TH8325A3 - กับดักหนูนาแบบกลไกบ่วงดึงแขวน - Google Patents

กับดักหนูนาแบบกลไกบ่วงดึงแขวน

Info

Publication number
TH8325A3
TH8325A3 TH1303000389U TH1303000389U TH8325A3 TH 8325 A3 TH8325 A3 TH 8325A3 TH 1303000389 U TH1303000389 U TH 1303000389U TH 1303000389 U TH1303000389 U TH 1303000389U TH 8325 A3 TH8325 A3 TH 8325A3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
snare
lever
notch
spring
hook
Prior art date
Application number
TH1303000389U
Other languages
English (en)
Other versions
TH8325C3 (th
Inventor
ขจรกล่ำ นายวรพล
Filing date
Publication date
Application filed filed Critical
Publication of TH8325A3 publication Critical patent/TH8325A3/th
Publication of TH8325C3 publication Critical patent/TH8325C3/th

Links

Abstract

DC60 (01/04/56) กับดักหนูนาแบบกลไกบ่วงดึงแขวนตามการประดิษฐ์นี้ จะประกอบไปด้วยคันบ่วงมี ลักษณะเป็นเท่งยาวทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทำหน้าที่ในการเป็นองค์ประกอบหลักในการติดตั้งชิ้นส่วน องค์ประกอบอื่นได้แก่สปริงดึงกลับ และ คานมัดสายบ่วง โดยปลายด้านหนึ่งของคันบ่วงจะมีปลาย แหลมสำหรับปักลงดินให้แน่นไม่โยกคลอนเวลานำไปใช้ในการดักหนูนา ตาม สวน ไร่ นา ที่คัน บ่วงเหนือด้านปลายแหลมปักลงดิน จะมีร่องบากจำนวนสองร่อง โดยร่องที่หนึ่งจะบากร่องลึกเข้า ไปในคันบ่วงทำมุมแหลมก้มลงมาทางด้านปลายแหลมปักลงดินของคันบ่วง ทำหน้าที่ในการเป็นที่ ยึดเหนี่ยวขอรั้งคานมัดสายบ่วง เมื่อเวลาใช้งานในการดักจับหนูนา ส่วนร่องบากที่สองจะอยู่สูงขึ้น ไปจากร่องบากที่หนึ่ง โดยเป็นร่องบากที่คันบ่วงมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมเว้าเข้าไปในคันบ่วง ทำ หน้าที่ในการเป็นที่ยึดเหนี่ยวปลายด้านท้ายของคานมัดสายบ่วงไม่ให้ดึงกลับด้านบนปลายคันบ่วง เวลาที่นำมาใช้งาน ที่ส่วนปลายของคันบ่วงจะเจาะรูไว้สำหรับทำหน้าที่ในการเป็นที่เกี่ยวยึดขอ สปริงดึงคานมัดสายบ่วง ส่วนของคานมัดสายบ่วงจะมีลักษณะเป็นแท่งทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีความ ยาวน้อยกว่าคันบ่วง ทำหน้าที่ในการเป็นที่ยึดมัดสายบ่วงในการดักจับหนู โดยที่ตัวของคานมัด สายบ่วงจะเจาะรูไว้ สามรู คือรูทางด้านหน้า กลาง และด้านท้ายของคานมัดสายบ่วง โดยรูทาง ด้านหน้าจะทำหน้าที่ในการเป็นที่ยึดมัดสายบ่วงจับหนู ส่วนรูทางด้านกลางจะทำหน้าที่ในการ เป็นที่ติดตั้ง ยึดเกี่ยวขอรั้งคานมัดสายบ่วงไว้ และรูทางด้านท้ายจะทำหน้าที่ในการเป็นที่ติดตั้งเกี่ยว รั้งขอสปริงดึงกลับ อีกด้านหนึ่งของสปริง ที่ส่วนของขอรั้งคานมัดสายบ่วง เวลาที่นำไปใช้ดักจับ หนูจะทำหน้าที่ไม่ให้คานมัดสายบ่วงดีดดึงกลับเวลาที่หนูยังไม่มาติดกับ และเมื่อหนูมาติดสาย บ่วงที่ดักไว้จะเกิดแรงดึงจากตัวหนูนาทำให้คานมัดสายบ่วงขยับเป็นผลให้ขอรั้งคานมัดสายบ่วงถูก ปลดให้หลุดออกจากร่องบากที่ทำไว้ที่คันบ่วง ทำให้สปริงที่ยึดปลายด้านหนึ่ง ไว้กับคันบ่วงด้านบน และปลายอีกด้านหนึ่งยึดไว้กับคานมัดสายบ่วงเกิดการดีดดึงขึ้นทางด้านบนคันบ่วง ทำให้หนูนา ที่มาติดกับถูกดึงขึ้นด้านบนเกิดการเสียการทรงตัวและติดกับดักในที่สุด กับดักหนูนาแบบกลไกบ่วงดึงแขวนตามการประดิษฐ์นี้ จะประกอบไปด้วยคันบ่วงมี ลักษณะเป็นเท่งยาวทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทำหน้าที่ในการเป็นองค์ประกอบหลักในการติดตั้งชิ้นส่วน องค์ประกอบอื่นได้แก่สปริงดึงกลับ และ คานมัดสายบ่วง โดยปลายด้านหนึ่งของคันบ่วงจะมีปลาย แหลมสำหรับปักลงดินให้แน่นไม่โยกคลอนเวลานำไปใช้ในการดักหนูนา ตาม สวน ไร่ นา ที่คัน บ่วงเหนือด้านปลายแหลมปักลงดิน จะมีร่องบากจำนวนสองร่อง โดยร่องที่หนึ่งจะบากร่องลึกเข้า ไปในคันบ่วงทำมุมแหลมก้มลงมาทางด้านปลายแหลมปักลงดินของคันบ่วง ทำหน้าที่ในการเป็นที่ ยึดเหนี่ยวขอรั้งคานมัดสายบ่วง เมื่อเวลาใช้งานในการดักจับหนูนา ส่วนร่องบากที่สองจะอยู่สูงขึ้น ไปจากร่องบากที่หนึ่ง โดยเป็นร่องบากที่คันบ่วงมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมเว้าเข้าไปในคันบ่วง ทำ หน้าที่ในการเป็นที่ยึดเหนี่ยวปลายด้านท้ายของคานมัดสายบ่วงไม่ให้ดึงกลับด้านบนปลายคันบ่วง เวลาที่นำมาใช้งาน ที่ส่วนปลายของคันบ่วงจะเจาะรูไว้สำหรับทำหน้าที่ในการเป็นที่เกี่ยวยึดขอ สปริงดึงคานมัดสายบ่วง ส่วนของคานมัดสายบ่วงจะมีลักษณะเป็นแท่งทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีความ ยาวน้อยกว่าคันบ่วง ทำหน้าที่ในการเป็นที่ยึดมัดสายบ่วงในการดักจับหนู โดยที่ตัวของคานมัด สายบ่วงจะเจาะรูไว้ สามรู คือรูทางด้าหน้า กลาง และด้านท้ายของคานมัดสายบ่วง โดยรูทาง ด้านหน้าจะทำหน้าที่ในการเป็นที่ยึดมัดสายบ่วงจับหนู ส่วนรูทางด้านกลางจะทำหน้าที่ในการ เป็นที่ติดตั้ง ยึดเกี่ยวขอรั้งคานมัดสายบ่วงไว้ และรูทางด้านท้ายจะทำหน้าที่ในการเป็นที่ติดตั้งเกี่ยว รั้งขอสปริงดึงกลับ อีกด้านหนึ่งของสปริง ที่ส่วนของขอรั้งคานมัดสายบ่วง เวลาที่นำไปใช้ดักจับ หนูจะทำหน้าที่ไม่ให้คานมัดสายบ่วงดีดดึงกลับเวลาที่หนูยังไม่มาติดกับ และเมื่อหนูมาติดสาย บ่วงที่ดักไว้จะเกิดแรงดึงจากตัวหนูนาทำให้คานมัดสายบ่วงขยับเป็นผลให้ขอรั้งคานมัดสายบ่วงถูก ปลดให้หลุดออกจากร่องบากที่ทำไว้ที่คันบ่วง ทำให้สปริงที่ยึดปลายด้านหนึ่ง ไว้กับคันบ่วงด้านบน และปลายอีกด้านหนึ่งยึดไว้กับคานมัดสายบ่วงเกิดการดีดดึงขึ้นทางด้านบนคันบ่วง ทำให้หนูนา ที่มาติดกับถูกดึงขึ้นด้านบนเกิดการเสียการทรงตัวและติดกับดักในที่สุด

Claims (1)

  1. ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :กับดักหนูนาแบบกลไกบ่วงดึงแขนประกอบด้วย คันบ่วง(1)มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าแบบแท่งยาว ทำหน้าที่เป็นที่ติดตั้งสปริงดึง คานมัดสายบ่วง(2)และคานมัดสายบ่วง(3) โดยปลายของคันบ่วง(4)ด้านล่างจะมีลักษณะแหลมทำ หน้าที่สำหรับปักลงดินยึดคันบ่วงให้ปลายคันบ่วง(12)ตั้งขึ้นตั้งฉากกับพื้นดินเวลานำไปใช้ดักหนู ตามสวน ไร่ นา ที่ตัวของคันบ่วงด้านล่างเหนือปลายแหลมปักลงดิน(4) จะมีร่องบากยึดคานมัด สายบ่วง(10)มีลักษณะเป็นร่องบากเว้าสี่เหลี่ยมเข้าไปในตัวของคันบ่วง(1)ทำมุมตั้งฉากกับผิว ด้านหน้าของคันบ่วง(1) ทำหน้าที่ในการยึดคานมัดสายบ่วงไม่ให้ดึงกลับขึ้นด้านบนปลายคันบ่วง (12)เวลานำมาใช้ดักหนูนา ถัดจากร่องบากยึดคานมัดสายบ่วง(10)ลงมาด้านปลายแหลมปักลง ดิน(4)จะมีร่องบากอีกหนึ่งร่องเป็นร่องบากยึดขอรั้งคานมัดสายบ่วง(8)มีลักษณะเป็นร่องบากเว้า เข้าไปในตัวของคันบ่วง(1) ร่องบากทำมุมแหลมกับผิวด้านหน้า(9)ของคันบ่วง(1)แบบทำมุมก้มลง ดิน ทำหน้าที่ในการเป็นที่ยึดขอรั้งคานมัดสายบ่วง(14)เวลานำไปใช้ในการดักหนูนาไม่ให้คานมัด สายบ่วง(3)ดึงกลับขึ้นด้านบนปลายคันบ่วง(12)เมื่อหนูนายังไม่เข้ามาติดกับดัก สปริงดึงคานมัดสายบ่วง(2)เป็นสปริงแบบดึง ทำหน้าที่ในการดึงคานมัดสายบ่วง(3)ให้ดึง ขึ้นด้านบนทางปลายคันบ่วง(12)เมื่อเวลาหนูนามาติดกับดักให้ลอยแขวนขึ้นด้านบน โดยปลายด้าน หนึ่งของสปริงจะยึดห่วงขอสปริง(7)ติดที่ปลายของคันบ่วง(1)โดยเจาะรู(6)ที่คันบ่วง(1)สำหรับ เกี่ยวยึดสปริงไว้ไม่ให้หลุด ส่วนปลายอีกด้านหนึงของสปริงจะเกี่ยวยึดกับคานมัดสายบ่วง (3)ทางด้านท้ายของคานมัดสายบ่วง(11)โดยเจาะรู(21)สำหรับเกี่ยวยึดห่วงขอสปริง(22)ไว้ไม่ให้ หลุด คานมัดสายบ่วง(3)มีลักษณะเป็นแท่งทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาวสั้นกว่าคันบ่วง(1) ทำหน้าที่ใน หารเป็นที่มัดสายบ่วงดักหนูนา(17)ในการดักจับหนูนาให้ติดบ่วง ที่ของคานสายมัดบ่วงจะมีรูที่ เจาะไว้ทั้งหมด 3 รู โดยรูที่หนึ่ง(18)จะเจาะไว้ทางด้านหน้าของคานมัดสายบ่วง(19) ทำหน้าที่ใน การเป็นที่ยึดมัดสายบ่วงที่ใช้ดักหนูนา(17)ไม่ให้หลุด และที่ส่วนกลางจะเจาะรูที่สองไว้(20)ทำหน้าที่ ในการเป็นที่ติดตั้งขอรั้งคานมัดบ่วง(14)เวลาที่นำไปใช้ในการดักหนูนาไม่ให้คานมัดสายบ่วงดึง กลับขึ้นด้านบนปลายคันบ่วง(12)จากแรงดึงของสปริง(2)เวลาที่หนูยังไม่มาติดกับดัก และรูที่สาม (21)จะเจาะไว้ทางด้านท้ายของคานมัดสายบ่วง(11)ทำหน้าที่ในการเป็นที่เกี่ยวรั้งห่วงขอสปริง (22)ดึงคานมัดสายบ่วง(3)ไม่ให้หลุด ที่ปลายทางด้านท้าย(11)ของคานมัดสายบ่วง(3)จะทำร่อง บาก(23)เว้าเข้าไปที่ด้านท้ายของคานมัดสายบ่วง(11) ทำหน้าที่ในการเป็นบังคับไม่ให้ลื่นไหล หลุดออกจากคันบ่วง(1)ที่ตำแหน่งร่องบากยึดคานมัดสายบ่วง(10)เวลาที่นำมาใช้ในการดักหนูนา ขอรั้งคานมัดสายบ่วง(14)มีลักษณะเป็นห่วงขอทำจากลวดตัดขึ้นรูป ทำหน้าที่ในการรั้ง คานมัดสายบ่วง(3)ไม่ให้ดึงกลับขึ้นด้านบนปลายคันบ่วง(12)เมื่อเวลานำมาใช้ดักหนูตอนที่หนูยัง
TH1303000389U 2013-04-01 กับดักหนูนาแบบกลไกบ่วงดึงแขวน TH8325C3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH8325A3 true TH8325A3 (th) 2013-09-24
TH8325C3 TH8325C3 (th) 2013-09-24

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US8230642B2 (en) Raccoon trap
US20130001385A1 (en) Quick mount non-destructive temporary mounting apparatus
JP3177399U (ja) 動物捕獲用罠
JP3209859U (ja) 括り罠の衝撃吸収装置
TH8325C3 (th) กับดักหนูนาแบบกลไกบ่วงดึงแขวน
TH8325A3 (th) กับดักหนูนาแบบกลไกบ่วงดึงแขวน
US9565850B2 (en) Trap bracket
US9781917B1 (en) Animal trap
JP2014079239A (ja) 括り罠用仕掛け補助器具
JP6399392B2 (ja) 取付座付括り罠
US10945426B2 (en) Snare trap
US3276159A (en) Trapping device
JP2018201410A (ja) 獣の足を二重に結束可能とした罠
US4033067A (en) Humane animal trap
US9173390B2 (en) Trap clip
US8479437B2 (en) Automatic hook setting device
US1334418A (en) Trap
JP2014155449A (ja) くくり罠
CN216018740U (zh) 一种无公害鼢鼠捕鼠器
RU187744U1 (ru) Устройство для ловли хищных рыб в отвес
US2228808A (en) Animal trap
KR20090010745U (ko) 참게낚시 포획기구
US1769770A (en) Animal trap
US1548761A (en) Animal trap
RU51826U1 (ru) Ловушка-капкан для мышевидных грызунов