TH65390A - ชิ้นประกอบแบบผันแปรได้เชิงทัศนศาสตร์และการใช้ชิ้นประกอบแบบนี้ - Google Patents

ชิ้นประกอบแบบผันแปรได้เชิงทัศนศาสตร์และการใช้ชิ้นประกอบแบบนี้

Info

Publication number
TH65390A
TH65390A TH301004414A TH0301004414A TH65390A TH 65390 A TH65390 A TH 65390A TH 301004414 A TH301004414 A TH 301004414A TH 0301004414 A TH0301004414 A TH 0301004414A TH 65390 A TH65390 A TH 65390A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
optical
grating
interface
optically
composite
Prior art date
Application number
TH301004414A
Other languages
English (en)
Other versions
TH39037B (th
Inventor
ชิลลิ่ง ดร.อันเดรียส
โรเบิร์ต ทอมพ์กิ้น ดร.เวย์น
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายบุญมา เตชะวณิช
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายบุญมา เตชะวณิช, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH65390A publication Critical patent/TH65390A/th
Publication of TH39037B publication Critical patent/TH39037B/th

Links

Abstract

DC60 การประดิษฐ์ที่ได้รับการนำเสนอเป็นชิ้นประกอบแบบผันแปรได้เชิงทัศนศาสตร์ซึ่งส่วน พื้น ผิวอย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วนจะมีส่วนต่อประสานซึ่งได้รับการฝังไว้ระหว่างชั้นสองชั้นและมีการ ก่อรูปเป็นโครงสร้างทำหน้าที่เชิงทัศนศาสตร์ ซึ่งในที่นี้ส่วนต่อประสานจะมีพื้นผิวรูปแบบอิสระ ซึ่ง จะปรากฏต่อผู้มองเป็นแบบสามมิติ ในการเน้นถึงพื้นผิวรูปแบบอิสระ ได้มีการเสนอตามการ ประดิษฐ์นี้ว่าพื้นผิวรูปแบบอิสระจะได้รับการก่อรูปขึ้นโดยย่านย่อยของส่วนต่อประสาน ซึ่งย่าน ย่อย นี้จะเป็นโครงร่างที่มีลักษณะคล้ายเลนส์และก่อให้เกิดผลบังเกิดในการขยายขนาด ผลบังเกิดใน การ ลดขนาดหรือผลบังเกิดในการทำให้เกิดความบิดเบี้ยว ประเด็นของการประยุกต์ใช้งานอื่น จะเป็นการใช้ชิ้นประกอบแบบผันแปรได้เชิงทัศนศาสตร์เช่นนี้ในฐานะเป็นชิ้นประกอบเพื่อการรักษา ความปลอดภัยเพื่อที่จะป้องกันการปลอมแปลงเอกสารที่มีค่า หรือผลิตภัณฑ์ที่จะต้องการการคุ้มครอง โดยเฉพาะในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของลักษณะการจัดวางชั้นเชิงประดับตกแต่งของแผ่นฟอยล์เพื่อการ ถ่ายโอนหรือแผ่นฟอยล์เพื่อการลามิเนทอีกด้วย การประดิษฐ์ที่ได้รับการนำเสนอเป็นชิ้นประกอบแบบแปรได้เชิงทัศนศาสตร์ซึ่งส่วนพื้น ผิวอย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วนจะมีชิ้นส่วนต่อประสานซึ่งได้รับการฝังไว้ระหว่างสองชั้นและมีการ ก่อรูปเป็นโครงสร้างทำหน้าที่เชิงทัศนศาสตร์ ซึ่งในที่นี้ชั้นส่วนต่อประสานจะมีพื้นผิวรูปแบบอิสระ ซึ่งจะปรากฏต่อผู้มองเป็นแบบสามมิติ ในการเน้นถึงพื้นผิวรูปแบบอิสระ ได้มีการเสนอตามการ ประดิษฐ์นี้ว่าพื้นผิวรูปแบบอิสระจะได้รับการก่อรูปขึ้นโดยย่านย่อยของชั้นส่วนต่อประสาน ซึ่งย่าน ย่อยนี้จะเป็นโครงร่างที่มีลักษณะคล้ายเลนส์และก่อให้เกิดผลบังเกิดในการขยายขนาด ผลบังเกิดใน การลดขนาดหรือผลบังเกิดในการทำให้เกิดความบิดเบี้ยว ประเด็นของการประยุกต์ใช้งานอื่น จะเป็นการใช้ชิ้นประกอบแบบผันแปรได้เชิงทัศนศาสตร์เช่นนี้ในฐานะเป็นชิ้นประกอบเพื่อการรักษา ความปลอดภัยเพื่อที่จะป้องกันการปลอมแปลงเอกสารที่มีค่า หรือผลิตภัณฑ์ที่จะต้องการการคุ้มครอง โดยเฉพาะในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของลักษณะการจัดวางชั้นเชิงประดับตกแต่งของแผ่นฟอยล์เพื่อการ ถ่ายโอนหรือแผ่นฟอยล์เพื่อการลามิเนทอีกด้วย

Claims (8)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา : 1. ชิ้นประกอบแบบผันแปร ได้เชิงทัศนศาสตร์ ซึ่งส่วนพื้นผิวอย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วนจะมี ส่วนต่อประสานซึ่งก่อรูปเป็นโครงสร้างทำหน้าที่เชิงทัศนศาสตร์ซึ่งจะยื่นตัว และ/หรือ ได้รับการจัดไว้ หลังพื้นผิวอ้างอิง(เชิงมโนทัศน์) ซึ่งในที่นี้โครงสร้างทำหน้าที่เชิงทัศนศาสตร์มีพื้นผิวรูปแบบอิสระ อย่างน้อยที่สุดหนึ่งพื้นผิวซึ่งปรากฏเป็นแบบสามมิติต่อผู้มองในรูปแบบของอักขระตัวอักษรเลข รูปแบบเชิงเรขาคณิตหรือรูปวัตถุอื่นๆ ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่า พื้นผิวรูปเเบบอิสระได้รับการก่อรูปขึ้น โดยย่านย่อยของส่วนต่อประสาร ซึ่งจะเป็นโครงร่าง ที่มีลักษณะคล้ายเลนส์เเละซึ่งก่อให้เกิดผลบังเกิดในการขบยาย การลดหรือการทำให้เกิดการบิดเบี้ยว เเละซึ่งก่อรูปเป็นชิ้นประกอบรูปเเบบอิสระ 2. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิวทัศนะศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนประสานได้รับการฝังไว้ระหว่างชั้นสองชั้นของวัสดุประกอบเเบบเป็น ชั้น 3. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือข้อ 2 ได้รับการ กำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าชิ้นอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชั้นมีการล้อมรอบส่วนประสาน ได้รับการทำ ให้มีสี 4. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึงข้อ 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่า พื้นผิวรูปเเบบอิสระอยู่ในรูปเเบบของชิ้นประกอบรูปเเบบ อิสระเชิงเลี้ยวเบนเเสง ที่มีความลึกเกรทติงอย่างมากที่สุด 10 ไมโครเมตร เเละซึ่งมีเเนวเกรทติงตาม เเนวคอนทัวร์ของพื้นผิวรูปเเบบอิสระไปยังขอบของพื้นผิวที่ว่านี้เปลี่ยนเเปลงอย่างต่อเนื่อง 5. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษที่ว่าโครงสร้างเกรทติงของชิ้นประกอบรูปเเบบอิสระเป็นไปในลักษณะที่ว่าส่วนข้าง หนึ่งของร่องเกรทติงทอดตัวขนานกันเเละขนานอย่างเป็นสำคัญกับส่วนตั้งฉากกับพื้นผิวอ้างอิงใน ขณะทีมุมของส่วนข้างอื่นของร่องเกรทติงเทียบกับส่วนตั้งฉากกับพื้นผิวอ้างอิง เปลี่ยนเเปลงไป อย่างต่อเนื่องอย่างเป็นสำคัญในทิศทางตามขวางเมื่อเทียบกับเเนวเกรทติงจากร่องเกรทติงหนึ่งไปยัง ร่องเกรทติงอีกร่องหนึ่ง 6. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาตร์ตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนข้างของร่องเกรทติง ซึ่งทอดตัวเป็นมุมสัมพัทธ์กับเส้นตั้งฉากกับพื้นฺผิว อ้างอิง เป็นโครงร่างเเบบขั้นซึ่งในที่นี้ส่วนข้างจะให้ผลบังเกิดเชิงทัศนศาสตร์ที่เท่ากันโดยพื้นผิวที่มี การก่อรูปเป็นเเบบขั้วจำนวนหนึ่ง 7. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึงข้อ 4 ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าโครงสร้างเกรทติงของชิ้นประกอบรูปเเบบอิสระเป็น โครงสร้างเเบบคู่ซึ่งมีร่องเกรทติงเเละพื้นที่เกรทติงซึ่งมีภาคตัดขวางเเบบสี่เหลี่ยมอย่างเป็นสำคัญ 8. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตรื ตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษที่ว่าความลึกของร่องเกรทติงของโครงสร้างเกรทติงที่มีชิ้นประกอบรูปเเบบอิสระ จะ เท่ากันโดยประมาณตลอดพื้นผิวรูปเเบบอิสระทั้งหมด 9. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึงข้อ 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าพื้นผิวรูปเเบบอิสระได้รับการก่อรูปขึ้นโดยชิ้นประกอบ รูปเเบบอิสระที่ผลิตขึ้นโฮโลกราฟิก 1 0. ชิินประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ ตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าพื้นผิวรูปเเบบอิสระเป็นส่วนหนึ่งของลักษณะการจัดวาง โครงสร้างโดยรวมที่ทำหน้าเชิงทัศนศาตร์ ซึ่งนอกเหนือจากนี้ชิ้นประกอบรูปเเบบอสระจะรวมถึง ย่านย่อยซึ่งมีชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ซึ่งก่อให้เกิดผลบังเกิดเชิงทัศนศาสตร์ที่เเตก ต่างกัน 1
1. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปร ได้เชิงทัศนศาสตร์ ตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าโครงสร้างยังผลเชิงทัศนศาสตร์ ได้รับการรวมกับส่วนการจัด วางเเบบชั้นบางโดยสมบูรณ์หรือเเบบเป็นย่าน 1
2. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ ตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนต่อประสานที่ก่อรูปขึ้นเป็นโครงสร้างยังผลเชิง ทัศนศาตร์ ได้รับการจัดให้มีไว้เเบบเป็นย่านเป็นอย่างน้อยโดยมีส่วนเคลือบเพิ่มการสะท้อน 1
3. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ ตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ได้รับการกำหนด รูปลักษณะพิเศษว่า ส่วนเคลือบเพิ่มการสะท้อนได้รับการก่อรูปขึ้นโดยชั้นโลหะ 1
4. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ ตามข้อถือสิทธิข้อ 12 หรือข้อ 13 ได้รับการ กำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าส่วนเคลือบเพิ่มการสะท้อน ได้รับการจัดให้มีไว้เเบบสัมพันธ์กับ ชิ้นประกอบรูปเเบบอิสระเป็นอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้นประกอบ 1
5. ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ ตามข้อถือสิทธิข้อ 13 เเละข้อถือสิทธิข้อ 14 ข้อใดข้อหนึ่ง ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าความสัมพันธ์เเบบรีจิสเตอร์ได้รับการสร้างขึ้น โดยการกำจัดโลหะเเบบเป็นย่านออกจากส่วนต่อประสาน 1
6. การใช้ชิ้นประกอบเเบบผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใด ข้อหนึ่ง ในฐานะเป็นชิ้นแประกอบเพื่อการรักษาความปลอดภัย เพื่อที่จะป้องกันการปลอมเเปลง เอกสารที่มีค่าหรือผลิตภัณฑ์ที่ต้องการคุ้มครอง 1
7. การใช้งานตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ได้รับการกำหนดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าชิ้นประกอบเเบบ ผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ ได้รับการรนำร่วมเข้ากับส่วนการจัดวางชั้นตกเเต่ง ซึ่งสามารถถ่ายโอนลง บนซับสเตรทในลักษณะฟิล์มถ่ายโอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งฟิล์มเเบบประทับด้วยความร้อน 1
8. การใช้งานตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ได้รับการกำนหดรูปลักษณะพิเศษที่ว่าชิ้นประกอบเเบบ ผันเเปรได้เชิงทัศนศาสตร์ ได้รับการนำเข้าร่วมกับส่วนการจัดวางชั้นตกเเต่งของฟิล์มเพื่อการลามิเนท
TH301004414A 2003-11-21 ชิ้นประกอบแบบผันแปรได้เชิงทัศนศาสตร์และการใช้ชิ้นประกอบแบบนี้ TH39037B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH65390A true TH65390A (th) 2004-12-09
TH39037B TH39037B (th) 2014-02-11

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
RU2005119641A (ru) Оптически изменяемый элемент и его применение
US9983335B2 (en) Film element
US10259252B2 (en) Security element for a security document and process for the production thereof
KR100587984B1 (ko) 연속 박막층을 포함하는 광학적 가변 소자
CN101610907B (zh) 用于安全文件的安全元件及其制造方法
JP4740944B2 (ja) 多層フィルム体形状のセキュリティエレメント
US7929210B2 (en) Optically variable element with partial transparent element
JP6731921B2 (ja) 多層体及び多層体の形成方法
CA2171082A1 (en) Optical information carrier
CN100419789C (zh) 具有产生似透镜效果的衍射光学结构的薄层配置结构
AU2001252216A1 (en) Laminate, in particular in the form of cards and a method for producing the same
AU2010268786A1 (en) Multi-layer body
JP2005534521A5 (th)
US11345178B2 (en) Security element, and method for producing a security element
TH65390A (th) ชิ้นประกอบแบบผันแปรได้เชิงทัศนศาสตร์และการใช้ชิ้นประกอบแบบนี้
TH39037B (th) ชิ้นประกอบแบบผันแปรได้เชิงทัศนศาสตร์และการใช้ชิ้นประกอบแบบนี้
RU2006101700A (ru) Полоска для защиты документа и защищенный документ
KR200169792Y1 (ko) 홀로그램면과 마이크로프리즘 반사면을 복합형성한반사지
JP3013331U (ja) 薄膜プラスチックカード
TH39658A3 (th) แผ่นลามิเนทมีมิติชนิดผิวแข็ง และวิธีการสร้างร่วมถึงการใช้งานแผ่นลามิเนทนี้
TH20301EX (th) โครงสร้างชั้นซ้อนเพื่อการตกแต่งและการใช้โครงสร้างนี้