TH65713A - อุปกรณ์ควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้สำหรับการปรับการยกของลิ้นแก๊สเข้าออกของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน - Google Patents

อุปกรณ์ควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้สำหรับการปรับการยกของลิ้นแก๊สเข้าออกของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน

Info

Publication number
TH65713A
TH65713A TH401001120A TH0401001120A TH65713A TH 65713 A TH65713 A TH 65713A TH 401001120 A TH401001120 A TH 401001120A TH 0401001120 A TH0401001120 A TH 0401001120A TH 65713 A TH65713 A TH 65713A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
tongue
clause
eccentric shaft
actuator
unique
Prior art date
Application number
TH401001120A
Other languages
English (en)
Other versions
TH43363B (th
Inventor
บอสล์-เฟลียร์ล นางเกอร์ลินด์
ดร.รูดอล์ฟ เฟลียร์ล ศ.
ดร.วิลเฮล์ม ฮันนิบัล ศ.
จูเบลท์ นายไมเคิล
เน็คท์ นายอันเดรียส
วิลด์ นายอันเดรียส
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายรุทร นพคุณ
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายรุทร นพคุณ filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH65713A publication Critical patent/TH65713A/th
Publication of TH43363B publication Critical patent/TH43363B/th

Links

Abstract

DC60 (11/03/53) เพื่อผลิตอุปกรณ์ยกลิ้นแปรผันได้สำหรับการปรับการยกของลิ้นแก๊สเข้าออกของเครื่องยนต์ เผาไหม้ภายใน ซึ่งโดยอาศัยอุปกรณ์นี้ จะมีแรงปรับและแรงคงไว้ซึ่งไม่ขึ้นอยู่กับการที่ใช้แรงคงไว้ และแรงปรับดังกล่าวกระทำในเชิงกล, เชิงไฮดรอลิก หรือเชิงไฟฟ้า, มีการปรับของการยกลิ้นซึ่งมี ประสิทธิภาพการใช้ค่าใช้จ่ายมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และมีความแม่นสูงสุดของการปรับ หรือ การควบคุมของการยกลิ้นที่จะกระทำระหว่างกระบอกสูบแต่ละกระบอกสูบของเครื่องยนต์เผาไหม้ ภายในหลายสูบ และยิ่งกว่านั้น จะได้มาซึ่งความเป็นไปได้ในการปรับของการยกลิ้นของลิ้นของ เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน ที่มีหลายกระบอกสูบภายในความคลาดเคลื่อนยินยอมที่น้อยที่สุดได้แนะ นำว่าให้อุปกรณ์ยกลิ้น (1) มีเพลาเยื้องศูนย์ที่หมุนได้ (3) ซึ่งประกอบด้วยชิ้นเยื้องศูนย์หลายชิ้น (4, 5) และ ดังนั้น ส่วนขอบล้อมที่เป็นไปได้ทั้งหมดของชิ้นเยื้องศูนย์ (4, 5) จะได้รับการจัดตำแหน่งไว้ ภายในวงกลมซึ่งก่อรูปขึ้นมาโดยอาศัยส่วนรอบรูปภายนอกของรองลื่น (6, 7) ของเพลาเยื้องศูนย์ (3) เพื่อผลิตอุปกรณ์ยกลิ้นแปรผันได้สำหรับการปรับการยกของลิ้นแก๊สเข้าออกของเครื่องยนต์ เผาไหม้ภายใน ซึ่งโดยอาศัยอุปกรณ์นี้จะมีแรงปรับและแรงคงไว้ซึ่งไม่ขึ้นอยู่กับการที่ใช้แรงคงไว้และ แรงปรับดังกล่าวกระทำในเชิงกล, เชิงไฮดรอลิก หรือเชิงไฟฟ้า, มีการปรับของการยกลิ้นซึ่งมีประ สิทธิภาพการใช้ค่าใช้จ่ายมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และ มีความแม่นสูงสุดของการปรับ หรือการ ควบคุมของการยกลิ้นที่จะกระทำระหว่างกระบอกสูบแต่ละกระบอกสูบของเครื่องยนต์เผาไหม้ภาย ในหลายสูบ และ ยิ่งกว่านั้น จะได้มาซึ่งความเป็นไปได้ในการปรับของการยกลิ้นของลิ้นของเครื่อง ยนต์เผาไหม้ภายในที่มีหลายกระบอกสูบภายในความคลาดเคลื่อนยินยอมที่น้อยที่สุด ได้แนะนำว่าให้ อุปกรณ์ยกลิ้น (1) มีเพลาเยื้องศูนย์ที่หมุนได้ (3) ซึ่งประกอบด้วยชิ้นเยื้องศูนย์หลายชิ้น (4, 5) และ ดัง นั้น ส่วนขอบล้อมที่เป็นไปได้ทั้งหมดของชิ้นเยื้องศูนย์ (4, 5) จะได้รับการจัดตำแหน่งไว้ภายในวง กลมซึ่งก่อรูปขึ้นมา โดยอาศัยส่วนรอบรูปภายนอกของรองลื่น (6, 7) ของเพลาเยื้องศูนย์ (3)

Claims (9)

1. อุปกรณ์ยกลิ้นแปรผันได้สำหรับการปรับการยกของลิ้นแก๊สเข้าออกของเครื่องยนต์เผาไหม้ ภายในที่มีการจัด หนึ่งการจัด หรือการจัดสองการจัดของชิ้นส่วนดังที่ตามมานี้ : กระเดื่องกดลิ้นที่มีส่วนขอบโค้งทำงานซึ่งเคลื่อนที่ไปใน ก้านต่อเจาะร่องที่กระตุ้นโดยอาศัยเพลาลูก- เบี้ยว โดยที่จุด ศูนย์กลางของการหมุนของกระเดื่องกดลิ้นได้รับการกำหนดโดย อาศัยชิ้นเยื้องศูนย์เพื่อ การปรับการยกลิ้นของลิ้นแก๊สเข้าออก, วิถีทางสำหรับการกระตุ้นลิ้น และสปริงซึ่งกดกระเดื่องกด ลิ้น ประชิดกับลูกเบี้ยวของเพลาลูกเบี้ยว และสปริงซึ่งกด กระเดื่องกดลิ้นประชิดกับเพลาเยื้องศูนย์, มีลักษณะเฉพาะตรง ที่ว่าอุปกรณ์ยกลิ้น (1) แสดงว่ามีเพลาเยื้องศูนย์ที่หมุน ได้ (3) ซึ่งประกอบด้วยชิ้น เยื้องศูนย์หลายชิ้น (4, 5) และ ดัง นั้น ส่วนขอบล้อมที่เป็นไปได้ทั้งหมดของชิ้นเยื้อง ศูนย์ (4, 5) จะได้ รับการจัดตำแหน่งไว้ภายในวงกลมซึ่งก่อรูป ขึ้นมา โดยส่วนรอบรูปภายนอกของรองลื่น (6, 7) ของ เพลาเยื้องศูนย์ (3)
2. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 มีลักษณะเฉพาะตรงที่ ว่าเพลาเยื้องศูนย์ (3) นั้นสามารถ เสียบผ่านรูเจาะทะลุใน วัสดุของฝาสูบได้ และได้รับการประกอบเข้าที่อย่างโดยตรงในรู เจาะทะลุใน ฝาสูบ
3. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าเพลาเยื้องศูนย์ (3) นั้น สามารถติดตั้งได้ เป็นเพลาเยื้องศูนย์แบบเสียบได้ (3) จากผนังด้านหน้าผนัง หนึ่งของฝาสูบ
4. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าเพลาเยื้องศูนย์ (3) ได้รับ การประกอบเข้าที่ ในตัวเรือนแยกต่างหากซึ่งได้รับการเชื่อมต่อเข้ากับฝาสูบ
5. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 4 มีลักษณะเฉพาะตรงที่ ว่าเพลาลูกเบี้ยว (8) ได้รับการ ประกอบเข้าที่ภายในตัวเรือน
6. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 5 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าเพลาเยื้องศูนย์ (3), กระเดื่องกด ลิ้น (9,10), เพลาลูกเบี้ยว (8) และก้านต่อเจาะร่อง (11) ได้ ประกอบเข้าที่ในตัวเรือน เป็นชุดติดตั้งล่วงหน้า
7. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อ หนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าเพลาเยื้อง ศูนย์ (3) ได้รับ การประกอบเข้าที่ภายในฝาสูบโดยอาศัยรองลื่นแบบไม่เสียดทาน
8. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 7 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าส่วนขอบล้อม ของชิ้นเยื้องศูนย์ได้ รับการก่อรูปขึ้นมาเป็นส่วนขอบล้อมตามแต่ต้องการ โดยเฉพาะ เป็นวงกลม และ ได้รับการจำกัดขอบเขตโดยส่วนรอบรูปภายนอกของ รองลื่น (6, 7) ของเพลาเยื้องศูนย์ (3)
9. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าส่วนรอบรูป ใหญ่สุดของเพลาเยื้อง ศูนย์ (3) ได้รับการจัดให้มีไว้เป็นรองลื่นของเพลาเยื้อง ศูนย์ (3) โดยเฉพาะภาย ในฝาสูบ และ ได้รับการประกอบเข้าที่ โดยมีระยะทางสั้นที่สุดถึงจุดกดลิ้น และจุดปรับของกระเดื่อง กด ลิ้น (9, 10) 1
0. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 9 ข้อใดข้อ หนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าเพลาเยื้องศูนย์ (3) ได้รับ การจัดไว้อย่างขนานกันกับเพลาลูกเบี้ยว (8) 1
1. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อ หนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าเพลาเยื้อง ศูนย์ (3) เป็นแบบปรับได้ในเชิงไฮดรอลิก 1
2. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อ หนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าเพลาเยื้อง ศูนย์ (3) นั้นปรับ ได้โดยอาศัยเครื่องกลไฟฟ้าซึ่งจัดให้มีไว้โดยอยู่ตรงแนวกันกับ เพลาลูกเบี้ยว (7) หรือ กับเพลาเยื้องศูนย์ (3) 1
3. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 12 มีลักษณะเฉพาะตรง ที่ว่าแกนของเครื่องกลไฟฟ้าได้รับ การจัดไว้ให้ขนานกันกับ แกนของเพลาลูกเบี้ยว หรือขนานกันกับแกนของเพลาเยื้องศูนย์ 1
4. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 13 ข้อใดข้อ หนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าชิ้นเยื้องศูนย์ (4, 5) ในการ จัดที่มีลิ้นไอดี หรือลิ้นไอเสีย สองลิ้นหรือหลายลิ้น จะได้รับการจัดไว้อย่างเบี่ยงเบนกัน เป็นมุม อัลฟา เพื่อให้ส่งผลให้มีการยกลิ้นที่ต่างกันสำหรับลิ้น (2) ในตำแหน่งการหมุนของเพลาเยื้องศูนย์ (3) 1
5. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 14 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าได้จัดให้มี เพลาเยื้องศูนย์ (3) จำนวนหลายชิ้นไว้ในฝาสูบหนึ่งสำหรับการกระตุ้นลิ้นไอดี และลิ้นไอเสีย 1
6. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 15 มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าเพลาเยื้องศูนย์ (3) ของลิ้นไอดี หรือลิ้นไอเสียหลายลิ้นจะมีส่วนขอบล้อมของชิ้นเยื้องศูนย์ (4, 5) ที่ต่างกัน 1
7. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 16 มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าลิ้น (2) ของกระบอกสูบที่ติดกัน จะได้รับการกระตุ้นด้วยส่วนขอบล้อมของชิ้นเยื้องศูนย์ที่ต่างกันโดยอาศัยกระเดื่องกดลิ้น (9, 10) 1
8. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าส่วนขอบ ล้อมของเพลาลูกเบี้ยวสำหรับลิ้น (2) ซึ่งเป็นของกระบอกสูบหนึ่งจะได้รับการก่อรูปขึ้นมาอย่างต่าง กัน 1
9. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 18 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าส่วนขอบ ล้อมทำงานของกระเดื่องกดลิ้น (9, 10) ซึ่งสัมผัสกับเพลาเยื้องศูนย์ (3) จะให้การก่อรูประนาบ แบนราบ 2
0. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 18 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าส่วนขอบ ล้อมทำงานของกระเดื่องกดลิ้น (9, 10) ซึ่งสัมผัสกับเพลาเยื้องศูนย์ (3) จะให้การก่อรูประนาบโค้งเว้า หรือโค้งนูน 2
1. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 20 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าชิ้นเยื้องศูนย์ (4, 5) จะสัมผัสกับลูกกลิ้งประกอบเข้าที่ของกระเดื่องกดลิ้น (9, 10) 2
2. อุปกรณ์ยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 21 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าส่วนขอบ ล้อมทำงาน (12) ของกระเดื่องกดลิ้น (9) ได้รับการก่อรูปขึ้นมาอย่างแตกต่างไปจากส่วนขอบล้อม ทำงาน (13) ของกระเดื่องกดลิ้นที่สอง (10) ซึ่งเชื่อมต่อกันอย่างโดยตรงโดยอาศัยแกน (14) 2
3. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ที่มีการควบคุมลิ้นแปรผันได้สำหรับการปรับ การยกของลิ้นแก๊สเข้าออกของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายในด้วยเพลาเยื้องศูนย์ที่หมุนได้ซึ่งได้รับการ ประกอบเข้าที่ภายในฝาสูบสำหรับการปรับการยกลิ้นของลิ้นแก๊สเข้าออก, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่า ตัวกระตุ้นที่ก่อรูปขึ้นมาอย่างใช้สับเปลี่ยนได้และอย่างต่างกัน (101) ซึ่งจัดไว้ในตัวเรื่อน (102) จะได้ รับการจัดไว้ทางด้านก้น ณ เพลาเยื้องศูนย์ (108) ซึ่งได้รับการประกอบเข้าที่ในฝาสูบ สำหรับการเบี่ยง เบนไปของเพลานี้ และ ได้รับการติดตั้งโดยอาศัยชิ้นส่วนติดตั้ง (103 , 104) ซึ่งจัดให้มีอยู่ที่ตัวเรือน (102) ณ ฝาสูบ, ดังนั้น โดยอาศัยชิ้นส่วนเชื่อมต่อที่จัดให้มีอยู่บนเพลาเยื้องศูนย์ (108) การส่งต่อการ เคลื่อนที่ของตัวกระตุ้นไปเป็นการเคลื่อนที่แบบหมุนของเพลาเยื้องศูนย์ (108) จะบังเกิดขึ้นมา และ ดังนั้น โดยอาศัยการสับเปลี่ยนตัวกระตุ้น (101) ต่าง ๆ สำหรับชิ้นส่วนเชื่อมต่อสำหรับเพลาเยื้องศูนย์ (108) จะสามารถดำเนินการการสลับเปลี่ยนจากการปรับการยกลิ้นแปรผันได้แบบไม่เป็นขั้นไปเป็น การเปลี่ยนแปลงแบบเป็นขั้นของการยกลิ้นได้โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่ฝาสูบ 2
4. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 มีลักษณะเฉพาะตรงที่ ว่าชิ้นส่วนเชื่อมต่อได้รับการจัดให้มีไว้เป็นส่วนประกอบอิสระ หรือส่วนประกอบสร้างของเพลาเยื้อง ศูนย์ (108) โดยที่ชิ้นส่วนเชื่อมต่ออิสระนั้นเป็นแบบสับเปลี่ยนได้พร้อมกับตัวกระตุ้น (101) 2
5. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 และ 24 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าตัวกระตุ้น (101) ได้รับการก่อรูปขึ้นมาเป็นเครื่องกลไฟฟ้าซึ่งได้รับการจัดไว้ ภายในตัวเรือน (102) ซึ่งกระทำโดยตรงบนเพลาเยื้องศูนย์ (108) 2
6. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 และ 24 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าตัวกระตุ้น (101) ได้รับการก่อรูปขึ้นมาเป็นแม่เหล็กยก 2
7. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 และ 24 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะเฉพาะพตรงที่ว่าตัวกระตุ้น (101) ได้รับการก่อรูปขึ้นมาเป็นชิ้นส่วนปรับไฮดรอลิก 2
8. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ถึง 26 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าเครื่องกลไฟฟ้าหรือแม่เหล็กยกได้รับการจัดให้มีไว้ในกล่องดำ ซึ่ง ณ ผนังด้าน หน้าของกล่องนี้ ณ ตัวเรือน (102) ชิ้นส่วนติดตั้ง (103, 104) สำหรับการติดตั้ง ณ ฝาสูบจะได้รับการ จัดให้มีไว้ โดยที่ได้รับการจัดไว้อย่างตรงกันข้ามกัน 2
9. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ถึง 28 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าในการสลับเปลี่ยนจากการปรับการยกลิ้นแปรผันได้แบบได้เป็นขั้นไปเป็นการ เปลี่ยนแปลงแบบเป็นขั้นของการยกลิ้น เพลาเยื้องศญูนย์ (108) จะเป็นชิ้นเดิม 3
0. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ถึง 29 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าสำหรับการสลับเปลี่ยนจากการปรับการยกลิ้นแปรผันได้แบบไม่เป็นขั้นไป เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นขั้นของการยกลิ้น เพลาเยื้องศูนย์ (108) จะสามารถสับเปลี่ยนอย่างเป็น ชุดมอดูลได้ 3
1. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ถึง 30 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าสำหรับการสลับเปลี่ยนจากการปรับการยกลิ้นแปรผันได้แบบไม้เป็นขั้นไป เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นขั้นของการยกลิ้น ชิ้นส่วนเชื่อมต่อที่สอดคล้องกันซึ่งก่อรูปเป็นคลัตซ์ (107) จะสามารถสับเปลี่ยนได้ 3
2. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ถึง 31 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าตัวกระตุ้น (101) ได้รับการเชื่อมต่อเข้ากับเพลาเยื้องศูนย์ (108) บนผนังด้าน หน้า หรือด้านหลังของฝาสูบ อย่างใดอย่างหนึ่ง 3
3. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ถึง 32 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าสำหรับรูปลักษณะต่าง ๆ ตัวกระตุ้น (101) ไม่ได้รับการจัดตรงแนวอย่างโดย ตรงกับเพลาเยื้องศูนย์ (108) แต่กล่องเฟืองกลางจะได้รับการจัดให้มีอยู่ระหว่างตัวกระตุ้น (101) และ เพลาเยื้องศูนย์ (108) 3
4. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ถึง 33 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าการสลับเปลี่ยนของลิ้นแก๊สเข้าออก (111, 112) จากการปรับการยกลิ้นแปรผัน ได้แบบไม่เป็นขั้นไปเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นขั้นของการยกลิ้นสำหรับลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียซึ่ง กระทำโดยอาศัยการสับเปลี่ยนตัวกระตุ้น (101) จะได้รับการจัดให้มีขึ้นมาในลักษณะที่ ณ ทางด้าน ของลิ้นทั้งสอง จะจัดให้มีการเปลี่ยนแปลงแปรผันได้เต็มที่หรือแบบเป็นขั้น หรือทางด้านของลิ้นลิ้น หนึ่ง จะจัดให้มีการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นขั้น และทางด้านของลิ้นอีกลิ้นหนึ่ง จะจัดให้มีการเปลี่ยน แปลงแปรผันได้เต็มที่ สำหรับการยกลิ้นสำหรับลิ้นแก๊สเข้าออก (111, 112) 3
5. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ถึง 24 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าการปรับการยกลิ้นแปรผันได้แบบไม่เป็นขั้นจะได้รับการตรวจหาโดยตัวรับรู้ ซึ่งได้รับการจัดให้มีอยู่ ณ ฝาสูบ สำหรับการป้อนกลับตำแหน่งของการยกลิ้นของลิ้นแก๊สเข้าออก (111, 112) 3
6. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 และ 27 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าตัวกระตุ้น (101) ซึ่งจัดให้มีไว้สำหรับลิ้นแก๊สเข้าออก (111, 112) ณ ด้านลิ้นไอ ดี และด้านลิ้นไดเสียพร้อมด้วยชิ้นส่วนปรับไฮดรอลิก จะมีโรเตอร์ (115) ซึ่งจะอยู่ในตำแหน่งสับ เปลี่ยนต่างๆ 3
7. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23, 27 และ36 ข้อใดข้อ หนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าตัวกระตุ้น (101) ที่มีชิ้นส่วนปรับไฮดรอลิกได้รับการก่อรูปขึ้นมาจาก พลาสติก โดยที่โรเตอร์ (115) ของตัวกระตุ้นมีปีกโรเตอร์ (116) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้น 3
8. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 23, 27, 36 และ37 ข้อใด ข้อหนึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าตัวกระตุ้น (101) ที่มีชิ้นส่วนปรับไฮดรอลิกได้รับการป้อนด้วยความ ดันน้ำมันไฮดรอลิกจากการไหลเวียนโดยเครื่องยนต์ 3
9. เทคโนโลยีตัวกระตุ้นสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ตามข้อถือสิทธิข้อ 38 มีลักษณะเฉพาะตรงที่ ว่าลิ้นควบคุมทิศทาง (122, 126, 127) สำหรับการกระตุ้นของตัวกระตุ้น (101) ที่มีชิ้นส่วนปรับ ไฮดรอลิก จะได้รับการจัดตำแหน่งไว้ภายในตัวกระตุ้น (101) โดยที่ควรร่วมแกนกลางกันกับแกน กลางของตัวกระตุ้น (118) 4
0. อุปกรณ์สำหรับการควบคุมหรือการปรับลิ้นแปรผันได้ โดยเฉพาะลิ้นแก๊สเข้าออกของเครื่อง ยนต์เผาไหม้ภายใน ที่มีอุปกรณ์ปรับเพลาลูกเบี้ยว (230), เพลาเยื้องศูนย์ (208) ที่หมุนได้ซึ่งควร ประกอบเข้าที่ไว้ภายในฝาสูบ ที่มีส่วนขอบล้อมลูกเบี้บว (209, 210) สำหรับลิ้นแก๊สเข้าออก (211, 212) เพื่อการควบคุมหรือการปรับการยกลิ้นของลิ้นแก๊สเข้าออก (211, 212) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งลิ้น รวมทั้ง ตัวกระตุ้น (201) หนึ่งชิ้นที่จัดให้มีไว้สำหรับการเบี่ยงเบนไปของเพลาเยื้องศูนย์ (208) ที่ก้น ของเพลาเยื้องศูนย์ 4
1. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ที่ซึ่งอุปกรณ์ปรับเพลาลูกเบี้ยว (230) ทำงานโดยสอดคล้องตาม หลักการของเซลล์ปีก หรือทำงานโดยอาศัยลูกสูบซึ่งสามารถเลื่อนได้ตามแนวแกนบนปลายมีฟัน เฟืองดอกจอก 4
2. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 หรือ 41 ที่ซึ่งการปรับเพลาลูกเบี้ยวจะได้รับการกระทำโดย อาศัยอุปกรณ์ปรับเพลาลูกเบี้ยว (230) อย่างเป็นขั้น หรือไม่เป็นขั้น 4
3. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 42 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัวกระตุ้นได้รับการจัดไว้ในตัวเรือน (202) และได้รับการติดตั้งอย่างสับเปลี่ยนได้ ณ ฝาสูบโดยอาศัยชิ้นส่วนติดตั้ง (203, 204) ซึ่งจัดให้มี อยู่ที่ตัวเรือน (202) 4
4. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 43 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งโดยอาศัยชิ้นส่วนเชื่อมต่อซึ่งจัดให้มี อยู่ระหว่างเพลาเยื้องศูนย์ (208) และตัวกระตุ้น (201) การส่งต่อของการเคลื่อนที่ของตัวกระตุ้นไป เป็นการเคลื่อนที่แบบหมุนของเพลาเยื้องศูนย์ (208) จะเกิดขึ้นมา 4
5. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 44 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งโดยอาศัยการสับเปลี่ยนตัวกระตุ้น (201) ต่าง ๆ ซึ่งควรเป็นพร้อมด้วยชิ้นส่วนเชื่อมต่อ จะสามารถกระทำการสลับเปลี่ยนจากการปรับการ ยกลิ้นแปรผันได้แบบไม่เป็นขั้นไปเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นขั้นของการยกลิ้นโดยไม่เปลี่ยน แปลงที่ฝาสูบได้ 4
6. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 45 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัวกระตุ้นสำหรับการปรับการยกลิ้น แปรผันได้แบบไม่เป็นขั้น หรือตัวกระตุ้นสำหรับการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นขั้นของการยกลิ้น หรือตัว กระตุ้นสำหรับการเปลี่ยนแปลงแปรผันได้แบบไม่เป็นขั้นและแบบเป็นขั้นของ 4
7. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 46 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งชิ้นส่วนเชื่อมต่อได้รับการจัดให้มีไว้ เป็นส่วนประกอบอิสระ หรือส่วนประกอบสร้างของเพลาเยื้องศูนย์ (208) โดยที่ชิ้นส่วนเชื่อมต่อ อิสระนั้นเป็นแบบสับเปลี่ยนได้พร้อมกับตัวกระตุ้น (201) 4
8. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 47 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง ตัวกระตุ้น (201) ได้รับการก่อรูปขึ้น มาเป็นเครื่องกลไฟฟ้า ซึ่งได้รับการจัดไว้ภายในตัวเรือน (202) ซึ่งกระทำโดยตรงบนเพลาเยื่องศูนย์ (208) 4
9. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 48 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง ตัวกระตุ้น (201) ได้รับการก่อรูปขึ้น มาเป็นแม่เหล็กยก หรือชิ้นส่วนปรับไฮดรอลิก 5
0. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 49 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งเครื่องกลไฟฟ้าหรือแม่เหล็กยกได้รับ การจัดให้มีไว้ในกล่องดำ ซึ่ง ณ ผนังด้านหน้าของกล่องนี้ ณ ตัวเรือน (202) ชิ้นส่วนติดตั้ง (203, 204) สำหรับการติดตั้ง ณ ฝาสูบจะได้รับการจัดให้มีไว้ โดยที่ได้รับการจัดไว้อย่างตรงกันข้ามกัน 5
1. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 50 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งในการสลับเปลี่ยนจากการปรับการ ยกลิ้นแปรผันได้แบบไม่เป็นขั้นไปเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นขั้นของการยกลิ้น เพลาเยื้องศูนย์ (208) จะสามารถสับเปลี่ยนอย่างเป็นชุดมอดูลได้ 5
2. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 51 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งในการสลับเปลี่ยนจากการปรับการ ยกลิ้นแปรผันได้แบบไม่เป็นขั้นไปเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นขั้นของการยกลิ้น เพลาเยื้องศูนย์ (208) จะเป็นชิ้นเดิม 5
3. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 52 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งในการสลับเปลี่ยนจากการปรับการ ยกลิ้นแปรผันได้แบบไม่เป็นขั้นไปเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นขั้นของการยกลิ้น คลัตช์ (207) ที่ สอดคล้องกันจะสามารถสับเปลี่ยนได้ 5
4. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 53 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัวกระตุ้น (201) ได้รับการเชื่อมต่อ เข้ากับเพลาเยื้องศูนย์ (208) บนผนังด้านหน้า หรือด้านหลังของฝาสูบ อย่างใดอย่งหนึ่ง 5
5. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 51 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งในรูปลักษณะต่างๆ ตัวกระตุ้น (201) ไม่ได้รับการจัดตรงแนวอย่างโดยตรงกับเพลาเยื้องศูนย์ (208) แต่อย่างไรก็ตาม กล่องเฟืองกลางจะได้ รับการจัดให้มีอยู่ระหว่างตัวกระตุ้น (201) และเพลาเยื้องศูนย์ (208) 5
6. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 55 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งการสลับเปลี่ยนของลิ้นแก๊สเข้าออก (211, 212) จากการปรับการยกลิ้นแปรผันได้แบบไม่เป็นขั้นไปเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นขั้นของ การยกลิ้นสำหรับลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียซึ่งกระทำโดยอาศัยการสับเปลี่ยนตัวกระตุ้น (201) จะได้รับ การจัดให้มีขึ้นมาในลักษณะที่ ณ ทางด้านของลิ้นทั้งสอง จะจัดให้มีการเปลี่ยนแปลงแปรผันได้เต็มที่, แปรผันได้เต็มที่บางส่วน, แบบเป็นขั้น หรือทางด้านของลิ้นทั้งสอง จะจัดให้มีการเปลี่ยนแปลงแบบ เป็นขั้น สำหรับการยกลิ้นสำหรับลิ้นแก๊สเข้าออก (211, 212) อย่างตามลำดับ 5
7. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 56 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งการปรับการยกลิ้นแปรผันได้แบบไม่ เป็นขั้นจะได้รับการวัดโดยอาศัยตัวรับรู้ ซึ่งได้รับการจัดให้มีอยู่ ณ ฝาสูบ โดยมีการป้อนกลับตำแหน่ง ของการยกลิ้นของลิ้นแก๊สเข้าออก (211, 212) 5
8. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 57 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัวกระตุ้น (201) ซึ่งจัดให้มีไว้สำหรับ ลิ้นแก๊สเข้าออก (211, 212) ณ ด้านลิ้นไอดี และด้านลิ้นไอเสียพร้อมด้วยชิ้นส่วนปรับไฮดรอลิก จะมี โรเตอร์ (215) ซึ่งจะอยู่ในตำแหน่งสับเปลี่ยนต่างๆ 5
9. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 58 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัวกระตุ้น (201) ที่มีชิ้นส่วนปรับ ไฮดรอลิกได้รับการก่อรูปขึ้นมาจากพลาสติก โดยที่โรเตอร์ (215) ของตัวกระตุ้นมีปีกโรเตอร์ (216) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้น 6
0. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 59 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งตัวกระตุ้น (201) ที่มีชิ้นส่วนปรับ ไฮดรอลิกได้รับการป้อนด้วยความดันน้ำมันไฮดรอลิกจากการไหลเวียนโดยเครื่องยนต์ 6
1. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 60 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งลิ้นควบคุมทิศทาง (222, 226, 227) สำหรับการกระตุ้นของตัวกระตุ้น (201) ที่มีชิ้นส่วนปรับไฮดรอลิก จะได้รับการจัดตำแหน่งไว้ภายใน ตัวกระตุ้น (201) โดยที่ควรร่วมแกนกลางกันกับแกนกลางของตัวกระตุ้น (218) 6
2. เครื่องยนต์เผาไหม้ภายในซึ่งมีอุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 61 ข้อใดข้อหนึ่ง อย่างน้อยที่ สุดหนึ่งอุปกรณ์ 6
3. เครื่องยนต์เผาไหม้ภายในตามข้อถือสิทธิข้อ 62 ที่มีเพลาลูกเบี้ยวสองเพลาหรือมากกว่านั้น ซึ่งที่เพลาลูกเบี้ยวอย่างน้อยที่สุดหนึ่งเพลามีอุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 61 ข้อใดข้อหนึ่ง และที่ เพลาลูกเบี้ยวเพลาต่อไปมีอุปกรณ์ปรับลูกเบี้ยวแบบเป็นขั้นหรือไม่เป็นขั้นเท่านั้น 6
4. เครื่องยนต์เผาไหม้ภายในตามข้อถือสิทธิข้อ 62 หรือ 63 ที่มีเพลาลูกเบี้ยวสองเพลาหรือมาก กว่านั้น ซึ่งที่เพลาลูกเบี้ยวแต่ละเพลามีอุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 61 ข้อใดข้อหนึ่ง 6
5. อุปกรณ์ (310) สำหรับการปรับการยกลิ้นแปรผันได้ โดยเฉพาะสำหรับลิ้นแก๊สเข้าออก (312, 314) ของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายในที่มีการจัดหนึ่งการจัดหรือการจัดหลายการจัดของชิ้นส่วนดังที่ ตามมานี้: กระเดื่องกดลิ้น (332, 334) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้นที่เคลื่อนที่ไปในก้านต่อเจาะร่อง (338) ที่ได้รับการ กระตุ้นโดยอาศัยเพลาลูกเบี้ยว (336), วิถีทางสำหรับการกระตุ้นลิ้น (350, 352) ซึ่งได้รับการทำให้ประสานกับกระเดื่องกดลิ้น (332, 334), สปริง (360) ซึ่งกดกระเดื่องกดลิ้น (332, 334) ประชิดกับเพลาลูกเบี้ยว (336), และ เพลาเยื้องศูนย์แบบหลายส่วน (316) สำหรับการปรับการยกลิ้น ซึ่งมีชิ้นเยื้องศูนย์หนึ่งชิ้นหรือหลาย ชิ้น (322, 324) 6
6. อุปกรณ์ (310) ตามข้อถือสิทธิข้อ 65 ซึ่งแสดงว่าระหว่างเพลาลูกเบี้ยว (336) และกระเดื่องกด ลิ้น (332, 334) มีก้านดัน, กระเดื่องกลาง รวมทั้งสิ้นส่วนปรับ 6
7. อุปกรณ์ (310) ตามข้อถือสิทธิข้อ 65 หรือ 66 ที่ซึ่งเพลาเยื้องศูนย์ (316) แสดงว่ามีโครงสร้าง แบบร่วมแกนกลางกันกับชิ้นเยื้องศูนย์ (322, 324) สำหรับลิ้นแก๊สเข้าออก (312, 314) 6
8. อุปกรณ์ (310) ตามข้อถือสิทธิข้อ 65 ถึง 67 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่ง ส่วนของเพลาเยื้องศูนย์ (318, 320) แต่ละส่วนซึ่งสามารถได้รับการปรับได้อย่างเฉพาะส่วน และอย่างเป็นอิสระจากส่วนของเพลา เยื้องศูนย์ (318, 320) ส่วนอื่น จะมีชิ้นเยื้องศูนย์ (322, 324) 6
9. อุปกรณ์ (310) ตามข้อถือสิทธิข้อ 65 ถึง 68 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งรูปร่างของชิ้นเยื้องศูนย์ (322, 324) เหมือนกัน หรือต่างกัน 7
0. อุปกรณ์ (310) ตามข้อถือสิทธิข้อ 65 ถึง 69 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งส่วนของเพลาเยื้องศูนย์ (318, 320) ของเพลาเยื้องศูนย์ (316) นั้นสามารถปรับได้โดยอาศัยตัวกระตุ้น (340) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้น 7
1. อุปกรณ์ (310) ตามข้อถือสิทธิข้อ 65 ถึง 70 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งในการใช้งานกับฝาสูบสำหรับ การกระตุ้นลิ้นไอดี และลิ้นไอเสีย จะจัดให้มีเพลาเยื้องศูนย์ (316) ไว้จำนวนหลายชิ้น 7
2. อุปกรณ์ (310) ตามข้อถือสิทธิข้อ 65 ถึง 71 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งสำหรับลิ้นแก๊สเข้าออก (312, 314) ของกระบอกสูบที่ติดกัน จะจัดให้มีชิ้นเยื้องศูนย์ (322, 324) ในรูปแบบที่ต่างกัน 7
3. กรรมวิธีสำหรับการปรับลิ้นแปรผันได้ โดยเฉพาะสำหรับลิ้นแก๊สเข้าออก (321, 314) ของ เครื่องยนต์เผาไหม้ภายในโดยการใช้อุปกรณ์ (310) ตามข้อถือสิทธิข้อ 65 ถึง 72 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง ชิ้นเยื้องศูนย์ (322, 324) เฉพาะชิ้นแต่ละชิ้นสามารถได้รับการปรับได้อย่างเฉพาะชิ้น และอย่างเป็น อิสระจากชิ้นเยื้องศูนย์ (322, 324) อื่น ของเพลาเยื้องศูนย์ (316) 7
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 73 ที่ซึ่งส่วนของเพลาเยื้องศูนย์ (318, 320) เฉพาะส่วนของเพลา เยื้องศูนย์ (316) ได้รับการปรับด้วยชิ้นเยื้องศูนย์ (322, 324) ที่สอดคล้องกัน โดยอาศัยตัวกระตุ้นหนึ่ง ชิ้นหรือหลายชิ้น 7
5. เครื่องยนต์เผาไหม้ภายในซึ่งมีอุปกรณ์ (310) ตามข้อถือสิทธิข้อ 65 ถึง 72 ข้อใดข้อหนึ่ง อย่าง น้อยที่สุดหนึ่งอุปกรณ์ 7
6. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้สำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ที่มีเพลาลูกเบี้ยวแบบวางข้างใต้ สำหรับการปรับการยกลิ้น และเวลาเปิดของลิ้นไอดี และ/หรือ ลิ้นไอเสีย อย่างน้อยที่สุดหนึ่งลิ้นโดย ขึ้นอยู่กับโหลด และโดยขึ้นอยู่กับอัตราเร็วการหมุน รวมทั้งสำหรับการหยุดการทำงานของกระบอก- สูบเฉพาะกระบอกสูบของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน โดยที่กระเดื่องกดลิ้น หรือแขนแกว่งซึ่งได้รับ การขับโดยอาศัยลูกเบี้ยวของเพลาลูกเบี้ยว จะกระตุ้นลิ้นไอดี และลิ้นไอเสียโดยอาศัยการประสานเข้า ในกระเดื่องกดลิ้น หรือแขนแกว่งชิ้นต่อไป, มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่า เพลาลูกเบี้ยวแบบวางข้างใต้ (401) โดยอาศัยก้านดัน (403) โดยอาศัยชิ้นส่วนปรับระยะห่างลิ้น ไฮดรอลิก (402) จะขับกระเดื่องกด ลิ้น (404) ที่มีส่วนขอบล้อมที่โค้ง (414) ซึ่งเคลื่อนที่ไปบนลูกกลิ้ง (413) ของกระเดื่องกลาง (409) ซึ่ง สามารถเคลื่อนที่ได้โดยอาศัยลูกกลิ้ง (415) สองลูกกลิ้งซึ่งได้รับการจัดไว้บนแกนหนึ่งแกนในก้านต่อ เจาะร่อง (410) ซึ่งได้รับการเชื่อมต่อในลักษณะตรึงตายตัวกับฝาสูบ, ด้วยเหตุนี้ กระเดื่องกลาง (409) จะค้ำรับแท่งปรับ (411) ซึ่งได้รับการบังคับนำภายในตัวเรือน ด้วยส่วนขอบล้อม และกลิ้งด้วยส่วน ขอบโค้งทำงาน (416) บนลูกกลิ้ง (408) ของตัวตามลูกเบี้ยว (407) และ ด้วยเหตุนี้ ตัวตามลูกเบี้ยว (407) จะกระทำด้วยพื้นที่การประสานซึ่งได้รับการจัดให้มีไว้ที่ด้านก้นอย่างตามลำดับ บนชิ้นส่วน ปรับไฮดรอลิก (406) และลิ้น (405) ของเครื่องยนต์เผาไหม้ 7
7. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าโดยอาศัย การเลื่อนของแท่งปรับ (411) จะมีการปรับบริเวณของส่วนขอบโค้งทำงาน (416) ของกระเดื่องกลาง (409) ซึ่งได้รับการกระทำด้วยลูกกลิ้ง (408) ของตัวตามลูกเบี้ยว (407) ในการหมุนของเพลาลูกเบี้ยว (401) 7
8. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 และ 77 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าส่วนขอบโค้งทำงาน (416) ของกระเดื่องกลาง (409) ได้รับการสร้างขึ้นมาจากบริเวณ เฉพาะบริเวณหลายบริเวณซึ่งเชื่อมต่อกันโดยอาศัยรัศมีช่วงเปลี่ยน 7
9. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 78 มีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่าบริเวณ เฉพาะบริเวณได้รับการสร้างขึ้นมาในลักษณะที่ว่าบริเวณที่หนึ่งจะกำหนดการยกเป็นศูนย์ ซึ่งได้รับ การกำหนดขอบเขตโดยอาศัยส่วนโค้งของวงกลมรอบจุดศูนย์กลางของลูกกลิ้ง (413) โดยที่ต่อตามมา จากบริเวณนี้คือบริเวณที่สองซึ่งกำหนดขอบเขตตอนโค้งการเปิด และที่ต่อตามมาจากบริเวณนี้คือ บริเวณยกบางส่วน และบริเวณยกเต็มส่วน 8
0. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 78 และ 79 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าสไพน์ได้รับการวางลงบนบริเวณของส่วนขอบโค้ง (416) ทั้งหมด เพื่อการเชื่อมต่อ บริเวณของส่วนขอบโค้งเข้าด้วยกันโดยไม่ทำให้มีการกระตุก 8
1. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 80 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าโดยอาศัยส่วนนูนของเพลาลูกเบี้ยว (401), โดยอาศัยส่วนขอบล้อมที่โค้ง (414) ของ กระเดื่องกดลิ้น (404) และโดยอาศัยส่วนขอบโค้งทำงาน (416) ของกระเดื่องกลาง (409) จะสามารถ กำหนดลักษณะสมบัติการเปิดของลิ้นได้ 8
2. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 81 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าส่วนขอบโค้งทำงาน (416) ได้รับการจัดไว้บนตัวตามลูกเบี้ยว (407) และ ลูกกลิ้ง (408) เป็นส่วนประกอบสร้างของกระเดื่องกลาง (409) 8
3. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 82 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่ากระเดื่องกดลิ้น (404) มีลูกกลิ้งเพิ่มเติม (412) ซึ่งเชื่อมต่อโดยตรงกับลูกกลิ้ง (413) ของ กระเดื่องกลาง (409) ซึ่งเคลื่อนที่ไป ณ ก้านต่อเจาะร่อง (410) ของกระเดื่องกดลิ้น (404) 8
4. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 83 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่ากระเดื่องกลาง (409) ได้รับการบังคับนำตามแนวแกนโดนอาศัยสปริงขา (417) หรือ โดยอาศัยก้านต่อเจาะร่อง (410) ที่มีแนวทางขวาง (421) 8
5. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 84 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่ากระเดื่องกลาง (409) จะค้ำรับแท่งปรับ (411) ด้วยส่วนขอบล้อมวงกลม (419) 8
6. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 84 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่ากระเดื่องกลาง (409) จะค้ำรับด้วยส่วนขอบล้อมวงกลม (419) บนลูกกลิ้งซึ่งได้รับการ ประกอบเข้าที่ในรองลื่นแบบเสียดทาน หรือรองลื่นแบบไม่เสียดทาน 8
7. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 86 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าแท่งปรับ (411) มีส่วนขอบล้อมสัมผัส (420) ซึ่งอย่างโดยเฉพาะมีรูปร่างเป็นส่วนโค้ง ของวงกลม, รูปโค้งเว้า, เนินลาดยกขึ้น และเนินเอียงลาด 8
8. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 87 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าสำหรับเครื่องยนต์เผาไหม้ภายในที่มีลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียหลายลิ้น การควบคุมของ ลิ้นด้วยการยกลิ้นต่างๆ และผนวกเข้าด้วยเวลาเปิดต่างๆ จะบังเกิดขึ้นมาโดยอาศัยแท่งปรับ (411) หลายแท่ง ซึ่งสามารถปรับได้โดยอาศัยตัวกระตุ้นเฉพาะชิ้น และ ด้วยเหตุนี้ ค่ากำหนดตั้งที่สอดคล้อง กันจะได้รับการคำนวณออกมาโดยอาศัยลักษณะสมบัติเครื่องแบบควบคุมด้วยกรรมวิธี หรือโดยแบบ จำลองแบบควบคุมด้วยโปรแกรม 8
9. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 88 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าสำหรับเครื่องยนต์ออตโตและเครื่องยนต์ดีเซล โดยอาศัยการควบคุมเฉพาะการควบคุม ของการยกลิ้นโดยเฉพาะของลิ้นไอดีทั้งสองลิ้น จะสามารถปรับการบิดของการไหลเข้ากระบอกสูบได้ 9
0. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 89 ข้อใดข้อหนึ่ง มี ลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าได้ตัดชิ้นส่วนปรับ (406) ออกไป 9
1. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 89 ข้อใดข้อหนึ่ง มี ลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าไม่ได้จัดให้มีชิ้นส่วนปรับระยะห่างลิ้น (402) 9
2. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 86 ข้อใดข้อหนึ่ง มี ลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่ากระเดื่องกลาง (409) ได้รับการก่อรูปขึ้นมาจากอะลูมินัม หรือจากโลหะผสม ไทเทเนียม 9
3. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 92 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าลูกกลิ้ง (408, 412, 413, 415) ได้รับการประกอบเข้าที่ในรองลื่นแบบไม่เสียดทาน 9
4. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 92 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าลูกกลิ้ง (408, 412, 413, 415) ได้รับการประกอบเข้าที่ในรองลื่นแบบไม่เสียดทาน หรือ รองลื่นแบบเสียดทาน 9
5. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 94 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่ากระเดื่องกดลิ้น (404) ได้รับการประกอบเข้าที่ในรองลื่นแบบไม่เสียดทาน หรือรองลื่น แบบเสียดทาน 9
6. ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 95 ข้อใดข้อหนึ่ง มีลักษณะ เฉพาะตรงที่ว่าไม่ได้จัดให้มีชิ้นส่วนปรับ (402, 406) ดังนั้น ระยะห่างของลิ้นจึงเป็นแบบสามารถปรับ ได้ในเชิงกล ณ กระเดื่องกดลิ้น (404) 9
7. กระเดื่องกดลิ้น (500) สำหรับใช้ในอุปกรณ์ หรือระบบควบคุมการยกลิ้นตามข้อถือสิทธิข้อ ก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ที่มีส่วนขอบล้อมตามการกำหนด (520), ส่วนขอบโค้งทำงาน (510) และลูก กลิ้งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งลูกกลิ้ง 9
8. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 22 ข้อใดข้อหนึ่ง และ/หรือ ข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 61 ข้อใดข้อ หนึ่ง และ/หรือ ข้อถือสิทธิข้อ 65 ถึง 72 ข้อใดข้อหนึ่ง และ/หรือ ระบบควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้ ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 96 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่มีเทคโนโลยีตัวกระตุ้นตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ถึง 39 ข้อใด ข้อหนึ่ง 9
9. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 65 ถึง 72 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่มีอุปกรณ์ปรับเพลาลูกเบี้ยว (320) ตาม ข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 61 ข้อใดข้อหนึ่ง 10
0. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 22 ข้อใดข้อหนึ่ง และ/หรือ ข้อถือสิทธิข้อ 40 ถึง 61 ข้อใดข้อ หนึ่ง และ/หรือ ข้อถือสิทธิข้อ 65 ถึง 72 ข้อใดข้อหนึ่ง และ/หรือ ข้อถือสิทธิข้อ 99 ที่มีเพลาลูกเบี้ยว แบบวางข้างใต้ (401) ตามข้อถือสิทธิข้อ 76 ถึง 96 ข้อใดข้อหนึ่ง
TH401001120A 2004-03-29 อุปกรณ์ควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้สำหรับการปรับการยกของลิ้นแก๊สเข้าออกของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน TH43363B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH65713A true TH65713A (th) 2004-12-20
TH43363B TH43363B (th) 2015-03-26

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
KR101111279B1 (ko) 내연 기관의 가스 교환 밸브의 리프트 조절용 가변 밸브 리프트 장치
KR101326818B1 (ko) 연속 가변 밸브 듀레이션 장치
JP3946426B2 (ja) 内燃機関の可変動弁装置
EP1101017B1 (en) Desmodromic cam driven variable valve timing mechanism
CA1074197A (en) Valve timing mechanisms
JP3325567B2 (ja) カム軸と駆動部材との間の回転角度位置を調節するための調節装置
EP1801368B1 (en) Variable valve operating mechanism
CN103168154A (zh) 可机械控制的气门机构和可机械控制的气门机构配置
CN104271902A (zh) 机械式可控的气门传动装置、内燃机以及用于运行内燃机的方法
KR101098170B1 (ko) 내연 기관의 가스 교환 밸브를 가변적으로 작동시키기 위한 장치
EP1164258A3 (en) Valve driving apparatus for engine
CN101705851A (zh) 机械式连续可变气门升程驱动装置
TH65713A (th) อุปกรณ์ควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้สำหรับการปรับการยกของลิ้นแก๊สเข้าออกของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน
TH43363B (th) อุปกรณ์ควบคุมการยกลิ้นแปรผันได้สำหรับการปรับการยกของลิ้นแก๊สเข้าออกของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน
EP1136664A2 (en) Valves with variable lifts and timings
EP0854273A1 (en) Variable valve timing and valve events mechanism for an internal combustion engine
US5931127A (en) Variable valve timing mechanism for an internal combustion engine
CN100458107C (zh) 阀控制装置
US20090120391A1 (en) Device For Varying The Control Times Of An Internal Combustion Engine
CN103228877A (zh) 内燃机阀门驱动和可调节的升程及定时
US5911203A (en) Modular rotary discoid valve assembly for engines and other applications
JP4179101B2 (ja) エンジンの可変動弁装置
JP4157649B2 (ja) 内燃機関の可変動弁装置
JPH09105315A (ja) 多寸法プレート摺動式・連続可変弁タイミング装置
US4862842A (en) Arrangements for converting rotary motion into linear motion