TH70488A - กระบวนการสำหรับการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆของหน้าต่าง ส่วนปิดผนึกและแบบหล่อที่สามารถได้รับการนำมาใช้งานสำหรับกระบวนการดังกล่าว - Google Patents

กระบวนการสำหรับการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆของหน้าต่าง ส่วนปิดผนึกและแบบหล่อที่สามารถได้รับการนำมาใช้งานสำหรับกระบวนการดังกล่าว

Info

Publication number
TH70488A
TH70488A TH401003067A TH0401003067A TH70488A TH 70488 A TH70488 A TH 70488A TH 401003067 A TH401003067 A TH 401003067A TH 0401003067 A TH0401003067 A TH 0401003067A TH 70488 A TH70488 A TH 70488A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
sealing part
formwork
mpa
sealing
young
Prior art date
Application number
TH401003067A
Other languages
English (en)
Other versions
TH53870B (th
Inventor
บอร์โดซ์ นายเฟรเดริก
เดอไบลล์อุล นายโรแม็ง
ดูกูร์เธียล นางเอโลดี
เลอแกลก นายกี
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายบุญมา เตชะวณิช
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายบุญมา เตชะวณิช, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH70488A publication Critical patent/TH70488A/th
Publication of TH53870B publication Critical patent/TH53870B/th

Links

Abstract

DC60 (02/03/54) การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับกระบวนสำหรับการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆของหน้าต่าง (1) ต่างๆ อย่างโดยเฉพาะหน้าต่างที่เป็นส่วนโค้งของรถยนต์ โดยใช้การฉีดพ่นพลาสติกหรือวัสดุที่มีลักษณะ การเกิดปฏิกิริยาอย่างน้อยที่สุดลงบนหนึ่งส่วนของพื้นผิว อย่างโดยเฉพาะพื้นผิวเส้นรอบรูปของ หน้าต่าง ที่ซึ่งหน้าต่างนั้นจะได้รับการจัดวางอยู่ในแบบหล่อซึ่งอย่างน้อยที่สุด จะประกอบรวมด้วย หนึ่งส่วนปิดผนึก (6) ที่จะกำหนดขอบเขตเพื่อการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆ ซึ่งส่วนปิดผนึก (6) ดังกล่าว นั้นจะเป็นแผ่นโครงรูปที่ได้รับการสอดใส่เข้าไปในร่อง (8) ในแบบหล่อขึ้นรูป (3) และได้รับการ ยึดติดอยู่ในส่วนบริเวณทีสัมผัสอย่างมีความเสียดทานและ/หรือด้วยการเกี่ยวประสานของรูปร่างที่ ประกอบให้เกิดความสมบูรณ์ และ/หรือได้รับการยึดติดอย่างเกาะติดอย่างน้อยที่สุดอยู่กับผนัง ด้านหนึ่ง (12) ของร่อง (8) และมีค่า Young's modulus ประมาณ 30 ถึง 400 MPa การประดิษฐ์นี้ ยังเกี่ยวข้องกับส่วนปิดผนึกที่มีลักษณะสมบัติต่างๆเหล่านี้และเกี่ยวข้องกับแบบหล่อขึ้นรูปที่ได้รับ การติดตั้งไว้กับส่วนปิดผนึก การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับกระบวนสำหรับการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆของหน้าต่าง (1) ต่างๆ อย่างโดยเฉพาะหน้าต่างที่เป็นส่วนโค้งของรถยนต์ โดยใช้การฉีดพ่นพลาสติกหรือวัสดุที่มีลักษณะ การเกิดปฏิกิริยาอย่างน้อยที่สุดลงบนหนึ่งส่วนของพื้นผิว อย่างโดยเฉพาะพื้นผิวเส้นรอบรูปของหน้า ต่าง ที่ซึ่งหน้าต่างนั้นจะได้รับการจัดวางอยู่ในแบบหล่อซึ่งอย่างน้อยที่สุด จะประกอบรวมด้วยหนึ่ง ส่วนปิดผนึก (6) ที่จะกำหนดขอบเขตเพื่อการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆ ซึ่งส่วนปิดผนึก (6) ดังกล่าวนั้นจะ เป็นแผ่นโครงรูปที่ได้รับการสอดใส่เข้าไปในร่อง (8) ในแบบหล่อขึ้นรูป (3) และได้รับการยึดติดอยู่ใน ส่วนบริเวณทีสัมผัสอย่างมีความเสียดทานและ/หรือด้วยการเกี่ยวประสานของรูปร่างที่ประกอบให้ เกิดความสมบูรณ์ และ/หรือได้รับการยึดติดอย่างเกาะติดอย่างน้อยที่สุดอยู่กับผนังด้านหนึ่ง (12) ของร่อง (8) และมีค่า Young's modulus ประมาณ 30 ถึง 400 MPa การประดิษฐ์นี้ยังเกี่ยวข้อง กับส่วนปิดผนึกที่มีลักษณะสมบัติต่างๆเหล่านี้และเกี่ยวข้องกับแบบหล่อขึ้นรูปที่ได้รับการติดตั้งไว้ กับส่วนปิดผนึก

Claims (3)

1. กระบวนการสำหรับการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆของหน้าต่าง (1) อย่างโดยเฉพาะหน้า ต่างที่มีความโค้งสำหรับรถยนต์ ด้วยการฉีดพ่นพลาสติกหรือเนื้อวัสดุที่มีลักษณะการเกิดปฏิกิริยาได้ อย่างน้อยที่สุดลงบนส่วนหนึ่งพื้นผิว อย่างโดยเฉพาะพื้นผิวขอบโดยรอบของหน้าต่าง ที่ซึ่ง - หน้าต่างจะได้รับการจัดวางอยู่ในแบบหล่อขึ้นรูปซึ่งอย่างน้อยที่สุดจะประกอบรวม ด้วยสองชิ้นประกอบแบบหล่อขึ้นรูป (2,3) ที่กำหนดโพรงเพื่อการหล่อขึ้นรูป (5) อย่างน้อยที่สุดหนึ่ง ส่วนปิดผนึก (6) ที่กำหนดขอบเขตของการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆ -แบบหล่อขึ้นรูปได้รับการปิดและเนื้อวัสดุได้รับการฉีดพ่น และ -ภายหลังกรรมวิธีหรือการทำเป็นพอลิเมอร์แล้ว แบบหล่อขึ้นรูปจะได้รับการเปิด และหน้าต่างที่ได้รับการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆจะได้รับการถอดออกไป ซึ่งจะได้รับการทำให้มี ลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปิดผนึก (6) ดังกล่าวนั้นจะเป็นแผ่นที่ได้รับการทำเป็นโครงแบบซึ่งได้รับการ สอดใส่อย่ในร่อง (8) ของชิ้นประกอบแบบหล่อขึ้นรูป (3) และได้รับการยืดอยู่ติดกันด้วยการสัมผัส แบบมีความเสียดทานและ/หรือด้วยการเกี่ยวประสานของรูปร่างที่ประกอบให้เกิดความสมบูรณ์ และ/หรือได้รับการยึดติดอย่างเกาะติดอย่างน้อยที่สุดอยู่กับผนังด้านหนึ่ง (12) ของร่อง (8) และที่ ว่าส่วนปิดผนึก (6) ดังกล่าวนั้นจะมีค่า Young\'s modulus ประมาณ 30 ถึง 400 MPa 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปิด ผนึก (6) อย่างน้อยที่สุดจะมีค่า Young\'s modulus 50 MPa 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 หรือ 2 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะ พิเศษที่ว่าส่วนปิดผนึก (6) จะมีค่า Young\'s modulus ที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 300 MPa 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งที่ได้กล่าวข้างต้น ซึ่งได้รับการทำให้มี ลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปิดผนึก (6) จะมีความแข็งแรงต้านทานแรงดึงอย่างน้อยที่สุด 10 MPa 5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งที่ได้กล่าวข้างต้น ซึ่งได้รับการทำให้มี ลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปิดผนึก (6) จะได้รับการทำมาจากเนื้อวัสดุที่ได้รับการคัดเลือกมาจากกลุ่ม ของเนื้อวัสดุที่มีความยืดหยุ่นดังนี้ พอลิโอลิฟิน ดังเช่น พอลิเอธิลีน และพอลิโพรพิลีน อย่าง โดยเฉพาะพอลิโอลิฟินที่ได้รับการทำให้เกิดปฏิกิริยาเฮโลจินเนชัน ดังเช่น พอลิเททราฟลูโอรีธีลีน ไวนิลพอลิเมอร์ ดังเช่น พอลิไวนิลคลอไรด์และพอลิไวนิลิดีนฟลูโอไรด์ เอธิลีน/ไวนิลอะซิเทต โคพอลิเมอร์ พอลิอะมีด ไอโอโนเมอร์เรซิน เทอร์โมพลาสติกอีลาสโตเมอร์ (TPEs) เทอร์โมพลาสติกโอลิฟิน (TPOs) และพอลิอิเธอร์ซัลฟอน (PES) 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 5 ซึ่งได้รับการทำให้มีคุณลักษณะพิเศษที่ว่าส่วน ปิดผนึก (6) ได้รับการทำมาจาก TPE ที่มีเนื้อวัสดุพื้นฐานมาจากเทอร์โมพลาสติกและ EPDM 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งที่ได้กล่าวข้างต้น ซึ่งได้รับการทำให้มี ลักษณะพิเศษที่ว่าภาคตัดขวางของส่วนปิดผนึก (6) จะเป็นรูปหลายเหลี่ยมหรือรูปเชิงเส้นโค้ง ซึ่ง จะเหมาะสมกับรูปแบบอื่นๆของส่วนเว้า 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งที่ได้กล่าวข้างต้น ซึ่งได้รับการทำให้มี ลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปิดผนึก (6) จะมีช่องเล็กยาวตามแนวยาว 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งที่ได้กล่าวข้างต้น ซึ่งได้รับการทำให้มี ลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปิดผนึก (6) จะมีส่วน (11) ที่ยื่นตามแนวขวางเมื่อเทียบกับลำตัวของส่วนปิด ผนึก (ส่วนปิดผนึกที่มีลักษณะเป็นปากหรือส่วนปิดผนึกที่เป็นแบบร่องบังใบ) 1 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งที่ได้กล่าวข้างต้น ซึ่งได้รับการทำให้มี ลักษณะพิเศษที่ว่าเนื้อวัสดุที่ได้รับการฉีดพ่นจะเป็นเนื้อวัสดุที่มีลักษณะการเกิดปฏิกิริยา ดังเช่น การหล่อขึ้นรูปด้วยการฉีดพ่นที่มีลักษณะการเกิดปฏิกิริยา (RIM) พอลิยูรีเธน หรือพอลิยูรีเธนแบบที่ เป็นสารประกอบเดี่ยว หรือเทอร์โมพลาสติก ดังเช่น พอลิไวนิลคลอไรด์ 1 1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งที่ได้กล่าวข้างต้น ซึ่งได้รับการทำให้มี ลักษณะพิเศษที่ว่าแรงดันในแบบหล่อขึ้นรูปจะมีค่าประมาณ 2 ถึง 400 bar 1 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งที่ได้กล่าวข้างต้น ซึ่งได้รับการทำให้มี ลักษณะพิเศษที่ว่าหน้าต่าง (1) ได้รับการทำมาจากกระจกแก้วที่ได้รับการลามิเนท ทำให้มีลักษณะ โค้ง มีความเหนียวหรือมีความแข็งที่ซึ่งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งแผ่นของกระจกแก้วนั้นจะได้รับการให้ ความร้อนอย่างเป็นทางเลือกได้ 1 3. ส่วนปิดผนึก (6) สำหรับแบบหล่อขึ้นรูปที่หล่อขึ้นรูปอย่างซ้ำๆ ซึ่งได้รับการทำให้มี คุณลักษณะพิเศษที่ว่าจะมีค่า Young\'s modulus เท่ากับ 30 ถึง 400 MPa 1 4. ส่วนปิดผนึก (6) ที่ได้รับการถือสิทธิในข้อถือสิทธิ ข้อที่ 13 ซึ่งได้รับการทำให้มีคุณ ลักษณะพิเศษที่ว่าจะมีค่า Young\'s modulus นั้นจะมีค่าเท่ากับ 50 MPa เป็นอย่างน้อยที่สุด 1 5. ส่วนปิดผนึก (6) ที่ได้รับการถือสิทธิในข้อถือสิทธิ ข้อที่ 13 หรือ 14 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งได้รับการทำให้มีคุณลักษณะพิเศษที่ว่าอย่างน้อยที่สุดนั้นจะมีค่า Young\'s modulus น้อยกว่า หรือเท่ากับ 300 MPa 1 6. ส่วนปิดผนึก (6) ที่ได้รับการถือสิทธิในข้อถือสิทธิ ข้อที่ 13 หรือ 15 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งได้รับการทำให้มีคุณลักษณะพิเศษที่ว่าอย่างน้อยที่สุดนั้นจะมีค่าความแข็งแรงต้านทานแรงดึงเท่ากับ 10 MPa 1 7. ส่วนปิดผนึก (6) ที่ได้รับการถือสิทธิในข้อถือสิทธิ ข้อที่ 13 หรือ 15 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งได้รับการทำให้มีคุณลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปิดผนึกดังกล่าวนั้นจะทำมาจากเนื้อวัสดุที่ได้รับการ คัดเลือกมาจากกลุ่มของเนื้อวัสดุที่มีความยืดหยุ่น ดังนี้ พอลิโอลิฟิน ดังเช่น พอลิเอธิลีน และพอลิโพรพิลีน อย่างโดยเฉพาะพอลิโอลิฟินที่ได้รับการทำให้เกิดปฏิกิริยาเฮโลจินเนชัน ดังเช่น พอลิเททราฟลูโอรีธีลีน ไวนิลพอลิเมอร์ ดังเช่น พอลิไวนิลคลอไรด์และพอลิไวนิลิดีน ฟลูโอไรด์ เอธิลีน/ไวนิลอะซิเทตโคพอลิเมอร์ พอลิอะมีด ไอโอโนเมอร์เรซิน เทอร์โมพลาสติก อีลาสโตเมอร์ (TPEs) เทอร์โมพลาสติกโอลิฟิน (TPOs) และพอลิอิเธอร์ซัลฟอน (PES) อย่าง โดยเฉพาะ TPE ที่มีเนื้อวัสดุพื้นฐานของเทอร์โมพลาสติกและ EPDM 1 8. ส่วนปิดผนึก (6) ที่ได้รับการถือสิทธิในข้อถือสิทธิ ข้อที่ 13 หรือ 17 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งได้รับการทำให้มีคุณลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปิดผนึกนั้นจะได้รับการผลิตด้วยการอัดรีด การฉีดพ่น หรือด้วยการใสกลึง 1 9. แบบหล่อขึ้นรูปสำหรับการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆของหน้าต่างต่างๆนั้น ซึ่งอย่างน้อย ที่สุดจะประกอบรวมด้วยสองชิ้นประกอบแบบหล่อขึ้นรูป (2,3) ที่กำหนดเป็นโพรงเพื่อการหล่อขึ้นรูป (5) และอย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วนปิดผนึก (6) ซึ่งจะกำหนดเป็นขอบเขตเพื่อการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆ ซึ่งได้รับการทำให้มีคุณลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปิดผนึก (6) ดังกล่าวนั้นจะเป็นแผ่นที่ได้รับการทำเป็น โครงรูปที่ได้รับการสอดใส่เข้าไปในร่อง (8) ของชิ้นประกอบแบบหล่อขึ้นรูป (3) และยึดติดค้ำกันอยู่ ด้วยการสัมผัสที่มีความเสียดทานและ/หรือด้วยการเกี่ยวประสานของรูปร่างที่ทำให้เกิดลักษณะที่ สมบูรณ์ และ/หรือได้รับการยืดแน่นกันไว้ด้วยการเกาะติดต่างๆเข้ากับหนึ่งผนัง (12) ของร่อง (8) และที่ว่าส่วนปิดผนึก (6) ดังกล่าวนั้นจะมีค่า Young\'s modulus ประมาณ 30 ถึง 400 MPa 2 0. แบบหล่อขึ้นรูปตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 19 ซึ่งได้รับการทำให้มีคุณลักษณะพิเศษที่ว่า ส่วนปิดผนึก (6) จะยื่นขยายอยู่บนร่อง (8) ตลอดทั่วความหนา 0.5 ถึ 3 mm. 2
1. แบบหล่อขึ้นรูปตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 19 หรือข้อถือสิทธิ ข้อที่ 20 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งได้ รับการทำให้มีคุณลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปิดผนึก (6) จะมีค่า Young\'s modulus เท่ากับ 50 MPa เป็นอย่างน้อยที่สุด 2
2. แบบหล่อขึ้นรูปตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 19 ถึง 21 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งได้รับการทำให้มีคุณ ลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปิดผนึก (6) จะมีค่า Young\'s modulus น้อยกว่าหรือเท่ากับ 300 MPa 2
3. แบบหล่อขึ้นรูปตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 19 ถึง 22 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งได้รับการทำให้มีคุณ ลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนปิดผนึก (6) จะมีค่าความแข็งแรงต้านทานแรงดึงเท่ากับ 10 MPa เป็นอย่าง น้อยที่สุด
TH401003067A 2004-08-09 กระบวนการสำหรับการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆของหน้าต่าง ส่วนปิดผนึกและแบบหล่อที่สามารถได้รับการนำมาใช้งานสำหรับกระบวนการดังกล่าว TH53870B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH70488A true TH70488A (th) 2005-09-07
TH53870B TH53870B (th) 2017-02-20

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP4886955B2 (ja) 車両のウインドウガラスを隣接する要素と接合すること
KR0160497B1 (ko) 복합 압출물 및 그 제조방법
US4668556A (en) Elastomeric profiled strip for sealingly enclosing windowpanes
EP0907485B1 (en) Encapsulated fixed-window module for a motor vehicle
KR101272296B1 (ko) 창유리를 오버몰딩하기 위한 방법
EP2673153B1 (en) Encapsulated vehicle window assembly with interlocking seal and method of bonding same in vehicle body opening
JPH0367487B2 (th)
JPH07503425A (ja) 熱可塑性プラスチック材料とエラストマー材料の共同加硫方法および装置
US20090313929A1 (en) Extrusion-molded product having a core material
CN110914086B (zh) 密封组件
TH70488A (th) กระบวนการสำหรับการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆของหน้าต่าง ส่วนปิดผนึกและแบบหล่อที่สามารถได้รับการนำมาใช้งานสำหรับกระบวนการดังกล่าว
TH53870B (th) กระบวนการสำหรับการหล่อขึ้นรูปแบบซ้ำๆของหน้าต่าง ส่วนปิดผนึกและแบบหล่อที่สามารถได้รับการนำมาใช้งานสำหรับกระบวนการดังกล่าว
US6273983B1 (en) Molding for vehicle and its manufacturing method
US20080067716A1 (en) Process for fabricating weatherseals
KR20210026816A (ko) 실링 부재
JP4784312B2 (ja) 複層ガラスパネルの製造方法および製造装置
KR20200114295A (ko) 창호 프레임용 이질 소재 단열 가스켓
JP3671282B2 (ja) 建材用気密部材の成形方法
JP2002219945A (ja) シールストリップ製造方法及び該方法により得られるシールストリップ
JPH10931A (ja) ウェザーストリップ
JPS6171248A (ja) シ−ル機能を有する自動車用ボデイ
JPH06218789A (ja) 自動車用ウエザストリツプの成形法
JPH07195434A (ja) 樹脂枠体付き板状体の製造方法および樹脂成形用金型
MXPA97007221A (en) Groove sealing board for door and vent
JP2003011204A (ja) ウェザーストリップとその製造方法