TH73562B - กระบวนการสำหรับการผลิตโอลิฟินขนาดเล็ก - Google Patents

กระบวนการสำหรับการผลิตโอลิฟินขนาดเล็ก

Info

Publication number
TH73562B
TH73562B TH701001401A TH0701001401A TH73562B TH 73562 B TH73562 B TH 73562B TH 701001401 A TH701001401 A TH 701001401A TH 0701001401 A TH0701001401 A TH 0701001401A TH 73562 B TH73562 B TH 73562B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
vapor
liquid
liquid separator
thermal
removal
Prior art date
Application number
TH701001401A
Other languages
English (en)
Other versions
TH92265B (th
TH92265A (th
Inventor
ยุคควาน งาน นายแดนนี่
เจมส์ บอมการ์ทเนอร์ นายอาร์เธอร์
Original Assignee
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายบุญมา เตชะวณิช
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายบุญมา เตชะวณิช filed Critical นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
Publication of TH92265B publication Critical patent/TH92265B/th
Publication of TH92265A publication Critical patent/TH92265A/th
Publication of TH73562B publication Critical patent/TH73562B/th

Links

Abstract

DC60 กระบวนการสำหรับทำโอลิฟินขนาดเล็กจากวัตถุดิบสำหรับป้อนไฮโดรคาร์บอนหนักโดย การใช้ร่วมกันของการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนและเครื่องแยกไอ-ของเหลว, และ, จากนั้น, การแตก โมเลกุลแบบไพโรไลติก แฟรกชันเบาของวัตถุดิบสำหรับป้อนไฮโดรคาร์บอนหนักที่ถูกแตกโมเลกุล ด้วยความร้อน ด้วยเหตุนั้นจึงให้ผลิตภัณฑ์โอลิฟินขนาดเล็ก กระบวนการสำหรับทำโอลิฟินขนาดเล็กจากวัตถุดิบสำหรับป้อนไฮโดรคาร์บอนหนักโดย การใช่ร่วมกันของการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนและเครื่องแยกไอ-ของเหลว, และ, จากนั้น, การแตก โมเลกุลแบบไพโรไลติก แฟรกชันเบาของวัตถุดิบสำหรับป้อนไฮโดรคาร์บอนหนักที่ถูกแตกโมเลกุล ด้วยความร้อน ด้วยเหตุนั้นจึงให้ผลิตภัณฑ์โอลิฟินขนาดเล็ก

Claims (6)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 17/03/2560 1. กระบวนการสำหรับการไพโรไลซิสวัตถุดิบสำหรับป้อนไฮโดรคาร์บอนที่มีโค้ก พรีเคอร์เซอร์ที่ไม่ต้องการในเตาเผาโอลิฟินไพโรไลซิสซึ่งประกอบรวมด้วย: a) การป้อนวัตถุดิบสำหรับป้อนเข้าสู่เครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกที่ให้ไว้ในบริเวณ คอนเวคชันของเตาเผา, และให้ความร้อนแก่วัตถุดิบสำหรับป้อนดังกล่าวภายในเครื่องทำให้ร้อน ล่วงหน้าขั้นแรกเพื่อผลิตของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน, b) การนำของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อนออกจากเครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกเข้าสู่ เครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรก, C) การแยก และการกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของแก๊สออกจากของเหลวในเครื่อง แยกไอ-ของเหลวอันแรก, ให้ความร้อนแก่แก๊สในเครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าสำหรับวัฏภาคไอที่ให้ไว้ ในบริเวณคอนเวคชันดังกล่าว, การป้อนส่วนแรกของแก๊สที่ร้อนเข้าสู่บริเวณที่แผ่รังสีของเตาเผาแบบ ไพโรไลซิส และไพโรไลซิ่งแก๊สเพื่อผลิตโอลิฟิน, และการป้อนส่วนที่สองของแก๊สที่ร้อนเข้าสู่ เครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สอง, d) การนำของเหลวออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรก, และการป้อนของเหลวที่ ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน, และการนำของเหลวที่ถูกกำจัดออกให้อยู่ใน ภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนแบบไม่รุนแรงเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่แตกโมเลกุลเชิงความร้อน ที่มีแฟรกชันหนักที่ถูกทำให้หมดไปอย่างมีนัยสำคัญที่มีส่วนประกอบที่มีจุดเดือดปกติสูงกว่า 537 ํC, e) การนำผลิตภัณฑ์ที่แตกโมเลกุลเชิงความร้อนออกจากบริเวณการแตกโมเลกุลด้วย ความร้อนเข้าสู่เครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สอง, f) การทำให้เป็นไอ และการกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของส่วนประกอบที่แตก โมเลกุลความร้อนที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC ออกจากแฟรกชันของเหลวในเครื่องแยกไอ- ของเหลวอันที่สอง, การป้อนแก๊สที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณที่แผ่รังสีของเตาเผาแบบไพโรไลซิส, และไพโรไลซิ่งแก๊สเพื่อผลิตโอลิฟิน, และ g) การกำจัดแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่ออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สอง 2. กระบวนการสำหรับการไพโรไลซิสวัตถุดิบสำหรับป้อนไฮโดรคาร์บอนที่มีโค้ก พรีเคอร์เซอร์ที่ไม่ต้องการในเตาเผาโอลิฟินไพโรไลซิสซึ่งประกอบรวมด้วย: a) การป้อนวัตถุดิบสำหรับป้อนเข้าสู่เครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกที่ให้ไว้ในบริเวณ คอนเวคชันของเตาเผา, และให้ความร้อนแก่วัตถุดิบสำหรับป้อนดังกล่าวภายในเครื่องทำให้ร้อน ล่วงหน้าเพื่อผลิตของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน, b) การนำของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อนออกจากบริเวณคอนเวคชันของเตาเผา, และ การป้อนของผสมที่ถูกกำจัดออกไปยังเครื่องแยกไอ-ของเหลว, การแยก และการกำจัดอย่างน้อยที่สุด ส่วนหนึ่งของแก๊สจากของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน,และป้อนแก๊สที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณที่แผ่ รังสีของเตาเผาแบบไพโรไลซิส, และไพโรไลซิ่งแก๊สเพื่อผลิตโอลิฟิน, C) การป้อนของเหลวที่ถูกกำจัดออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลว เข้าสู่บริเวณการแตก โมเลกุลด้วยความร้อน, และการนำของเหลวที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่ภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน แบบไม่รุนแรงเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่แตกโมเลกุลเชิงความร้อนที่มีแฟรกชันหนักที่ถูกทำให้หมดไป อย่างมีนัยสำคัญที่มีส่วนประกอบที่มีจุดเดือดปกติสูงกว่า 537 ํC, d) การกำจัดผลิตภัณฑ์ที่แตกโมเลกุลเชิงความร้อนจากบริเวณการแตกโมเลกุลด้วย ความร้อน และการป้อนสารเข้าสู่บริเวณการล้าง (stripping zone), e) การทำให้เป็นไอ และการกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของส่วนประกอบที่แตก โมเลกุลเชิงความร้อนที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC ออกจากแฟรกชันของเหลวในบริเวณการล้าง ดังกล่าว, และการป้อนส่วนที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณที่แผ่รังสีของเตาเผาแบบไพโรไลซิส, และ ไพโรไลซิ่งส่วนที่ถูกกำจัดออกไปเป็นโอลิฟิน, และ f) การกำจัดแฟรกชันของเหลวที่แตกโมเลกุลเชิงความร้อนที่เหลืออยู่ออกจากบริเวณ การล้าง 3. กระบวนการสำหรับการไพโรไลซิสวัตถุดิบสำหรับป้อนไฮโดรคาร์บอนที่มีโค้ก พรีเคอร์เซอร์ที่ไม่ต้องการในเตาเผาโอลิฟินไพโรไลซิสซึ่งประกอบรวมด้วย: a) การป้อนวัตถุดิบสำหรับป้อนเข้าสู่เครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกที่ให้ไว้ในบริเวณ คอนเวคชันของเตาเผา, และให้ความร้อนแก่วัตถุดิบสำหรับป้อนดังกล่าวภายในเครื่องทำให้ร้อน ล่วงหน้าเพื่อผลิตของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน, b) การป้อนของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อนเข้าสู่บริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน, และการนำของผสมเข้าสู่ภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนแบบไม่รุนแรงเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่แตก โมเลกุลเชิงความร้อนที่มีแฟรกชันหนักที่ถูกทำให้หมดไปอย่างมีนัยสำคัญที่มีส่วนประกอบที่มีจุด เดือดปกติสูงกว่า 537 ํC C) การนำผลิตภัณฑ์ที่แตกโมเลกุลด้วยความร้อนออกจากบริเวณการแตกโมเลกุลด้วย ความร้อน และการฉีดไอน้ำที่มีอุณหภูมิอย่างน้อยที่สุด 400 ํC เข้าสู่สารเพื่อทำให้อย่างน้อยที่สุด ส่วนหนึ่งของส่วนประกอบที่แตกโมเลกุลเชิงความร้อนที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC กลายเป็นไอ และให้ของผสมที่เป็นไอ-ของเหลวที่ร้อน, d) การป้อนของผสมที่เป็นไอ-ของเหลวที่ร้อนเข้าสู่เครื่องแยกไอ-ของเหลว, e) การกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของไอที่มีส่วนประกอบที่แตกโมเลกุลเชิง ความร้อนที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC จากของผสมที่เป็นไอ-ของเหลวในเครื่องแยกไอ-ของเหลว, และการป้อนส่วนที่เป็นไอที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณที่แผ่รังสีของเตาเผาแบบไพโรไลซิส, และ ไพโรไลซิ่งส่วนที่ถูกกำจัดออกเพื่อผลิตโอลิฟิน, และ f) การกำจัดแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่ออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลว 4. กระบวนการสำหรับการไพโรไลซิสวัตถุดิบสำหรับป้อนไฮโดรคาร์บอนที่มีโค้ก พรีเคอร์เซอร์ที่ไม่ต้องการในเตาเผาโอลิฟินไพโรไลซิสซึ่งประกอบรวมด้วย: a) การป้อนวัตถุดิบสำหรับป้อนเข้าสู่เครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกที่ให้ไว้ในบริเวณ คอนเวคชันของเตาเผา, และการให้ความร้อนแก่วัตถุดิบสำหรับป้อนดังกล่าวภายในเครื่องทำให้ร้อน ล่วงหน้าขั้นแรกเพื่อผลิตของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน, b) การนำของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อนออกจากเครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกเข้าสู่ เครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรก, C) การแยก และการกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของแก๊สออกจากของผสมแก๊ส- ของเหลวในเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรก, การให้ความร้อนแก่แก๊สในเครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้า สำหรับวัฏภาคไอที่ให้ไว้ในบริเวณคอนเวคชันดังกล่าว, และการป้อนแก๊สที่ร้อนเข้าสู่บริเวณที่แผ่รังสี ของเตาเผาแบบไพโรไลซิส, และไพโรไลซิ่งแก๊สเพื่อผลิตโอลิฟิน, d) การนำของเหลวออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรก, และการป้อนของเหลวที่ ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน, และการนำของเหลวที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่ ภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนแบบไม่รุนแรงเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่แตกโมเลกุลเชิงความร้อน ที่มีแฟรกชันหนักที่ถูกทำให้หมดไปอย่างมีนัยสำคัญที่มีส่วนประกอบที่มีจุดเดือดปกติสูงกว่า 537 ํC, e) การนำผลิตภัณฑ์ที่แตกโมเลกุลเชิงความร้อนออกจากบริเวณการแตกโมเลกุลด้วย ความร้อนเข้าสู่เครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สอง, f) การฉีดไอน้ำที่มีอุณหภูมิอย่างน้อยที่สุดประมาณ 400 ํC เข้าสู่เครื่องแยกไอ- ของเหลวอันที่สอง, g) การทำให้เป็นไอ และการกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของส่วนประกอบที่แตก โมเลกุลเชิงความร้อนที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC ออกจากแฟรกชันของเหลวในเครื่องแยกไอ- ของเหลวอันที่สอง, และการป้อนส่วนที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณที่แผ่รังสีของเตาเผาแบบไพโรไลซิส, และไพโรไลซิ่งส่วนที่ถูกกำจัดออกเพื่อผลิตโอลิฟิน, และ h) การกำจัดแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่ออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สอง 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนแบบไม่รุนแรง ดังกล่าวรวมถึงอุณหภูมิอยู่ในช่วง 425 ํC ถึง 525 ํC, และที่ซึ่งของเหลวในบริเวณการแตกโมเลกุล ด้วยความร้อนดังกล่าวถูกคงเอาไว้ที่ภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนภายในบริเวณการแตก โมเลกุลด้วยความร้อนเป็นช่วงเวลาจาก 10 วินาที ถึง 960 วินาที 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 5 ที่ซึ่งบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนถูกดำเนินการ เพื่อที่ว่าแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่จากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สองสามารถคงสภาพโดยไม่มี การตกตะกอนแอสฟัลทีน และมีตะกอนน้อยกว่า 0.1 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักตามที่วัดโดย ASTM D- 473 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 6 ที่ซึ่งภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนดังกล่าวส่งผลทำให้ เกิดการเปลี่ยนสภาพโมเลกุลอย่างน้อยที่สุดสิบ (10) เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของส่วนประกอบที่มี จุดเดือดปกติสูงกว่า 537 ํC ที่มีอยู่ในของเหลวที่ถูกกำจัดออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรกไป เป็นส่วนประกอบที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC, การเปลี่ยนสภาพโมเลกุลดังกล่าวมีพื้นฐานอยู่บน สารป้อนเข้าสู่บริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนดังกล่าว 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 5 ที่ซึ่งภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนแบบไม่รุนแรง ดังกล่าว คือ เพื่อว่าแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่จากบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนจะมี ปริมาณที่ตรวจจับได้ของแอสฟัลทีนที่ตกตะกอน, และแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่จากเครื่องแยกไอ- ของเหลวอันที่สองถูกป้อนให้กับแกสิไฟเออร์ หรือโค้กเกอร์ 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งส่วนประกอบที่ได้จากการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน ที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC ในแฟรกชันที่เป็นไอของเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สองมีปริมาณ ไฮโดรเจนโดยน้ำหนักอย่างน้อยที่สุด 11.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 1 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งภาวะของการแตกโมเลกุลแบบไพโรไลติกรวมถึง อุณหภูมิการแตกโมเลกุลแบบไพโรไลติกจาก 700 ํC ถึง 900 ํC, ความดันการแตกโมเลกุลแบบ ไพโรไลติกจาก 15 psia ถึง 30 psia, และที่ซึ่งแฟรกชันที่เป็นแก๊สได้ถูกออกไปยังสภาวะของการแตก โมเลกุลแบบไพโรไลติกภายในบริเวณที่แผ่รังสีเป็นช่วงเวลาของการแตกโมเลกุลแบบไพโรไลติกขึ้น ไปถึง 10 วินาที 1 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งเครื่องแยกไอ-ของเหลวดังกล่าว คือ เครื่องแยกไอ- ของเหลวแบบหมุนเหวี่ยง 1 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งไอน้ำสำหรับเจือจางที่ร้อนยิ่งยวดถูกเติมลงในของผสม แก๊ส-ของเหลวที่ร้อนจากเครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกที่จุดก่อนเข้าสู่เครื่องแยกไอ-ของเหลว อันแรก, และที่ซึ่งอุณหภูมิของไอน้ำสำหรับเจือจางดังกล่าวคืออย่างน้อยที่สุด 10 ํC สูงกว่าอุณหภูมิ ของของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน 1 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนดังกล่าว จะ ประกอบรวมด้วยดรัมสำหรับทำให้ชุ่มที่มีวิถีทางเพื่อควบคุมอุณหภูมิ และเวลาที่อยู่ในดรัมดังกล่าว 1 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งวัตถุดิบสำหรับป้อนดังกล่าวถูกเลือกจากกลุ่มที่ ประกอบด้วยน้ำมันดิบ, ลองเรซิดิว, ชอร์ทเรซิดิว, น้ำมันแก๊สหนัก, น้ำมันแก๊สสุญญากาศ และ ของผสมของสารเหล่านี้ 1 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 2 ที่ซึ่งภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนแบบไม่รุนแรง รวมถึงอุณหภูมิจาก 425 ํC ถึง 525 ํC และที่ซึ่งของเหลวในบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน ดังกล่าวถูกคงเอาไว้ที่ภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนภายในบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความ ร้อนเป็นช่วงเวลาจาก 10 วินาทีถึง 960 วินาที 1 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 15 ที่ซึ่งบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนถูกดำเนินการ เพื่อที่ว่าแฟรกชันของเหลวที่แตกโมเลกุลเชิงความร้อนที่เหลืออยู่จากส่วนของการล้างสามารถคง สภาพ โดยไม่มีการตกตะกอนแอสฟัลทีน และมีตะกอนน้อยกว่า 0.1 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักตามที่วัด โดย ASTM D-473 1 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 16 ที่ซึ่งภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนดังกล่าวส่งผล ในการเปลี่ยนสภาพโมเลกุลอย่างน้อยสิบ (10) เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของส่วนประกอบที่มากกว่า 537 ํC ที่มีอยู่ในของเหลวที่ถูกกำจัดออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวไปเป็นส่วนประกอบที่ต่ำกว่า 537 ํC, การเปลี่ยนสภาพดังกล่าวขึ้นอยู่กับสารป้อนไปยังบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน 1 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 2 ที่ซึ่งแฟรกชันไอที่ถูกแตกโมเลกุลด้วยความร้อนจาก ส่วนของการล้างมีปริมาณน้ำหนักไฮโดรเจนอย่างน้อยที่สุด 11.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 1 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 2 ที่ซึ่งเครื่องแยกไอ-ของเหลวดังกล่าวคือเครื่องแยกไอ- ของเหลวแบบหมุนเหวี่ยง 2 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 2 ที่ซึ่งบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนดังกล่าว ประกอบรวมด้วยดรัมสำหรับทำให้ชุ่มที่มีวิถีทางเพื่อควบคุมอุณหภูมิ และเวลาที่อยู่ในดรัมดังกล่าว 2 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 2 ที่ซึ่งไอสำหรับการเจือจางที่ร้อนยิ่งยวดถูกเติมลงในของผสม แก๊ส-ของเหลวที่ร้อนจากเครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าที่จุดก่อนเข้าสู่เครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรก และ ที่ซึ่งอุณหภูมิของไอน้ำสำหรับการเจือจางดังกล่าวคืออย่างน้อยที่สุด 10 ํC สูงกว่าอุณหภูมิของ ของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน 2 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่งภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนแบบไม่รุนแรง ดังกล่าวรวมถึงอุณหภูมิจาก 425 ํC ถึง 525 ํC และที่ซึ่งของเหลวในบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความ ร้อนดังกล่าวถูกคงเอาไว้ที่ภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนภายในบริเวณการแตกโมเลกุลด้วย ความร้อนเป็นช่วงเวลาจาก 10 วินาที ถึง 960 วินาที 2 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 22 ที่ซึ่งบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนถูกดำเนินการ เพื่อที่ว่าแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่จากเครื่องแยกไอ-ของเหลวคงสภาพโดยไม่มีการ ตกตะกอน แอสฟัสทีน และมีตะกอนน้อยกว่า 0.1 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักตามที่วัดโดย ASTM D-473 2 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 23 ที่ซึ่งภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนดังกล่าวส่งผล ในการเปลี่ยนอย่างน้อยที่สุดสิบ (10) เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของส่วนประกอบมากกว่า 537 ํC ที่มี อยู่ในของเหลวที่ถูกกำจัดออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวไปเป็นส่วนประกอบต่ำกว่า 537 ํC, การเปลี่ยนดังกล่าวขึ้นอยู่กับสารป้อนไปยังบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน 2 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่งส่วนประกอบที่แตกโมเลกุลเชิงความร้อนที่มีจุดเดือด ปกติต่ำกว่า 537 ํC ในแฟรกชันที่เป็นไอของเครื่องแยกไอ-ของเหลวมีปริมาณน้ำหนักไฮโดรเจน อย่างน้อยที่สุด 11.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 2 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่งเครื่องแยกไอ-ของเหลวดังกล่าวคือเครื่องแยกไอ- ของเหลวแบบหมุนเหวี่ยง 2 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่งบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนดังกล่าวประกอบ รวมด้วยดรัมสำหรับทำให้ชุ่มที่มีวิถีทางเพื่อควบคุมอุณหภูมิ และเวลาที่อยู่ในดรัมดังกล่าว และวิถีทาง เพื่อคงของผสมของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อนเอาไว้ 2 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่งวัตถุดิบสำหรับป้อนดังกล่าวถูกเลือกจากกลุ่มที่ ประกอบด้วยลองเรซิดิว, ชอร์ทเรซิดิว, และของผสมของสารเหล่านี้ 2 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 4 ที่ซึ่งภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนแบบไม่รุนแรง ดังกล่าวรวมถึงอุณหภูมิจาก 425 ํC ถึง 525 ํC และที่ซึ่งของเหลวในบริเวณการแตกโมเลกุลด้วย อุณหภูมิดังกล่าวถูกคงเอาไว้ที่ภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนภายในบริเวณการแตกโมเลกุลด้วย ความร้อนเป็นช่วงเวลาจากประมาณ 10 วินาที ถึงประมาณ 960 วินาที 3 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 29 ที่ซึ่งบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนถูกดำเนินการ เพื่อที่ว่าแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่จากเครื่องแยกไอ-ของเหลวที่สองสามารถคงสภาพโดยไม่มีการ ตกตะกอนแอสฟัสทีน และมีตะกอนน้อยกว่า 0.1 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักตามที่วัดโดย ASTM D-473 3 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 30 ที่ซึ่งภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนดังกล่าว ส่งผลในการเปลี่ยนสภาพโมเลกุลอย่างน้อยที่สุดสิบ (10) เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของส่วนประกอบ ที่จุดเดือดปกติสูงกว่า 537 ํC ที่มีอยู่ในของเหลวที่ถูกกำจัดออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรก ไปเป็นส่วนประกอบที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC, การเปลี่ยนสภาพส่วนประกอบดังกล่าวขึ้นอยู่กับ สารป้อนไปยังบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน 3 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 4 ที่ซึ่งส่วนประกอบที่แตกโมเลกุลเชิงความร้อนที่มีจุด เดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC ในแฟรกชันที่เป็นไอของเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สองมีปริมาณน้ำหนัก ไอโดรเจนอย่างน้อยที่สุด 11.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 3 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 4 ที่ซึ่งเครื่องแยกไอ-ของเหลวคือเครื่องแยกไอ-ของเหลว แบบหมุนเหวี่ยง 3 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 4 ที่ซึ่งบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนประกอบรวม ด้วยดรัมสำหรับทำให้ชุ่มที่มีวิถีทางเพื่อควบคุมอุณหภูมิ และเวลาที่อยู่ในดรัมดังกล่าว 3 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 4 ที่ซึ่งวัตถุดิบสำหรับป้อนดังกล่าวถูกเลือกจากกลุ่มที่ ประกอบด้วยน้ำมันดิบ, ลองเรซิดิว, ชอร์ทเรซิดิว, น้ำมันแก๊สหนัก, น้ำมันแก๊สสุญญากาศ และ ของผสมของสารเหล่านี้ ------------------------------------ 1. กระบวนการสำหรับการไพโรไลซิสวัตถุดิบสำหรับป้อนไฮโดรคาร์บอนที่มีโค้ก พรีเคอร์เซอร์ที่ไม่ต้องการในเตาเผาโอลิฟินไพโรไลซิส ซึ่งประกอบรวมด้วย: a) การป้อนวัตถุดิบสำหรับป้อนเข้าสู่เครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกที่ให้ไว้ในบริเวณ คอนเวคชันของเตาเผา, และให้ความร้อนแก่วัตถุดิบสำหรับป้อนดังกล่าวภายในเครื่องทำให้ร้อน ล่วงหน้าขั้นแรกเพื่อผลิตของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน, b) การนำของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อนออกจากเครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกเข้าสู่ เครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรก, c) การแยกและการกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของแก๊สออกจากของเหลวในเครื่อง แยกไอ-ของเหลวอันแรก, ให้ความร้อนแก่แก๊สในเครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าสำหรับวัฏภาคไอที่ให้ไว้ ในบริเวณคอนเวคชันดังกล่าว, การป้อนส่วนแรกของแก๊สร้อนเข้าสู่บริเวณที่แผ่รังสีของเตาเผาแบบ ไพโรไลซิส และไพโรไลซิ่งแก๊สเพื่อผลิตโอลิฟิน, และการป้อนส่วนที่สองของแก๊สร้อนเข้าสู่เครื่อง แยกไอ-ของเหลวอันที่สอง, d) การนำของเหลวออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรก, และการป้อนของเหลวที่ ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน, และการนำของเหลวที่ถูกกำจัดออกให้อยู่ใน ภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนแบบไม่รุนแรงเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแตกโมเลกุลด้วย ความร้อน ที่มีแฟรกชันหนักที่ถูกทำให้หมดไปอย่างมีนัยสำคัญ ที่มีองค์ประกอบที่มีจุดเดือดปกติสูง กว่า 537 ํC e) การนำผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนออกจากบริเวณการแตก โมเลกุลด้วยความร้อนเข้าสู่เครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สอง, f) การทำให้เป็นไอและการกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งขององค์ประกอบที่ได้จาก การแตกโมเลกุลด้วยความร้อนที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC ออกจากแฟรกชันของเหลวในเครื่อง แยกไอ-ของเหลวอันที่สอง, การป้อนแก๊สที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณที่แผ่รังสีของเตาเผาแบบ ไพโรไลซิส, และไพโรไลซิ่งแก๊สเพื่อผลิตโอลิฟิน, และ g) การกำจัดแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่ออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สอง 2. กระบวนการสำหรับการไพโรไลซิสวัตถุดิบสำหรับป้อนไฮโดรคาร์บอนที่มีโค้ก พรีเคอร์เซอร์ที่ไม่ต้องการในเตาเผาโอลิฟินไพโรไลซิส ซึ่งประกอบรวมด้วย: a) การป้อนวัตถุดิบสำหรับป้อนเข้าสู่เครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกที่ให้ไว้ในบริเวณ คอนเวคชันของเตาเผา, และให้ความร้อนแก่วัตถุดิบสำหรับป้อนดังกล่าวภายในเครื่องทำให้ร้อน ล่วงหน้าขั้นแรกเพื่อผลิตของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน, b) การนำของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อนออกจากบริเวณคอนเวคชันของเตาเผา, และ การป้อนของผสมที่ถูกกำจัดออกไปยังเครื่องแยกไอ-ของเหลว, การแยกและการกำจัดอย่างน้อยที่สุด ส่วนหนึ่งของแก๊สจากของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน, และป้อนแก๊สที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณที่แผ่ รังสีของเตาเผาแบบไพโรไลซิส, และไพโรไลซิ่งแก๊สเพื่อผลิตโอลิฟิน, c) การป้อนของเหลวที่ถูกกำจัดออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลว เข้าสู่บริเวณการแตก โมเลกุลด้วยความร้อน, และการนำของเหลวที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่ภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน แบบไม่รุนแรงเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน ที่มีแฟรกชันหนักที่ถูกทำ ให้หมดไปอย่างมีนัยสำคัญ ที่มีองค์ประกอบที่มีจุดเดือดปกติสูงกว่า 537 ํC, d) การกำจัดผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนจากบริเวณการแตก โมเลกุลด้วยความร้อน และการป้อนสารดังกล่าวเข้าสู่บริเวณการล้าง, e) การทำให้เป็นไอและการกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งขององค์ประกอบที่ได้จาก การแตกโมเลกุลด้วยความร้อน ที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC ออกจากแฟรกชันของเหลวในบริเวณ การล้างดังกล่าว, และการป้อนส่วนที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณที่แผ่รังสีของเตาเผาแบบไพโรไลซิส, และไพโรไลซิ่งส่วนที่ถูกกำจัดออกไปเป็นโอลิฟิน, และ f) การกำจัดแฟรกชันของเหลวที่ถูกแตกโมเลกุลด้วยความร้อนที่เหลืออยู่ออกจาก บริเวณการล้าง 3. กระบวนการสำหรับการไพโรไลซิสวัตถุดิบสำหรับป้อนไฮโดรคาร์บอน ที่มีโค้ก พรีเคอร์เซอร์ที่ไม่ต้องการในเตาเผาโอลิฟินไพโรไลซิส ซึ่งประกอบรวมด้วย: a) การป้อนวัตถุดิบสำหรับป้อนเข้าสู่เครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกที่ให้ไว้ในบริเวณ คอนเวคชันของเตาเผา, และให้ความร้อนแก่วัตถุดิบสำหรับป้อนดังกล่าวภายในเครื่องทำให้ร้อน ล่วงหน้าขั้นแรกเพื่อผลิตของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน, b) การป้อนของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อนเข้าสู่บริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน, และการนำของผสมเข้าสู่ภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนแบบไม่รุนแรงเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้ จากการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน ที่มีแฟรกชันหนักที่ถูกทำให้หมดไปอย่างมีนัยสำคัญ ที่มี องค์ประกอบที่มีจุดเดือดปกติสูงกว่า 537 ํC c) การนำผลิตภัณฑ์ที่ถูกแตกโมเลกุลด้วยความร้อนออกจากบริเวณการแตกโมเลกุล ด้วยความร้อน และการฉีดไอน้ำ ที่มีอุณหภูมิอย่างน้อย 400 ํC เข้าสู่สารดังกล่าวเพื่อทำให้อย่างน้อย ที่สุดส่วนหนึ่งขององค์ประกอบที่ได้จากการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC กลายเป็นไอ และให้ของผสมที่เป็นไอ-ของเหลวที่ร้อน, d) การป้อนของผสมที่เป็นไอ-ของเหลวที่ร้อนเข้าสู่เครื่องแยกไอ-ของเหลว, e) การกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของไอที่มีองค์ประกอบที่ได้จากการแตกโมเลกุล ด้วยความร้อนที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC จากของผสมที่เป็นไอ-ของเหลวในเครื่องแยกไอ- ของเหลว, และการป้อนส่วนที่เป็นไอที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณที่แผ่รังสีของเตาเผาแบบไพโรไลซิส, และไพโรไลซิ่งส่วนที่ถูกกำจัดออกเพื่อผลิต โอลิฟิน, และ f) การกำจัดแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่ออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลว 4. กระบวนการสำหรับการไพโรไลซิสวัตถุดิบสำหรับป้อนไฮโดรคาร์บอนที่มีโค้ก พรีเคอร์เซอร์ที่ไม่ต้องการในเตาเผาโอลิฟินไพโรไลซิส ซึ่งประกอบรวมด้วย: a) การป้อนวัตถุดิบสำหรับป้อนเข้าสู่เครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกที่ให้ไว้ในบริเวณ คอนเวคชันของเตาเผา, และการให้ความร้อนแก่วัตถุดิบสำหรับป้อนดังกล่าวภายในเครื่องทำให้ร้อน ล่วงหน้าขั้นแรกเพื่อผลิตของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน, b) การนำของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อนออกจากเครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกเข้าสู่ เครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรก, c) การแยกและการกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของแก๊สออกจากของผสมแก๊ส- ของเหลวในเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรก, การให้ความร้อนแก่แก๊สในเครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้า สำหรับวัฏภาคไอที่ให้ไว้บริเวณคอนเวคชันดังกล่าว, และการป้อนแก๊สร้อนเข้าสู่บริเวณที่แผ่รังสี ของเตาเผาแบบไพโรไลซิส, และไพโรไลซิ่งแก๊สเพื่อผลิตโอลิฟิน, d) การนำของเหลวออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรก, และการป้อนของเหลวที่ ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน, และการนำของเหลวที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่ ภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนแบบไม่รุนแรงเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแตกโมเลกุลด้วย ความร้อน ที่มีแฟรกชันหนักที่ถูกทำให้หมดไปอย่างมีนัยสำคัญ ที่มีองค์ประกอบที่มีจุดเดือดปกติสูง กว่า 537 ํC e) การนำผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนออกจากบริเวณการแตก โมเลกุลด้วยความร้อนเข้าสู่เครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สอง, f) การฉีดไอน้ำที่มีอุณหภูมิอย่างน้อยประมาณ 400 ํC เข้าสู่เครื่องแยกไอ-ของเหลวอัน ที่สอง, g) การทำให้เป็นไอและการกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งขององค์ประกอบที่ได้จาก การแตกโมเลกุลด้วยความร้อน ที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC ออกจากแฟรกชันของเหลวในเครื่อง แยกไอ-ของเหลวอันที่สอง, และการป้อนส่วนที่ถูกกำจัดออกเข้าสู่บริเวณที่แผ่รังสีของเตาเผาแบบ ไพโรไลซิส, และไพโรไลซิ่งส่วนที่ถูกกำจัดออกเพื่อผลิต โอลิฟิน, และ h) การกำจัดแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่ออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สอง 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1-4 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งมีภาวะการแตกโมเลกุลด้วย ความร้อนแบบไม่รุนแรงดังกล่าว ได้แก่ อุณหภูมิอยู่ในช่วงประมาณ 425 ํC ถึงประมาณ 525 ํC, และ ที่ซึ่งของเหลวในบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนดังกล่าวถูกคงเอาไว้ที่ภาวะการแตกโมเลกุล ด้วยความร้อนภายในบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนเป็นช่วงเวลาจากประมาณ 10 วินาที ถึง ประมาณ 960 วินาที 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 5 ที่ซึ่งบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนถูก ดำเนินการเพื่อที่ว่าแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่จากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สองคงสภาพโดยไม่ มีการตกตะกอนแอสฟัลทีน และมีการตกตะกอนนอนก้นน้อยกว่า 0.1 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักตามที่ วัดโดย ASTM D-473 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 6 ที่ซึ่งภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนดังกล่าวส่ง ผลทำให้เกิดการเปลี่ยนสภาพโมเลกุลอย่างน้อยสิบ (10) เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักขององค์ประกอบที่มี จุดเดือดปกติสูงกว่า 537 ํC ที่มีอยู่ในของเหลวที่ถูกกำจัดออกจากเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันแรกไป เป็นองค์ประกอบที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC, การเปลี่ยนสภาพโมเลกุลดังกล่าวมีพื้นฐานอยู่บน สารป้อนเข้าสู่บริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนดังกล่าว 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 5 ที่ซึ่งภาวะการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนแบบไม่ รุนแรงดังกล่าว คือ แฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่จากบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อน มีปริมาณ ที่ตรวจจับได้ของแอสฟัลทีนที่ตกตะกอน, และแฟรกชันของเหลวที่เหลืออยู่จากเครื่องแยกไอ- ของเหลวอันที่สองถูกป้อนให้กับแกสิไฟเออร์ หรือโค้กเกอร์ 9. กระบวนการข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งองค์ประกอบที่ได้จากการแตกโมเลกุลด้วย ความร้อน ที่มีจุดเดือดปกติต่ำกว่า 537 ํC ในแฟรกชันที่เป็นไอของเครื่องแยกไอ-ของเหลวอันที่สองมี ปริมาณไฮโดรเจนโดยน้ำหนักอย่างน้อย 11.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 1 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งภาวะของการแตกโมเลกุลแบบไพโรไลติก รวมถึงอุณหภูมิการแตกโมเลกุลแบบไพโรไลติกจากประมาณ 700 ํC ถึงประมาณ 900 ํC, ความดัน การแตกโมเลกุลแบบไพโรไลติกจากประมาณ 15 psia ถึงประมาณ 30 psia, และที่ซึ่งแฟรกชันที่เป็น แก๊ส ได้รับสภาวะของการแตกโมเลกุลแบบไพโรไลติกภายในบริเวณที่แผ่รังสีเป็นช่วงเวลาของการ แตกโมเลกุลแบบไพโรไลติกขึ้นไปถึงประมาณ 10 วินาที 1
1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1-4 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งเครื่องแยกไอ-ของเหลว ดังกล่าว คือ เครื่องแยกไอ-ของเหลวแบบหมุนเหวี่ยง 1
2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 ที่ซึ่งไอน้ำสำหรับเจือจางที่ร้อนยิ่งยวดถูกเติม ลงในส่วนผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อนจากเครื่องทำให้ร้อนล่วงหน้าขั้นแรกที่จุดก่อนเข้าสู่เครื่องแยกไอ- ของเหลวอันแรก, และที่ซึ่งอุณหภูมิของไอน้ำสำหรับเจืองจางดังกล่าวคืออย่างน้อยที่สุด 10 ํC สูงกว่า อุณหภูมิของของผสมแก๊ส-ของเหลวที่ร้อน 1
3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1, 2 หรือ 4 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งบริเวณการแตกโมเลกุล ด้วยความร้อนดังกล่าวประกอบรวมด้วยดรัมสำหรับทำให้ชุ่มที่มีอุปกรณ์เพื่อควบคุมอุณหภูมิ และ เวลาที่อยู่ในดรัมดังกล่าว 1
4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งวัตถุดิบสำหรับป้อนดังกล่าวถูกเลือกจากกลุ่มที่ ประกอบด้วยน้ำมันดิบ, น้ำมันเตาประเภทลองเรซิดิว, ชอร์ทเรซิดิว, น้ำมันดีเซลหนัก, น้ำมันดีเซล สุญญากาศ และของผสมของสารเหล่านี้ 1
5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 5 ที่ซึ่งบริเวณการแตกโมเลกุลด้วยความร้อนถูก ดำเนินการเพื่อที่ว่าแฟรกชันของเหลวที่ถูกแตกโมเลกุลด้วยความร้อนที่เหลืออยู่จากส่วนของการล้าง คงสภาพโดยไม่มีการตกตะกอนแอสฟัลทีน และมีการตกตะกอนนอนก้อน น้อยกว่า 0.1 เปอเซ็นต์ โดยน้ำหนักตามที่วัดโดย ASTM D-473 1
6. กระ%
TH701001401A 2007-03-27 กระบวนการสำหรับการผลิตโอลิฟินขนาดเล็ก TH73562B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH92265B TH92265B (th) 2008-11-14
TH92265A TH92265A (th) 2008-11-14
TH73562B true TH73562B (th) 2020-01-07

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US3487006A (en) Direct pyrolysis of non-condensed gas oil fraction
JP6215936B2 (ja) 炭化水素供給原料の熱水蒸気分解による転化方法
JPH0139716B2 (th)
KR20080110875A (ko) 2개의 기액 분리기를 이용하여 중질 탄화수소 공급원료로부터 저급 올레핀을 생산하는 개량된 방법
JP2015511655A5 (th)
JP6184496B2 (ja) 熱水蒸気分解によるオレフィンの製造方法
KR20090005095A (ko) 저급 올레핀의 생산방법
JP2015524506A (ja) 炭化水素供給原料を熱水蒸気分解によってオレフィン系生成物流に転化する方法
JP2015528820A (ja) 分解炉における熱水蒸気分解によってオレフィンを製造する方法
JP2007514829A5 (th)
JP2015509128A5 (th)
CN104449829B (zh) 一种延迟焦化方法
JPH06271869A (ja) 原油精油装置における減圧残渣の後処理方法及び装置
RU2335525C1 (ru) Способ и установка для переработки тяжелых нефтяных остатков
KR101410502B1 (ko) 폐플라스틱 및 폐유의 정제시스템과 그 정제방법
EP3523395A1 (en) Process and a system for hydrocarbon steam cracking
TH73562B (th) กระบวนการสำหรับการผลิตโอลิฟินขนาดเล็ก
TH92265A (th) กระบวนการสำหรับการผลิตโอลิฟินขนาดเล็ก
RU2699807C2 (ru) Установка замедленной термической конверсии мазута
RU2615129C1 (ru) Установка замедленной термической конверсии мазута
US11618854B1 (en) Method and system for regenerating oil from medical waste and waste plastics
CN105586067B (zh) 氢氧燃烧法直接加热裂解石油烃的装置及方法
CA2986515C (en) Steamless hydrocarbon processing (upgrading) facility with multiple & integrated uses of non-condensable gas for hydrocarbon processing
JPS5856598B2 (ja) 炭化水素油の処理方法
KR102455669B1 (ko) 파울링 경향이 높은 중질 피치 및 다른 공급 원료의 현장 코킹