TH859B - ขบวนการสำหรับการฟอกสีสิ่งทอและสำหรับต่อต้านจุลทรีย์ - Google Patents
ขบวนการสำหรับการฟอกสีสิ่งทอและสำหรับต่อต้านจุลทรีย์Info
- Publication number
- TH859B TH859B TH8101000237A TH8101000237A TH859B TH 859 B TH859 B TH 859B TH 8101000237 A TH8101000237 A TH 8101000237A TH 8101000237 A TH8101000237 A TH 8101000237A TH 859 B TH859 B TH 859B
- Authority
- TH
- Thailand
- Prior art keywords
- phthalocyanine
- phthalocyanin
- zinc
- water
- aluminum
- Prior art date
Links
Abstract
การประดิษฐ์นี้เกี่ยวกับขบวนการสำหรับการฟอกสีสิ่งทอหรือการกำจัดรอยเปื้อนบนสิ่งทอ และสำหรับต่อต้านจุลินทรีย์ในหรือบนซับสเทรดซึ่งเป็นสารอินทรีย์หรือารอนินทรีย์ หรือสำหรับการป้องกันสิ่งดังกล่าวจากการทำลายโดยจุลินทรีย์และเกี่ยวกับ สารที่ใช้ฟอกสี สารที่ใช้ซักล้าง สารที่ใช้ซักล้าง สารที่ใช้ในการแช่ และสารซึ่งมีคุณสมบัติต่อต้านจุลินทรีย์อีกด้วยเกี่ยวกับการดำเนินขบวนการนั้น และเกี่ยวกับสารชนิดใหม่ประเภทสังกะสีพธาโลไซยานีนซึ่งเติมหมู่ซัลโฟนิคแล้ว และสารชนิดใหม่ ประเภทอาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนซึ่งเติมหมู่ซัลโฟนิคแล้วและการ เตรียมสารเหล่านี้
Claims (9)
1.ขบวนการสำหรับฟอกสีสิ่งทอหรือกำจัดรอยเปื้อนบนสิ่งทอและสำหรับต่อต้านจุลินทรีย์ในหรือบนซับสเทดซึ่งเป็นสารอินทรีย์หรือนินทรีย์ หรือสำหรับการป้องกันสิ่งดังกล่าวจากการทำลายโดยจุลินทรีย์ โดยการทำให้สิ่งทอนั้นหรือซับสเทรดนั้นปราศจากจุลินทรีย์หรือได้รับการป้องกันจากจุลินทรีย์ด้วยสังกะสีพธาโลไซยานีน ชนิดที่ละลายน้ำได้ สังกะสีพธาสโลไซยานีนหรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนชนิดที่ละลายน้ำได้ในขณะที่มีน้ำอยู่ด้วยและในสภาพที่มีการฉายแสง ซึ่งประกอบด้วยการใช้สังกะสีพธาโลไซยานีนหรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนชนิดที่ละลายน้ำได้สังกะสีพธาโลไซยานีนหรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนที่เติมหมู่ซัลโฟนิคแล้วซึ่งถูกแทนที่เพิ่มเติมด้วยหมู่ที่เป็นกลางที่ไม่มีผลต่อการละลายในน้ำ ตัวอย่าง เช่น ด้วยอะตอมของฮาโลเจน หรือซูโดฮาโลเจน หรือการใช้ของผสมของพธาโลไซยานีนดังกล่าวซักล้าง
2.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 1 สำหรับการฟอกสีสิ่งทอหรือการกำจัดรอยเปื้อนบนสิ่งทอ ซึ่งประกอบด้วยการซักล้างสิ่งทอในขณะที่มีน้ำอยู่ด้วยและในสภาพที่มีการฉายแสงด้วยสังกะสีพธาโลไซยานีน หรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนที่เติมหมู่ซัลโฟนิคแล้วซึ่งถูกแทนที่เพิ่มเติมด้วยหมู่ที่เป็นกลางที่ไม่มีผลการละลายในน้ำตัวอย่างเช่น ด้วยอะตอมของฮาโลเจนหรือซุโดฮาโลเจน หรือการใช้ของผสมของพธาโลไซยานีน ดังกล่าวซักล้าง
3.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 1 สำหรับการต่อต้านจุลินทรีย์ในหรือบนซับสเทรดซึ่งเป็นสารอินทรีย์หรืออนินทรีย์ หรือเพื่อป้องกันสิ่งดังกล่าวจากการทำละลายโดยจุลินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยการใช้สารซัลสเทรตนั้น ในขณะที่มีน้ำอยู่ด้วยและในสภาพที่มีการฉานแสง ซึ่งสารที่ใช้ได้แก่สังกะสีพธาโลไซยานีนหรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนที่มีการเติมหมู่ซัลโฟนิคแล้วซึ่งถูกแทนที่ด้วยหมู่ที่เป็นกลางที่มีมีผลต่อการละลายน้ำ ตัวอย่างเช่น ด้วยอะตอมของฮาโลเจนหรือซูโตฮาโลเจน หรือใช้ของผสมทางพธาโลไซยานีนดังกล่าว
4.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งในข้อถือสิทธิที่ 1 ถึงที่ 3 ซึ่งประกอบด้วยการใช้สังกะสีพธาโลไซยานีน หรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนต่าง ๆ ซึ่งมีสูตรดังนี้ (สูตรเคมี) (I) ซึ่ง MePC คือระบบวงแหวนของสังกะสีพธาโลไซยานีน หรืออาลูมิ เนียมพธาโลไซยานีน Y คือ ไฮโดรเจน อิออนของโลหะอัลคาไล แอมโมเนียมอิออน หรืออิออนของเกลืออามีน V คือ ค่าใด ๆ จาก 1 ถึง 4 R คือ ฟลูออรีน โบรมีน ไอโอดีนหรือไซยาโน X คือ ค่าใด ๆ จาก 0.1 ถึง 8 และหมู่แทนที่ R ที่มีอยู่ในโมเลกุล นั้นอาจเป็นหมู่ที่เหมือนกันทุกประการหรือเป็นหมู่ที่แตก ต่างกัน
5.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 4 ซึ่งประกอบด้วยการ ใช้สังกะสีพธาโลไซยานีน หรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนต่าง ๆ ซึ่งมีสูตรดังนี้ (สูตรเคมี) (2) ซึ่ง MePC คือระบบวงแหวนของสังกะสีพธาโลไซยานีน หรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีน Y คือ ไฮโดรเจน อิออนของโลหะอัลคาไลแอมโมเนียมอิออน V คือ ค่าใด ๆ จาก 1.3 ถึง 4 ซึ่งเสนอให้เป็นจาก 3 ถึง 4 R คือ คลอรีน โบรมีน หรือไอโอดีน และ X คือ ค่าใด ๆ จาก 0.5 ถึง 8 ซึ่งเสนอให้เป็นจาก 0.8 ถึง 4
6.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 5 ซึ่งประกอบด้วยการใช้สังกะสีพธาโลไซยานีน หรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนของสูตร (2) ซึ่งY ไฮโดนเจน โซเดียม หรือโปแตสเซียม V ค่าค่าใด ๆ จาก 2 ถึง 4 ซึ่งเสนอให้เป็นจาก 3 ถึง 4 R คือ คลอรีนหรือโบรมีน ซึ่งเสนอให้เป็นคลอรีน และ X คือ ค่าใด ๆ จาก0.8 ถึง 2
7.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งตั้งแต่ข้อถือสิทธิที่ 4 ถึงที่ 6 ซึ่งประกอบด้วยการใช้อาลูมิเนียมพธาโลไซยานีน ของสูตา (1) หรือ (2) ซึ่ง MePC คือระบบวงแหวนของสังกะสีพธาโลไซยานีน ซึ่งเสนอให้เป็นอันที่มีสูตรดังนี้ (สูตรเคมี) ซึ่ง AIPC คือ ระบบวงแหวนของอาลูนิเนียมพธาโลไซยานีน X"คือ ค่าใด ๆ จาก 0.8 ถึง 1.5 V" คือ ค่าใด ๆ จาก 3 ถึง 4และ Y" คือ ไฮโดรเจนหรือโซเดียม
8.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 3 ซึ่งประกอบด้วยการนำซับสเทรดไปใส่ในอ่างสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวทำละลายซึ่งมีสังกะสีพธาโลไซยานีน หรือ อาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนชนิดที่เติมหมู่ซัลโฟนิคแล้ว ดังให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 3 ถึง 7 สารเดียวหรือมากกว่า หรือโดยการผสมสารเหล่านี้เข้าไปในซับสเทรดถ้าสิ่งนั้นประกอบด้วยน้ำหรือน้ำอยู่ด้วยและทำการฉายแสง ซับสเทรดนั้นด้วยแหล่งกำเนิดแสงที่ทำขึ้น ซึ่งเสนอให้เป็นหลอดไฟฟ้าชนิดมีไส้ร้อนหรือหลอดอินฟาเรดที่ติดตั้งอยู่ภายในอ่างที่ใช้ทำการนั้น หรือนอกอ่างนั้นอย่างใดอย่างหนึ่งหรือดำเนินการฉายแสงซับสเทรดนั้นด้วยแสงแดดโดยตรงในอ่างทำการหรือในสารละลายของน้ำหรือในสภาพที่ชื้นหลังจากเอาออกจากอ่างแล้ว
9.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 8 สำหรับการฆ่าเชื้อเสื้อผ้าที่ซักรีดประกอบด้วยการซักเสื้อผ้านั้นในสภาพที่มีการฉายแสงด้วยแสงอินฟราเรดและ/หรือ แสงที่มองเห็นได้โดยซักในของเหลวซักล้างซึ่งนอกจากจะมีองค์ประกอบสำหรับซักล้างทั่วไปแล้วยังประกอบด้วยอนุพันธ์ของพธาโซไซยานีน ดังให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 3 ถึงที่ 7 สารหนึ่งหรือมากกว่าในอัตรา 0.001 ถึง 100 ส่วนในล้านส่วนถ้าเหมาะสมมี เกลืออนินทรีย์ด้วย 1
0.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 8 สำหรับการฆ่าเชื้อหรือป้องกันจุลินทรีย์ในการแต่งชั้นสุดท้ายของการผลิตสิ่งทอ ซึ่งประกอบด้วยการใส่สิ่งทอลงในของเหลวซึ่งประกอบด้วยอนุพันธ์ของสังกะสีพธาโลไซยานีน หรืออาลูเนียมพธาโลไซยานีนดังให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 3 ถึงที่ 7 ในอัตรา 0.01 ถึง 50 ส่วนในล้านส่วนและมีการฉายแสงโดยตรงในอ่างของเหลวนั้นด้วยแหล่งกำเนิดแสงที่ทำขึ้นหรือทำการฉาย แสงสิ่งทอนั้นภายหลังในสภาพที่ชิ้นด้วยแหล่งกำเนิดแสงที่ทำขึ้นหรือผึ่งแดด 1
1.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 2 ซึ่งประกอบด้วยการใส่สิ่งทอนั้นลงในของเหลวที่มีน้ำในองค์ประกอบและมีสังกะสีพธาโลไซยานีนหรืออาลูเนียมพธาโลไซยานีน ดังให้ความหมายไว้นข้อถือสิทธิที่ 2 หรือที่ 4 ถึงที่ 7 ข้อใดข้อหนึ่ง สารหนึ่งหรือมากกว่า และในอัตราความเข้มข้น 0.01 ถึง50 มิลลิกรัม/ลิตร 1
2.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 11 ซึ่งประกอบด้วยการดำเนินการฉายแสง ด้วยแหล่งกำเนิดแสงที่ทำขึ้น ซึ่งเสนอให้เป็นหลอดไฟฟ้าประเภทไส้ร้อนหรือหลอดอินฟราเรด โดยฉายจากในอ่างทำการหรือจากนอกอ่างนั้นหรือโดยการฉายแสงบนสิ่งทอหลังจาก เอาออกจากอ่างนั้นแล้วและยังชื้นอยู่หรือทำให้ชื้นขึ้นใหม่อีกหรือดำเนินการฉายแสงสิ่งทอที่แช่แล้วในแสงแดด 1
3.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งที่ 2 ที่11 หรือที่ 12 สำหรับซักและฟอกสีสิ่งทอ ซึ่งประกอบด้วยการใส่สิ่งทอลงในไซยานีน และ/หรือ อาลูเนียมพธาโลไซยานีนที่มีการเติมหมู่ซัลโฟนิคแล้วสารหนึ่งหรือมากกว่า 1
4.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 11 สำหรับฆ่าเชื้อ บริเวณผิว ตัวอย่างเช่น อ่าง ข้างฝา เครื่องเรือน และสิ่งที่คล้ายคลึงกันซึ่งประกอบด้วยการใช้สารละลายซึ่งมีสารเนียมพธาโลไซยานีนดังให้ความหายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง ที่ 7 ข้อใดข้อหนึ่ง สารหนึ่งหรือมากกว่าละลายอยู่ในน้ำกับผิวดังกล่าวแล้วฉายแสงผิวนั้นในขณะที่ยังชื้นขึ้นด้วยแสงแดดและถ้าเหมาะสม ทำการฉายแสงเพิ่มด้วยแหล่งกำเนิดแสงซึ่งเปล่งแสงอินฟราเรดหรือแสงที่มองเห็นได้ 1
5.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 1 สำหรับการฆ่าเชื้อในน้ำของอ่างว่ายน้ำหรือสระว่ายน้ำซึ่งประกอบด้วยการเติมอนุพันธ์ของพธาโลไซยานีนดังให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 7 ข้อใดข้อหนึ่ง ชนิดหนึ่งหรือมากกว่าลงไปในน้ำในอัตรา 0.001 ถึง 50 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งเสนอให้ใช้0.01 ถึง 10 ส่วนในล้านส่วน ในขณะที่ทำการฉายแสงน้ำนั้นเพิ่มเติมจากแสงแดดที่มีอยู่ โดยการดำเนินการด้วยแหล่ง กำเนิดแสงที่ทำขึ้น 1
6.ขบวนการตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 1 สำหรับการฆ่าเชื้อในน้ำที่ปล่อยออกมาจากโรงงานกำจัดน้ำโสโครก ซึ่งประกอบด้วยการเติมอนุพันธุ์ของพธาโลไซยานีนดังให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 7 ข้อใดข้อหนึ่ง ชนิดหนึ่ง หรือมากกว่าลงไปในน้ำที่ปล่อยออกมานั้น ในอัตรา 0.001 ถึง 100ส่วนในล้านส่วนซึ่งเสนอให้ใช้ 0.01 ถึง 10 ส่วนในล้านส่วนในขณะที่ทำการฉายแสงน้ำนั้นเพิ่มเติมจากแสดงแดดที่มีอยู่ โดยการดำเนินการด้วยแหล่งกำเนิดแสงที่ทำขึ้น 1
7.สารฆ่าจุลินทรีย์ และ/หรือ สารฟอกสี ซึ่งประกอบด้วยสารประเภทสังกะสีพธาโลไซยานีน และ/หรือ อาลูเนียมพธาโลไซยานีนที่เติมหมู่ซัลโฟนิคแล้ว ดังให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 1 ถึงที่ 7 ข้อใดข้อหนึ่ง ชนิดหนึ่งหรือมากกว่า 1
8.สารตามข้อถือสิทธิที่ 17 ซึ่งมีองค์ประกอบที่เป็นเกลืออนินทรีย์ชนิดหนึ่งหรือมากกว่า ตัวอย่างเช่น NaCL หรือNa2SO4 และอาจเลือกให้มีน้ำเป็นองค์ประกอบด้วย เพิ่มขึ้นจากสารประเภทสังกะสีพธาโลไซยานีน และ/หรืออาลูมิเนียมพธาโล ไซยานีนที่เติมหมู่ซัลโฟนิคแล้วดังให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 3 ถึงที่ 7 ข้อใดข้อหนึ่ง ชนิดหนึ่งหรือมากกว่า 1
9.สารตามข้อถือสิทธิที่ 18 ซึ่งประกอบด้วยสารประเภท พธาโลไซยานีนที่ให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 4-7 ข้อใดข้อหนึ่ง หนึ่งชนิดหรือมากกว่าซึ่งเสนอให้เป็นสารประเภทโลไซยานีนดังให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 7 ในปริมาณ 50-80 เปอร์เซ็นต์ NaCl และ/หรือ Na2SO4 Na2SO4 10-30เปอร์เซ็นต์ และน้ำ 0-30 เปอร์เซ็นต์ 2
0.สารฆ่าจุลินทรีย์ตามข้อถือสิทธิที่ 17 ซึ่งประกอบด้วยสารประเภทสังกะสีพธาโลไซยานีน และ/หรือ อาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนที่เติมหมู่ซัลโฟนิคแล้วดังให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 3 ถึงที่ 7 ข้อใดข้อหนึ่ง ชนิดหนึ่งหรือมากกว่าและอาจเลือกให้มีสารซักล้างทั่วไปอยู่ด้วย 2
1.สารสำหรับฟอกสี ซักล้าง หรืแช่ที่เป็นไปตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 17 ซึ่งประกอบด้วยสารประเภทสังกะสีพธาโลไซยานีน และ/หรือ อาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนที่เติมหมู่ซัลโฟนิคแล้วดังให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 2 หรือที่ 4 ถึง ที่ 7 ข้อใดข้อหนึ่งชนิดหนึ่งหรือมากกว่า 2
2.สารสำหรับซักล้างที่เป็นไปตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่21 ซึ่งประกอบด้วยสารประเภทสังกะสี และ/หรือ อาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนที่เติมหมู่ซัลโฟนิคแล้วดังให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 2 หรือที่ 4 ถึงที่ 7 ข้อใดข้อหนึ่งชนิดหนึ่งหรือมากกว่า โดยให้เหมาะสมในปริมาณ 0.0005 ถึง 1.5% โดยน้ำหนักเทียบกับส่วนประกอบทั้งหมด ผงซักฟอกประเภทอินทรีย์ชนิดหนึ่งหรือมากกว่าเกลือบิลเดอร์ซึ่งมีฤทธิ์เป็นด่าง และอาจเลือกให้มีสารฟอกสีชนิดอื่นเพิ่มเติมอีก 2
3.สารสำหรับซักล้างที่เป็นไปตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่21 ซึ่งประกอบด้วยสารลดแรงตึงผิวปริเภทถือประจุลบ ไม่ถือประจุลบ ไม่ถือประจุ กึ่งโพลาร์เป็นได้ทั้งกรดและด่างและ/หรือ ถือทั้งประจุบวกและประจุลบ 10-50 เปอร์เซ็นตพธาโลไซยานีนที่เติมหมู่ซัลโฟนิคแล้วดังให้ความหมายไว้ในข้อถือสิทธิที่ 2 หรือ 4 ถึง 7 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งเสนอให้เป็นความหมายในข้อถือสิทธิที่ 7 ในปริมาณ 0.005 ถึง 1เปอร์เซ็นต์ เกลือบิลเดอร์ที่มีฤทธิ์เป็นด่าง 0 ถึง 80เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยคาร์โบเนท บอเรท ฟอสเฟต โพลีฟอสเฟต ไบคาร์บอเนทและซิลเคทของโลหะอัลคาไลที่ละลายน้ำได้ อมิโนโพลีคาร์บอกซิเลท ไฟเตทโพลีฟอสโฟเนท และโพลีคาร์บอกซิเลท ที่ละลายน้ำได้ อลูมิเนียมซิลิเคทที่ละลายน้ำไม่ได้ และอาจเลือกให้มีองค์ประกอบของสารซักล้างที่ ใช้ทั่วได้ด้วย 2
4.สารซักล้างตามวิธีการของข้อถือสิทธิที่ 23 ซึ่งสารลดแรงตึงผิวที่ใช้ได้แก่ อัลคิลเบนซีลซัลโฟเนที่ละลายน้ำได้อัลคิลซัลเฟต อัลคิลโพลีเอทธอกซีอีเธอร์-ซัลเฟต,พาราฟินซัลโฟเนท (อัลฟา)-โอลีฟินซัลโฟเนท กรด (อัลฟา-ซัลโฟคาร์บอกซิลิคเกลือและเอสเทอร์ของกรดนี้ อัลคิลกลีเซอริล-อีเธอร์-ซัลโฟเนท, กรดไขมันโมโนกลีเซอไรด์-ซัลเฟต หรือ-ซัลโฟเนท, อัลคิลฟีนอล-โพลีเอทธอกซี-อีเธอร์-ซัลเฟต,2-เอซิลลอกซีอัลเคนซัลโฟเนท, B-อัลคอกซีอัลเคนซัลโฟเนท, สบู่,โพลีเอทธอกซี-แฟตตีอัลกอฮอล์, อัลคิลฟีนอล, โพลีโปรพอกซีไกลคอล, โพลีโปรพอกซี-เอทธิลลีนไดอามีน, อามีนออกไซด์, ฟอสฟีนออกไซด์, ซัลฟอกไซด์, อาลิแฟตติคเซคคันดารีและเทอร์เชียรีอามีน, อาลิแฟตติคควอร์เตอร์นารี-แอมโมเนียม, สารประเภทฟอสโฟเนียมและซัลโฟเนียม หรือของผสมของสารต่าง ๆ ดังกล่าว 2
5.ขบวนการสำหรับการเตรียมสารประเภทสังกะสีหรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีนซึ่งมีสูตรดังนี้ (สูตรเคมี) (1) ซึ่ง MePC คือระบบวงแหวนของสังกะสีพธาโลไซยานีน หรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีน Y คือ ไฮโดรเจน อิออนของโลหะอัลคาไล แอมโมเนียมอิออน V คือ ค่าใด ๆ จาก 0.1 ถึง 4 R คือฟลูออรีน คลอรีน โบรมีน ไอโอดีน หรือไซยาโน X คือค่าใด ๆ จาก 0.1 ถึง 8 หมู่แทนที่ R ที่มีอยู่ในโมเลกุลนั้นอาจเป็นหมู่ที่เหมือนกันทุกประการ หรือเป็นหมู่ที่แตก ต่างกัน ซึ่งขบวนการประกอบด้วยการทำปฏิกิริยาการทำปฏิกิริยาระหว่างพธาโลไซยานีนซึ่งมีสูตร (สูตรเคมี) กับกรดคลอโรซัลโฟนิค และไฮโดรไลซ์ซัลโฟคลอไรด์ที่ได้ 2
6.ขบวนการข้อถือสิทธิ 25 สำหรับการเตรียมสารประเภทพธาโลไซ ยานีน ซึ่งมีสูตรดังนี้ (สูตรเคมี) ซึ่ง MePC คือระบบวงแหวนของสังกะสีพธาโลไซยานีน หรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีน Y\' คือไฮโดรเจนอิออนของโลหะอัลคาไลหรือแอมโนเมียมอิออน V\' คือค่าใด ๆ จาก 1.3 ถึง 4 ที่เหมาะสมคือจาก 3 ถึง 4 R\' คือคลอรีน โบรมีน หรือไอโอดีน และ X\' เป็นค่าใด ๆ จาก 0.5 ถึง 8 ที่เหมาะสมคือจาก 0.8 ถึง 4 ที่เหมาะสมคือสารซึ่ง Y\' คือไฮโดรเจน โซเดียมหรือโบตัสเซียม V\' คือค่าใดค่าหนึ่ง 2 ถึง 4 ที่เหมาะสมคือจาก 3 ถึง 4 R\'คือคลอรีน โบรมีน ที่เหมาะสมคือคลอรีน และ X\' คือค่าใด ๆจาก 0.8 ถึง 2 ซึ่งขบวนการประกอบไปด้วยการทำปฏิกิริยาระหว่างพธาโลไซยานีนซึ่งมีสูตร (MePC) R\'X\' กับกรดคลอโรซัลโฟนิค และทำการไฮโดรไลซ์ซัลโฟคลอไรด์ที่ได้ 2
7.ขบวนการข้อถือสิทธิ 25 หรือ 26 สำหรับเตรียมสารประเภทพธาโลไซยานีนตามสูตร (1) หรือ (2) ซึ่ง (MePC) คือระบบวงแหวนอลูมิเนียมที่เหมาะสมควรมีสูตรดังนี้ (สูตรเคมี) ซึ่ง AIPC คือ ระบบวงแหวนของอาลูนิเนียมพธาโลไซยานีน X"คือ ค่าใด ๆ จาก 0.8 ถึง 1.5 V" คือ ค่าใด ๆ จาก 3 ถึง 4และ Y" คือ ไฮโดรเจนหรือโซเดียม ซึ่งขบวนการประกอบด้วยการทำปฏิกิริยาระหว่างสารที่มีสูตร (สูตรเคมี) กับกรดคอลโรซัลโฟนิคและทำการไฮโดรไลซ์ซัลโฟคลอไรด์ที่ได้ 2
8.ขบวนการสำหรับเตรียมสารประเภทพธาโลไซยานีนที่มีสูตร (สูตรเคมี) ซึ่ง MePC คือระบบวงแหวนของสังกะสีพธาโลไซยานีน หรืออาลูมิ เนียมพธาโลไซยานีน Y คือ ไฮโดรเจน อิออนของโลหะอัลคาไล แอมโมเนียมอิออน V คือค่าใด ๆ จาก 0.1 ถึง 4 ซึ่งเสนอให้เป็นจาก 0.1 ถึง 8 และหมู่แทนที่ R ที่มีอยู่ในโมเลกุลนั้นอาจเหมือนกันทุกประการหรือต่างกัน ซึ่งประกอบด้วยการเติมหมู่ซัลโฟเนทให้แก่พธาโล ไซยานีนที่มีสูตร (สูตรเคมี) กับที่เหมาะสมคือโอเลียม และหากเหมาะสมทำการเปลี่ยนกรดซัลโฟนิคที่ได้ให้เป็นเกลือ 2
9.ขบวนการสำหรับการเตรียมสารประเภทพธาโลไซยานีนซึ่งมีสูตรดังนี้ (สูตรเคมี) ซึ่ง MePC คือระบบวงแหวนของสังกะสีพธาโลไซยานีน หรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีน Y คือ ไฮโดรเจน อิออนของโลหะอัลคาไล แอมโมเนียมอิออนหรืออิออนของเกลืออามีน V คือค่าใด ๆ จาก 0.1 ถึง 4 R" คือคลอรีน โบรมีน หรือไอโอดีน และ X เป็นค่าใด ๆ จาก 0.1 ถึง8 ซึ่งประกอบด้วยการทำปฏิกิริยาการเติมคลอรีน การเติมโบรมีน หรือการเติมไอโอดีนให้กับพธาโลไซยานีนซึ่งมีสูตรดังนี้(MePC) (SO3Y)V 3
0.ขบวนการสำหรับการเตรียมสารประเภทพธาโลไซยานีนซึ่งมีสูตร (สูตรเคมี) ซึ่ง MePC คือระบบวงแหวนของสังกะสีพธาโลไซยานีน หรืออาลูมิเนียมพธาโลไซยานีน Y คือ ไฮโดรเจน อิออนของโลหะอัลคาไล แอมโมเนียมอิออนหรืออิออนของเกลืออามีน V คือค่าใด ๆ จาก 0.1 ถึง 4 R" คือคลอรีน โบรมีน หรือไอโอดีน และ X เป็นค่าใด ๆ จาก 0.1 ถึง8 ในขณะที่หมู่แทนที่ R ที่มีอยู่ในโมเลกุลนั้นอาจเป็นหมู่ที่เหมือนกันทุกประการ หรือเป็นหมู่ที่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วยการทำปฏิกิริยาระหว่างพธาโลไซยานีนซึ่งมีสูตร (สูตรเคมี) ซึ่ง PC เป็นระบบวงแหวนของพธาโลไซยานีนที่ปราศจากโลหะ และR,X,Y, และ V มีความหมายดังข้างบน กับเกลือหรืออัลกอฮอเลทของสังกะสีหรืออาลูมิเนียม (ข้อถือสิทธิ 30 ข้อ, 8 หน้า, - รูป)
Publications (3)
Publication Number | Publication Date |
---|---|
TH327A TH327A (th) | 1982-05-21 |
TH327EX TH327EX (th) | 1982-05-21 |
TH859B true TH859B (th) | 1988-01-18 |
Family
ID=
Similar Documents
Publication | Publication Date | Title |
---|---|---|
KR830007941A (ko) | 섬유물의 표백과 미생물의 박멸방법 | |
DE3518804C2 (de) | Verfahren zur Durchführung einer Reaktion mit Singlett-Sauerstoff unter Einsatz von wasserlöslichen Azaphthalocyaninen und diese enthaltende Mittel | |
US4094806A (en) | Photoactivated bleach-compositions | |
US3927967A (en) | Photoactivated bleaching process and composition | |
FI67884B (fi) | Porfinfotoaktivator innehaollande blekningskomposition | |
US4318883A (en) | Process for combating micro-organisms, and novel phthalocyanine compounds | |
DE2813198A1 (de) | Bleichendes wasch- und reinigungsmittel und verfahren zu seiner anwendung | |
CA1162007A (en) | Bleaching liquid cleaning composition | |
KR840002845A (ko) | 수용성 징크 및 알루미늄 프탈로시아닌의 제조방법 | |
CS214758B2 (en) | Means for ammelioration of appearance of used and especially dirty textiles | |
CA1202452A (en) | Photobleach system, composition and process | |
EP0038590B1 (en) | Particulate detergent composition and method for cleaning fabrics | |
US4668418A (en) | Photoactivable bleaching/detergent composition | |
TH859B (th) | ขบวนการสำหรับการฟอกสีสิ่งทอและสำหรับต่อต้านจุลทรีย์ | |
TH327A (th) | ขบวนการสำหรับการฟอกสีสิ่งทอและสำหรับต่อต้านจุลทรีย์ | |
US3686126A (en) | Bleaching and softening agent | |
CA1254354A (en) | Method of low temperature bleaching with reduced amounts of chlorine requiring reduced bleaching intervals | |
JPH03168299A (ja) | 液体洗剤 | |
JPH036296A (ja) | 洗浄用組成物 | |
GB2073768A (en) | Washing Bar | |
JPH02151697A (ja) | 台所用粉体洗浄剤組成物 | |
JPH0144240B2 (th) | ||
CZ20032363A3 (cs) | Způsob odstranění chloru v lázni na praní | |
CS257962B1 (cs) | Způsob dekontaminace tkanin a plastikátú praním a následným čiitěnfm odpadních vod destilaci | |
TH327EX (th) | ขบวนการสำหรับการฟอกสีสิ่งทอและสำหรับต่อต้านจุลทรีย์ |