ์ 1 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 11 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี c) สารแขวนลอยจากปฏิกิริยาจะเปลี่ยนเป็นของแข็ง 1 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 12 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี c) เวลาที่ซึ่งน้ำจะได้รับการระเหยเพื่อทำให้ได้ของแข็งคือระหว่าง 5 นาทีและหนึ่งชั่วโมง, ถ้าจะให้ดีคือระหว่าง 15 และ 30 นาที 1 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 13 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี d) ผลิตภัณฑ์จะได้รับการขจัดน้ำจนถึงระดับที่ต้องการที่อุณหภูมิสูงขึ้นและภายใต้ความดันที่ ลดลง 1 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 14 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี d) ปริมาณความชื้นที่เหลือซึ่งน้อยกว่า 0.1% จะได้รับการทำให้ได้มา 1 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 15 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี d) อุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง 80 และ 300 ํซ, ถ้าจะให้ดีคือระหว่าง 100 และ 180 ํซ 1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 16 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี d) ความดันจะอยู่ระหว่าง 10 และ 900 มิลลิบาร์, ถ้าจะให้ดีคือระหว่าง 20 และ 100 มิลลิบาร์ 1 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 17 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในระหว่างขั้นตอน กรรมวิธี d) แก๊สตัวพาสามารถได้รับการนำมาใช้เพื่อกำจัดความชื้นแทนที่จะใช้สุญญากาศ 1 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 18 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่ากรรมวิธีได้รับการ ดำเนินการอย่างเฉพาะในเครื่องปฏิกรณ์เครื่องเดียว ถ้าจะให้ดีคือในเครื่องทำให้แห้งสำหรับการผสม ในสุญญากาศ 2 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 19 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าขั้นตอนกรรมวิธี a) และ/หรือ b) ได้รับการดำเนินการในเครื่องปฎิกรณ์แบบถังคนและ/หรือเครื่องนวด 2 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 20 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าขั้นตอนกรรมวิธี c) ได้รับการดำเนินการในเครื่องสำหรับการทำให้แห้งซึ่งยอมให้มีการทำให้แห้งที่รวดเร็ว 2 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 21 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าขั้นตอนกรรมวิธี c) ได้รับการดำเนินการในเครื่องทำให้แห้งโดยการพ่นฝอย, เครื่องทำให้แห้งแบบสายพานหรือเครื่องทำ ให้แห้งแบบฐานก่อสภาพของไหล 2 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 22 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าขั้นตอนกรรมวิธี d) ได้รับการดำเนินการในเครื่องสำหรับการทำให้แห้งซึ่งยอมให้มีการทำให้แห้งที่อุณหภูมิสูงกว่า 80 ํซ 2 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 23 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าขั้นตอนกรรมวิธี d) ได้รับการดำเนินการในเตาอบสำหรับการทำให้แห้งหรือเตาเผาแบบโรตารี 2 5. สารเชิงซ้อน CsA1F สามารถทำให้ได้มาตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 24 ข้อใดข้อหนึ่ง 2 6. สารเชิงซ้อน CsA1F ตามข้อถือสิทธิที่ 25 มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าการเริ่มหลอมเหลวจะต่ำ กว่า 440 ํซ, ถ้าจะให้ดีคือต่ำกว่า 430 ํซ, ถ้าจะให้ดีอย่างยิ่งคือต่ำกว่า 420 ํซ 2 7. สารเชิงซ้อน CsA1F ตามข้อถือสิทธิที่ 25 หรือ 26 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าความ กว้างของช่วงการหลอมเหลวอย่างน้อยที่สุดเท่ากับ 30 ํซ, ถ้าจะให้ดีคืออย่างน้อยที่สุด 50 ํซ, ถ้าจะให้ ดีอย่างยิ่งคืออย่างน้อยที่สุด 60 ํซ 2 8. สารเชิงซ้อน CsA1F ตามข้อถือสิทธิที่ 25 ถึง 27 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าความ กว้างของช่วงการหลอมเหลวเท่ากับ 30 ถึง 90 ํซ, ถ้าจะให้ดีคือ 30 ถึง 80 ํซ, ถ้าจะให้ดีอย่างยิ่งคือ 30 ถึง 70 ํซ 2 9. สารเชิงซ้อน CsA1F ตามข้อถือสิทธิที่ 25 ถึง 28 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าช่วง การหลอมเหลวของสารเชิงซ้อนอยู่ระหว่าง 400 และ 500 ํซ, ถ้าจะให้ดีคือจาก 410 และ 490 ํซ, ถ้าจะ ให้ดีอย่างยิ่งคือระหว่าง 415 และ 480 ํซ 3 0. สารเชิงซ้อน CsA1F ตามข้อถือสิทธิที่ 25 ถึง 29 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าสาร เชิงซ้อนมีซีเซียม 45 ถึง 65% โดยน้ำหนัก, ถ้าจะให้ดีคือ 50 ถึง 60% โดยน้ำหนัก, ถ้าจะให้ดีอย่างยิ่งคือ 55 ถึง 60% โดยน้ำหนัก, อะลูมิเนียม 5 ถึง 15% โดยน้ำหนัก, ถ้าจะให้ดีคือ 7 ถึง 13% โดยน้ำหนัก, ถ้าจะให้ดีอย่างยิ่งคือ 8 ถึง 12% โดยน้ำหนัก และฟลูออรีน 20 ถึง 40% โดยน้ำหนัก, ถ้าจะให้ดีคือ 25 ถึง 35% โดยน้ำหนัก, ถ้าจะให้ดีอย่างยิ่งคือ 27 ถึง 33% โดยน้ำหนัก 3
1. สารเชิงซ้อน CsA1F ตามข้อถือสิทธิที่ 25 ถึง 30 ข้อใดข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าสภาพ กรดหรือสภาพด่างของสารเชิงซ้อนสามารถปรับได้โดยการใช้สารเติมแต่ง 3
2. การใช้สารเชิงซ้อน CsA1F ตามข้อถือสิทธิที่ 25 ถึง 31 ข้อใดข้อหนึ่งหรือที่สามารถทำให้ได้ มาโดยกรรมวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 24 ข้อใดข้อหนึ่งเป็นฟลักซ์, ถ้าจะให้ดีคือสำหรับการบัดกรี แบบอ่อนของอะลูมิเนียม
TH601006447A 2006-12-21 สารเชิงซ้อนของซีเซียมอะลูมิเนียมฟลูออไรด์แบบอสัณฐาน,การผลิต และการใช้สารเชิงซ้อนนี้ TH69649B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH88320A true TH88320A (th) 2008-01-31
TH88320B TH88320B (th) 2008-01-31
TH69649B TH69649B (th) 2019-05-08

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP2015536290A5 (th)
WO2008053711A1 (fr) Silice amorphe et son procédé de fabrication
RU2020111239A (ru) Способ получения твердого электролита на основе lgps
CN101035609A (zh) 成分分离方法与成分分离装置
CN106518709A (zh) 一种无定形沙库比曲缬沙坦钠盐复合物的制备方法
CN102398906B (zh) 一种Na2SiF6热解生产SiF4的方法
WO2019111046A8 (en) Treatment of fluoride-containing wastewater
TH88320A (th) สารเชิงซ้อนของซีเซียมอะลูมิเนียมฟลูออไรด์แบบอสัณฐาน,การผลิต และการใช้สารเชิงซ้อนนี้
TH69649B (th) สารเชิงซ้อนของซีเซียมอะลูมิเนียมฟลูออไรด์แบบอสัณฐาน,การผลิต และการใช้สารเชิงซ้อนนี้
US20090098264A1 (en) Method for Roasting Coffee Beans
RU2008129550A (ru) Аморфный цезийалюминийфторидный комплекс, его получение и применение
JPH0466813B2 (th)
IT1225917B (it) Procedimento per la produzione di pasta alimentare secca.
EP3581552B1 (en) Waste solvent purification method
JP2017164732A (ja) 窒化タンタル(Ta3N5)の製造方法
CN104556100B (zh) 一种硼硅β分子筛中有机胺模板剂的脱除方法
CN103709057A (zh) 一种制造乙二胺四乙酸二钠的方法
KR910016630A (ko) 암모늄화합물이 정화되지 않은 공장, 농업, 또는 개인의 폐수를 정화하는 방법
JP7527369B2 (ja) 核酸の精製方法
RU2005105861A (ru) Додекагидро-клозо-додекаборат уротропина и способ его получения
RU2797970C1 (ru) Способ очистки нуклеиновой кислоты
JP2020514209A5 (th)
RU2211183C2 (ru) Способ получения безводного сульфата магния
US2209314A (en) Process of preparing ammonium mandelate
KR20190054346A (ko) 폐에탄올 정제방법