TH85044A - แผ่นปูพื้นคอนกรีตสำหรับถนน ทางหรือทางหลวงและระเบียบวิธีวิทยาสำหรับการออกแบบพื้นที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น - Google Patents

แผ่นปูพื้นคอนกรีตสำหรับถนน ทางหรือทางหลวงและระเบียบวิธีวิทยาสำหรับการออกแบบพื้นที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น

Info

Publication number
TH85044A
TH85044A TH601004972A TH0601004972A TH85044A TH 85044 A TH85044 A TH 85044A TH 601004972 A TH601004972 A TH 601004972A TH 0601004972 A TH0601004972 A TH 0601004972A TH 85044 A TH85044 A TH 85044A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
floor
concrete
width
truck
length
Prior art date
Application number
TH601004972A
Other languages
English (en)
Other versions
TH85044B (th
TH54008B (th
Inventor
ปาโบล โควาร์รูเบียส ตอร์เรส นายฮวน
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางสาวสนธยา สังขพงศ์ filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH85044B publication Critical patent/TH85044B/th
Publication of TH85044A publication Critical patent/TH85044A/th
Publication of TH54008B publication Critical patent/TH54008B/th

Links

Abstract

DC60 ระบบการปูพื้นแบบธรรมดาที่ได้รับการใช้มาจนถึงปัจจุบัน พิจารณาความกว้างของแผ่น พื้นเท่ากับความกว้างของช่องทางและมิติตามทางยาวเท่ากับความกว้างของช่องทางหรือยาว 6 เมตร มิติเหล่านี้ทำให้น้ำหนักบรรทุกจากยานพาหนะและโดยเฉพาะอย่างยิ่งรถบรรทุกที่อยู่ภายใต้ น้ำหนักบรรทุก ส่งแรงกระทำที่ขอบทั้งสองข้างในเวลาเดียวกันที่รวมถึงหน่วยแรงดึงบนพื้นผิวแผ่น พื้นเมื่อแผ่นพื้นเหล่านั้นโก่งงอ การประดิษฐ์นี้มีความมุ่งหมายที่จะสร้างแผ่นพื้นคอนกรีตที่ซึ่งค่า ความกว้างสูงสุดของแผ่นพื้น Dx ได้รับการกำหนดโดยมิติที่ต่ำระหว่างระยะห่าง D1 ของล้อหน้า ของรถบรรทุกที่อยู่ภายใต้น้ำหนักบรรทุกที่เป็นแบบจำลองหรือโดยค่าเฉลี่ย de และระยะห่าง D2 ของล้อขับเคลื่อนส่วนหลังของรถบรรทุกคันเดี่ยวกันหรือค่าเฉลี่ย ความยาวพื้นสูงสุด L ได้รับการ กำหนดโดยระยะห่างระหว่างเพลาของรถบรรทุกหรือค่าเฉลี่ย และความหนา E ได้รับการกำหนด โดยค่าความต้านทานของคอนกรีต ที่พิจารณาถึงน้ำหนักบรรทุกจร หรือชนิดและคุณภาพของส่วน ฐานและประเภทของพื้น การประดิษฐ์นี้ประกอบด้วยระเบียบวิธีทางการออกแบบของแผ่นพื้น คอนกรีตนี้ซึ่งยอมให้ล้อเพียงล้อเดียวเท่านั้นหรือล้อขับเคลื่อนเพียงล้อเดียวเท่านั้นที่ได้รับการใช้ เป็นรถบรรทุกที่เป็นแบบจำลอง สัมผัสและเคลื่อนที่ไปเหนือพื้นดังกล่าว ระบบการปูพื้นแบบธรรมดาที่ได้รับการใช้มาจนถึงปัจจุบัน พิจารณาความกว้างของแผ่น พื้นเท่ากับความกว้างของช่องทางและมิติตามทางยาวเท่ากับความกว้างของช่องทางหรือยาว 6 เมตร มิติเหล่านี้ทำให้น้ำหนักบรรทุกจากยานพาหนะและโดยเฉพาะอย่างยิ่งรถบรรทุกที่อยู่ภายใต้ น้ำหนักบรรทุก ส่งแรงกระทำที่ขอบทั้งสองข้างในเวลาเดียวกันที่รวมถึงหน่วยแรงดึงบนพื้นผิวแผ่น พื้นเมื่อแผ่นพื้นเหล่านั้นโก่งงอ การประดิษฐ์นี้มีความมุ่งหมายที่จะสร้างแผ่นพื้นคอนกรีตที่ซึ่งค่า ความกว้างสูงสุดของแผ่นพื้น Dx ได้รับการกำหนดโดยมิติที่ต่ำระหว่างระยะห่าง D1 ของล้อหน้า ของรถบรรทุกที่อยู่ภายใต้น้ำหนักบรรทุกที่เป็นแบบจำลองหรือโดยค่าเฉลี่ย de และระยะห่าง D2 ของล้อขับเคลื่อนส่วนหลังของรถบรรทุกคันเดี่ยวกันหรือค่าเฉลี่ย ความยาวพื้นสูงสุด L ได้รับการ กำหนดโดยระยะห่างระหว่างเพลาของรถบรรทุกหรือค่าเฉลี่ย และความหนา E ได้รับการกำหนด โดยค่าความต้านทานของคอนกรีต ที่พิจารณาถึงน้ำหนักบรรทุกจร หรือชนิดและคุณภาพของส่วน ฐานและประเภทของพื้น การประดิษฐ์นี้ประกอบด้วยระเบียบวิธีทางการออกแบบของแผ่นพื้น คอนกรีตนี้ซึ่งยอมให้ล้อเพียงล้อเดียวเท่านั้นหรือล้อขับเคลื่อนเพียงล้อเดียวเท่านั้นที่ได้รับการใช้ เป็นรถบรรทุกที่เป็นแบบจำลอง สัมผัสและเคลื่อนที่ไปเหนือพื้นดังกล่าว

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา : 1. วิธีการสำหรับสร้างแผ่นปูพื้นของพื้นคอนกรีตสำหรับถนนใหญ่,ถนน, ทางหลวงและทางหลวง ที่เป็นทางด่วน ที่ซึ่งฐานได้รับการเตรียมไว้แล้วและคอนกรีตได้รับการเทบนตำแหน่งเพื่อสร้างพื้น วิธีการ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้: a) การจัดเตรียมรถบรรทุกแบบอย่างที่มีระยะห่าง D1 ระหว่างล้อหน้า ระยะห่าง D2 ระหว่างชุดของล้อหลัง และความยาว L ระหว่างเพลาหน้าและเพลาหลังที่หนึ่งของชุดของล้อ; b) การตั้งค่าความกว้างของพื้นเพื่อให้ความกว้างมีขนาดเล็กกว่าขนาดที่เล็กที่สุดของ D1 และ D2; c) การตั้ง ค่าของความแข็งแรงของคอนกรีต; e) การเตรียมฐาน และ f) การเทคอนกรีตในตำแหน่งเพื่อสร้างพื้นรูปทรง เหลี่ยมด้านขนานอย่างน้อยหนึ่งแห่งซึ่งมีความกว้างและความยาวของพื้น หรือเพื่อสร้างส่วนรูปทรงเหลี่ยม ด้านขนานและตัดส่วนดังกล่าวออกภายหลังเพื่อสร้างพื้นจำนวนหนึ่ง โดยพื้นแต่ละแห่งมีความกว้างไม่ มากกว่าขนาดที่เล็กที่สุดของ D1 และ D2 และความยาวไม่ยาวกว่า L ที่ซึ่งตลอดเวลาล้อหนึ่งหรือชุดหนึ่ง ของล้อเท่านั้นจะสัมผัสและถูกรองรับโดยพื้น 2. พื้นคอนกรีตที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าความกว้างต่ำสุด Dx มีขนาดใหญ่กว่า 0.50 เมตร 3. พื้นคอนกรีตที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าความกว้างต่ำสุด L มีขนาดใหญ่กว่า 0.50 เมตร 4. พื้นคอนกรีตที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าพื้นดังกล่าวได้รับการรองรับไว้โดยชั้นรองพื้นฐานแผ่นพื้นคอนกรีตแบบดั้งเดิม ที่อาจเป็นแบบ เม็ดกลม ได้รับการดำเนินกระบวนการด้วยซีเมนต์หรือได้รับการดำเนินกระบวนการด้วยแอสฟัลท์ 5. พื้นคอนกรีตที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าความกว้างสูงสุดเท่ากับกึ่งหนึ่งของความกว้างช่องทางปกติ 6. พื้นคอนกรีตที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าความยาวสูงสุดเท่ากับ 3.0 เมตร 7. คอนกรีตที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ว่า แคตตาล็อกการออกแบบฉบับหนึ่งได้รับการสร้างขึ้นโดยอยู่บนฐานของสมรรถนะของหน้าตัด ทดลอง 8. พื้นคอนกรีตที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าส่วนๆ หนึ่งอาจมีขนาดใหญ่กว่า Dx และ L ส่วนเช่นที่ว่านี้ได้รับการแบ่งเป็นมิติสูงสุดของ Dx และ L หรือเล็กกว่ามิติเหล่านั้น 9. พื้นคอนกรีตที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าคอนกรีตของพื้นแผ่นหนึ่งอาจได้รับการเทโดยตรง ณ สถานที่ก่อสร้างด้วยมิติของพื้นในรูปแบบ ทรงเหลี่ยมด้านขนานแบบสี่เหลี่ยมมุมฉากหรือจัตุรัส 1 0. พื้นคอนกรีตที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าล้อเพียงล้อเดียวหรือชุดของล้อเพียงชุดเดียวเท่านั้นที่สัมผัสและได้รับการรองรับเหนือแผ่นพื้น เสมอ ซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการส่งน้ำหนักบรรทุกของแผ่นพื้นในแง่มุมของแผ่นพื้นที่มี ขนาดใหญ่กว่าแบบดั้งเดิม 1
1. ระเบียบวิธีการทางออกแบบสำหรับแผ่นพื้นคอนกรีตที่ได้รับการใช้ในถนนใหญ่ ถนน ทางหลวงและทางหลวงที่เป็นทางด่วนตามแบบดังกล่าวที่ซึ่งฐานดังกล่าวได้รับการเตรียมและ คอนกรีตได้รับการเท ณ สถานที่ก่อสร้างซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ว่าระเบียบวิธีทาง การออกแบบดังกล่าวรวมถึงขั้นต่างๆ ต่อไปนี้ การกำหนดรถบรรทุกปกติหรือโดยเฉลี่ยด้วยระยะห่าง D1 ระหว่างล้อหน้าและระยะห่าง D2 ระหว่างชุดของล้อหลังและความยาว L ระหว่างเพลาหน้าและเพลาหลังชุดที่หนึ่งของชุดของ ล้อ กำหนดความกว้างของพื้นในมิติ Dx ซึ่งมีขนาดเล็กกว่าค่าต่ำสุดระหว่าง D1 และ D2 กำหนดความยาวของพื้นในระยะทางที่สั้นกว่าความยาว L ของระยะทางระหว่างเพลา หน้าและเพลาหลังชุดที่หนึ่งของชุดของล้อของรถบรรทุกปกติหรือเฉลี่ย และ กำหนดความหนาของพื้นในระยะทาง E ที่ได้รับการกำหนดไว้โดยค่าของกำลังของ คอนกรีตที่ได้นำไปพิจารณาน้ำหนักบรรทุกจร คุณภาพของฐานและประเภทของดิน 1
2. ระเบียบวิธีที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 12 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าในการกำหนดความกว้างนั้น ค่าต่ำสุดของ Dx นั้นมีค่ามากกว่า 0.50 เมตร 1
3. ระเบียบวิธีที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 11 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าในการกำหนดความกว้างนั้น ค่าต่ำสุดของ L นั้นมีค่ามากกว่า 0.50 เมตร 1
4. ระเบียบวิธีที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 11 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าในการกำหนดความกว้างนั้น มิติสูงสุดของ Dx นั้นสมมูลกับกึ่งหนึ่งของช่องทางปกติ 1
5. ระเบียบวิธีที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 11 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าในการกำหนดความกว้างนั้น ค่าต่ำสุดของ L นั้นมีค่ามากกว่า 3.0 เมตร 1
6. ระเบียบวิธีที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 11 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าด้วยมิติ Dx, L และ E แคตตาล็อกการออกแบบได้รับการสร้างขึ้นโดยอยู่บนฐานของสมรรถนะ ที่ได้รับการวัดไว้ในตอนต่างๆ ของการทดสอบ 1
7. ระเบียบวิธีที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 11 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าส่วนหนึ่งของแผ่นพื้นอาจมีมิติที่ใหญ่กว่า Dx และ L และด้วยเหตุนี้ ส่วนในลักษณะเช่นนี้ สามารถได้รับการตัดด้วยเลื่อยออกเป็นมิติ Dx และ L หรือเล็กกว่ามิติเหล่านั้น 1
8. ระเบียบวิธีที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 11 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าส่วนของแผ่นพื้นดังกล่าวอาจได้รับการเทโดยตรง ณ สถานที่ก่อสร้างด้วยมิติของพื้นในรูปแบบ ทรงเหลี่ยมด้านขนานแบบสี่เหลี่ยมมุมฉาก 1
9. ระเบียบวิธีที่สอดคล้องตามข้อถือสิทธิข้อที่ 11 ซึ่งได้รับการกำหนดลักษณะจำเพาะที่ ว่าล้อเพียงล้อเดียวหรือชุดของล้อเพียงชุดเดียวเท่านั้นที่สัมผัสและได้รับการรองรับเหนือแผ่นพื้น เสมอ ซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการส่งน้ำหนักบรรทุกของแผ่นพื้นในแง่มุมของแผ่นพื้นที่มี ขนาดใหญ่กว่าแบบดั้งเดิม
TH601004972A 2006-10-09 แผ่นปูพื้นคอนกรีตสำหรับถนน ทางหรือทางหลวงและระเบียบวิธีวิทยาสำหรับการออกแบบพื้นที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น TH54008B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH85044B TH85044B (th) 2007-06-14
TH85044A true TH85044A (th) 2007-06-14
TH54008B TH54008B (th) 2017-02-28

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
TNSN08159A1 (en) Improved concrete pavement slabs for streets,roads or highways and the methodology for the slab design
Praticò et al. Trends and issues in mitigating traffic noise through quiet pavements
Saadeh et al. Application of fully permeable pavements as a sustainable approach for mitigation of stormwater runoff
US7506480B1 (en) System and method of forming expansion joints
Li et al. Development of mechanistic–empirical design procedure for fully permeable pavement under heavy traffic
Damsere-Derry et al. Effects of traffic Calming measures on mobility, road safety and pavement conditions on Abuakwa-Bibiani highway
Batezini et al. Experimental appraisal for characterizing laboratorial and field performance parameters of pervious concrete pavement
TH54008B (th) แผ่นปูพื้นคอนกรีตสำหรับถนน ทางหรือทางหลวงและระเบียบวิธีวิทยาสำหรับการออกแบบพื้นที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น
TH85044A (th) แผ่นปูพื้นคอนกรีตสำหรับถนน ทางหรือทางหลวงและระเบียบวิธีวิทยาสำหรับการออกแบบพื้นที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น
Yousefi Darestani et al. Dynamic response of concrete pavements under vehicular loads
Alam et al. Validation of the performance of pervious concrete in a field application with finite element analysis
Yousefi Darestani et al. Experimental study on structural response of rigid pavements under moving truck load
Loprencipe et al. Analytical and numerical approaches for design of stone pavers in urban shared areas
TH85044B (th) แผ่นปูพื้นคอนกรีตสำหรับถนน ทางหรือทางหลวงและระเบียบวิธีวิทยาสำหรับการออกแบบพื้นที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้น
Walubita et al. A mechanistic-empirical impact analysis of different truck configurations on a jointed plain concrete pavement (JPCP)
KR20070074994A (ko) 아스콘 포장도로의 차량 급정차지역에 시공되는 재활용이가능한 도로포장 구조물 및 이 도로포장 구조물의 시공방법
CN110119589A (zh) 一种半刚性基层沥青路面结构抗反射裂缝能力的计算方法
Fournier Georgia DOT chooses highly modified asphalt for busy intersection
Takeichi et al. Performance of various antifreezing pavements by field test
Koohmishi et al. Evaluation of application of thin HMA overlay on the existing flexible pavement for high-traffic-volume rural highways
JP2650773B2 (ja) 道路舗設方法
Hein et al. Pavement design for large element paving slabs
JPH09100506A (ja) 滑り止め舗装材及びこれを使用した滑り止め道路の舗装工法
Wei et al. Analysis on influence of vehicle overload on the destruction of pavement of Ping-Bai highway.
CN110438863B (zh) 一种用于道路空洞防跌落的装置、制作方法及施工方法