TH62912B - กรรมวิธีสำหรับสกัดและนำพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอท (PHAs) กลับคืนจากชีวมวลของเซลลูลาร์ - Google Patents

กรรมวิธีสำหรับสกัดและนำพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอท (PHAs) กลับคืนจากชีวมวลของเซลลูลาร์

Info

Publication number
TH62912B
TH62912B TH601000926A TH0601000926A TH62912B TH 62912 B TH62912 B TH 62912B TH 601000926 A TH601000926 A TH 601000926A TH 0601000926 A TH0601000926 A TH 0601000926A TH 62912 B TH62912 B TH 62912B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
pha
solvent
process described
biomass
methyl
Prior art date
Application number
TH601000926A
Other languages
English (en)
Other versions
TH83069A (th
TH83069B (th
Inventor
เอดูอาร์โด แมนเตลัตโต นายเปาโล
อันโตนิโอ เซอร์โตรี่ ดูราโอ นายนาซาเรโน
Original Assignee
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายบุญมา เตชะวณิช
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายบุญมา เตชะวณิช filed Critical นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
Publication of TH83069A publication Critical patent/TH83069A/th
Publication of TH83069B publication Critical patent/TH83069B/th
Publication of TH62912B publication Critical patent/TH62912B/th

Links

Abstract

DC60 (02/03/60) กรรมวิธีสำหรับสกัด และนำพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอท (PHAs) กลับคืนจากชีวมวล ของเซลล์ที่ประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ การสกัดพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอทด้วยตัวทำละลาย นอน-แฮโดลจิเนเทดอย่างน้อยหนึ่งชนิด ซึ่งไม่ทำละลายสภาวะแวดล้อม; การให้ความร้อนชีวมวล ของเซลล์, เพื่อทำให้เกิดสารแขวนลอยที่ประกอบรวมด้วยตัวทำละลาย PHA ที่มี PHA ที่ทำละลาย และส่วนที่เหลือที่ไม่ละลาย; การนำตัวทำละลายที่เต็มไปด้วย PHA กลับคืน; การฉีดตัวทำละลาย ที่ เต็มไปด้วย PHA ในกระแสไอเพื่อกระตุ้นการตกตะกอนที่สมบูรณ์ของ PHA ในน้ำ อย่างรวดเร็ว, ขณะที่ดำเนินกรรมวิธีการระเหยตัวทำละลาย; การขจัดหมดไปของตัวทำละลายที่เหลือ; การแยกอนุภาค PHA ที่บริสุทธิ์จากสารแขวนลอย และนำสารเหล่านั้นมาทำให้แห้ง แก้ไข 02/03/2560 กรรมวิธีสำหรับสกัด และนำพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอท (PHAs) กลับคืนจากชีวมวล ของเซลล์ที่ประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ: การสกัดพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอทด้วยตัวทำละลาย นอน-แฮโลจิเนเทดอย่างน้อยหนึ่งชนิด ซึ่งไม่ทำลายสภาวะแวดล้อม;การให้ความร้อนชีวมวล ของเซลล์, เพื่อทำให้เกิดสารแขวนลอยที่ประกอบรวมด้วยตัวทำละลาย PHA ที่มี PHA ที่ละลาย และส่วนที่เหลือที่ไม่ละลาย; การนำตัวทำละลายที่เต็มไปด้วย PHA กลับคืน; การฉีดตัวทำละลายที่ เต็มไปด้วย PHA ในกระแสไอเพื่อกระตุ้นการตกตะกอนที่สมบูรณ์ของ PHA ในน้ำ อย่างรวดเร็ว, ขณะที่ดำเนินกรรมวิธีการระเหยตัวทำละลาย; การขจัดหมดไปของตัวทำละลายที่เหลือ; การแยกอนุภาค PHA ที่บริสุทธิ์จากสารแขวนลอย และนำสารเหล่านั้นมาทำให้แห้ง ------------------- กรรมวิธีสำหรับสกัด และนำพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอท (PHAs) กลับคืนจากชีวมวล ของเซลล์ที่ประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ การสกัดพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอทด้วยตัวทำละลาย นอน-แฮโดลจิเนเทดอย่างน้อยหนึ่งชนิด ซึ่งไม่ทำละลายสภาวะแวดล้อม; การให้ความร้อนชีวมวล ของเซลล์, เพื่อทำให้เกิดสารแขวนลอยที่ประกอบรวมด้วยตัวทำละลาย PHA ที่มี PHA ที่ละลาย และส่วนที่เหลือที่ไม่ละลาย; การนำตัวทำละลายที่เพิ่มปริมาณด้วย PHA กลับคืน; การฉีดตัวทำละลาย ที่เพิ่มปริมาณด้วย PHA ในกระแสไอเพื่อกระตุ้นการตกตะกอนที่สมบูรณ์ของ PHA ในน้ำ อย่างรวดเร็ว, ขณะที่ดำเนินกรรมวิธีการระเหยตัวทำละลาย, การขจัดหมดไปของตัวทำละลายที่เหลือ; การแยกอนุภาค PHA ที่บริสุทธิ์จากสารแขวนลอย และนำสารเหล่านั้นมาทำให้แห้ง:

Claims (2)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 02/03/2560 1. กรรมวิธีสำหรับการสกัด และการนำพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอท (PHAs) กลับคืน จากชีวมวลของเซลล์แบคทีเรีย, โดยทำให้ได้ชีวมวลดังกล่าวโดยการหมัก, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ กรรมวิธีนี้ประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ: i) การนำชีวมวลของเซลล์มาดำเนินงานแบบควบคู่ของการฉีดตัวทำละลาย PHA, การกวนที่รุนแรง และการให้ความร้อนแบบรวดเร็วในภายในของเครื่องทำปฏิกิริยาเพื่อ กระตุ้นการฉีกของผนังเซลล์ชีวมวลและการละลายของ PHA ที่มีในส่วนหลัง, และเพื่อทำให้ เกิดสารแขวนลอยที่ประกอบรวมด้วยตัวทำละลาย PHA ที่เต็มไปด้วย PHA ที่ละลายในความ เข้มข้นอย่างน้อย 2% โดยน้ำหนักของสารแขวนลอย, และส่วนที่เหลือที่ไม่ละลายของชีวมวล ของเซลล์ โดยที่ตัวทำละลาย PHA ที่ใช้ถูกเลือกจากกลุ่มของตัวทำละลายที่ประกอบด้วย เมธิล ฟอร์มิเอท, เอธิล ฟอร์มิเอท, โพรพิล ฟอร์มิเอท, บิวทิล ฟอร์มิเอท, ไอโซแอมิล ฟอร์มิเอท, เพนทิล ฟอร์มิเอท (แอมิล) และคาโพรอิล ฟอร์มิเอท (หรือเฮกซิล) และของผสม ของตัวทำละลายเหล่านี้, เอธิล โพรพิโอเนท, ไอโซโพรพิล โพรพิโอเอท, ไอโซแอมิล โพรพิโอเนท, คาโพรอิล โพรพิโอเนท (หรือเฮกซิล) และของผสมของตัวทำละลายเหล่านี้, เมธิล บิวทิเรท, โพรพิล บิวทิเรท, ไอโซโพรพิล บิวทิเรท, ไอโซแอมิล บิวทิเรท, เพนทิล บิวทิเรท (แอมิล), คาโพรอิล บิวทิเรท (หรือเฮกซิล) และ ของผสมของตัวทำละลายเหล่านี้, เมธิล ไอโซบิวทิเรท, โพรพิล ไอโซบิวทิเรท, ไอโซโพรพิล ไอโซบิวทิเรท, ไอโซแอมิล ไอโซบิวทิเรท, เพนทิล ไอโซบิวทิเรท (แอมิล), คาโพรอิล ไอโซบิวทิเรท (หรือเฮกซิล) และ ของผสมของตัวทำละลายเหล่านี้, โพรพิล วาเลอเรท, ไอโซโพรพิล วาเลอเรท, บิวทิล วาเลอเรท, ไอโซบิวทิล วาเลอเรท, ไอโซแอมิล วาเลอเรท (3-เมธิล-1-บิวทิล), เพนทิล วาเลอเรท (แอมิล) และคาโพรอิล วาเลอเรท (หรือเฮกซิล) และของผสมของตัวทำละลาย เหล่านี้ และ เมธิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1-เมธิล บิวทานอเอท), เอธิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1-เอธิล บิวทานอเอท), โพรพิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1-โพรพิล บิวทานอเอท), ไอโซโพรพิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวา เลอเรท) (3-เมธิล-1-ไอโซโพรพิล บิวทานอเอท), บิวทิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1-บิวทิล บิวทานอเอท), ไอโซบิวทิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1- ไอโซบิวทิล บิวทานอเอท), ไอโซแอมิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1-ไอโชแอมิล บิวทานอเอท), เพนทิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (แอมิล) (3-เมธิล-1- เพนทิล หรือแอมิล บิวทานอเอท) และดาโพรอิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (เฮกซิล), และของผสมของตัวทำละลายเหล่านี้; ii) การนำสารแขวนลอยที่เกิดขึ้นในเครื่องทำปฏิกิริยามายังขั้นตอนการแยกสำหรับนำ ตัวทำละลายที่เต็มไปด้วย PHA ที่ละลายกลับคืนจากส่วนที่เหลือที่ไม่ละลายของชีวมวลของ เซลล์ที่เหลือ; iii) การนำสารละลายของตัวทำละลาย PHA ที่เต็มไปด้วย PHA มายังการดำเนินงาน การ กวนและล้างด้วยน้ำและ/หรือไอน้ำที่อุณหภูมิซึ่งเพียงพอและเหมาะสมที่จะกระตุ้นการกำจัด, โดยการระเหย, ตัวทำละลาย PHA ทั้งหมดอย่างมีนัยสำคัญและการตกตะกอนของ PHA, เพื่อ ทำให้เกิดสารแขวนลอยที่ประกอบรวมด้วย PHA ที่ตกตะกอนในน้ำ และตัวทำละลายที่ เหลือ; iv) การนำสารแขวนลอยของ PHA ที่ตกตะกอนมายังการระเหยตัวทำละลายที่เหลือ จนกระทั่งสารเหล่านั้นหมดไปโดยการฉีดไอน้ำในสารแขวนลอย PHA ดังกล่าว, เพื่อทำให้ ได้อนุภาคของ PHA ที่ทำให้บริสุทธิ์แล้วในสารแขวนลอยแอเควียส; v) การหล่อเย็นสารแขวนลอยในตัวกลางแอเควียส, ซึ่งตัวทำละลาย PHA ถูกขจัดหมด ไปจากสารแขวนลอย, จนถึงประมาณ 45 ํซ หรือน้อยกว่า, และการแยกอนุภาค PHA จาก สารแขวนลอยดังกล่าว; และ vi) การนำอนุภาค PHA ที่แยกแล้วมายังขั้นตอนการทำให้แห้ง 2. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA ที่ใช้ถูกเลือกจากกลุ่มของตัวทำละลายที่ประกอบด้วย: ไอโซแอมิล โพรพิโอเนท, โพรพิล บิวทิเรท, ไอโซแอมิล วาเลอเรท และไอโซแอมิล ไอโซแอมิเลท หรือของผสมของสารเหล่านี้ 3. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA คือ ไอโซแอมิล โพรพิโอเนท 4. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA ที่ใช้ยอมให้แสดงสภาพละลายได้ของ PHA ในที่นั้นอย่างน้อยประมาณ 5% โดยน้ำหนัก 5. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ PHA ที่ใช้ถูกเลือก จากกลุ่มที่นิยามโดยพอลิ-3-ไฮดรอกซิบิวทิเรท (PHB), พอลิ(ไฮดรอกซิบิวทิเรท-โค-ไฮดรอกซิวาเลอ เรท), PHBV และของผสมของพอลิเมอร์ และโคพอลิเมอร์เหล่านี้ 6. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 5, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ PHA ถูกผลิตโดย การหมักแบคทีเรีย, โดยใช้จุลินทรีย์ซึ่งสามารถจะชีวสังเคราะห์ PHA โดยใช้, น้ำตาลที่สกัดจากต้น อ้อยเป็นวัตถุดิบหลัก และมีลักษณะเฉพาะคือแหล่งพลังงานหลักที่ใช้ เพื่อทำให้เกิดพลังงานความ ร้อนและพลังงานไฟฟ้า ที่ต้องการโดยกรรมวิธีคือชานอ้อย 7. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือขั้นตอนการฉีด ตัวทำละลายในชีวมวลของเซลล์เข้มข้นประกอบรวมด้วย การดำเนินงานการฉีดตัวทำละลาย PHA ชนิดเหลวและตัวทำละลาย PHA ในรูปของไอ, เพื่อกระตุ้นการให้ความร้อนชีวมวลของเซลล์ ที่อุณหภูมิระหว่างประมาณ 90 ํซ และอุณหภูมิการเดือดของตัวทำละลายที่ความดัน ความดัน บรรยากาศอย่างมีนัยสำคัญ 8. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือการกำจัด ตัวทำละลายจากสารละลาย PHA ถูกดำเนินการในช่องการระเหยภายใต้การบดสารละลาย PHA ในกระแสไอน้ำ, ตามด้วยการตกตะกอน PHA ในของผสมของน้ำ และตัวทำละลายที่ควบแน่น 9. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 8, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือไอน้ำที่ใช้สำหรับ กำจัดตัวทำละลายจากสารละลาย PHA โดยการระเหย, โดยการฉีดสารละลายในกระแสไอน้ำ โดยตรง, คือไอน้ำที่ให้ความร้อนยวดยิ่งเมื่อเทียบกับความดันดำเนินงานในช่องการระเหย 1 0. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 8, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือการกำจัด ตัวทำละลายจากสารละลาย PHA ถูกดำเนินการโดยการฉีดสารละลายโดยตรง ในกระแสไอน้ำ และ ในช่องการระเหย ที่คงไว้ที่ความดันที่ต่ำกว่าความดันบรรยากาศ 1 1. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 8, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือการกำจัด ตัวทำละลายจากสารละลาย PHA ถูกดำเนินการโดยการฉีดสารละลายโดยตรงในกระแสไอน้ำ และ ในช่องการระเหยที่คงไว้ที่ความดันที่ความดันบรรยากาศอย่างมีนัยสำคัญ 1 2. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 8, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือการกำจัด ตัวทำละลายจากสารละลาย PHA ประกอบรวมด้วยการฉีดสารละลายโดยตรงในน้ำ และไอน้ำ และ การให้ความร้อนภายใต้การกวนในเครื่องทำปฏิกิริยาที่คงไว้ที่ความดัน ที่ต่ำกว่าความดันบรรยากาศ 1 3. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 8, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือการกำจัด ตัวทำละลายจากสารละลาย PHA ถูกดำเนินการโดยการฉีดสารละลายโดยตรงในน้ำ และไอน้ำ, และ การให้ความร้อนภายใต้การกวนในเครื่องทำปฏิกิริยาที่คงไว้ ที่ความดันที่ความดันบรรยากาศ อย่างมีนัยสำคัญ 1 4. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือชีวมวลที่ใช้ใน กรรมวิธีการสกัดอยู่ในรูปสารแขวนลอยแอเควียส 1 5. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 14, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA ทำให้เกิดกับน้ำ, ในวัฏภาคไอ, เป็นของผสมแบบไบแนรี 1 6. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 15, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือขั้นตอนการฉีด ตัวทำละลายในสารแขวนลอยของชีวมวลของเซลล์ประกอบรวมด้วย การดำเนินงานการฉีด ตัวทำละลาย PHA ของเหลวและตัวทำละลาย PHA ในรูปไอ, เพื่อกระตุ้นการให้ความร้อนของชีวมวล ของเซลล์จนถึงอุณหภูมิระหว่างประมาณ 90 ํซ และอุณหภูมิการเดือดของตัวทำละลายที่ความดัน บรรยากาศอย่างมีนัยสำคัญ และเพื่อทำให้เกิด: วัฏภาคของเหลวที่ประกอบรวมด้วยตัวทำละลาย PHA ที่เต็มไปด้วย PHA และน้ำที่เหลือของชีวมวลของเซลล์; วัฎภาคของแข็งที่นิยามโดยส่วนที่เหลือที่ไม่ ละลายของชีวมวลของเซลล์ที่เหลือ; และวัฎภาคไอที่มีไอน้ำ และไอตัวทำละลาย PHA 1 7. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 16, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือกรรมวิธีนี้ ประกอบรวมด้วยขั้นตอนเพิ่มเติมของการสกัดวัฏภาคไอที่อย่างมีนัยสำคัญ มีปริมาณที่มากเกินพอของ น้ำที่ใส่ ในภายในของเครื่องทำปฏิกิริยาผ่านชีวมวล 1 8. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือชีวมวลของเซลล์ ได้มาจากจุลินทรีย์ตามธรรมชาติหรือดัดแปรพันธุกรรม ------------------------ 1. กรรมวิธีสำหรับสกัด และนำพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอท (PHAs) กลับคืนจากชีวมวล ของเซลล์แบคทีเรีย, โดยทำให้ได้ชีวมวลดังกล่าวโดยการหมัก, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือกรรมวิธีนี้ ประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ i) การนำชีวมวลของเซลล์มาดำเนินงานแบบควบคู่ของการฉีดตัวทำละลาย PHA, การกวน ที่รุนแรง และการให้ความร้อนแบบรวดเร็วในภายในของเครื่องทำปฏิกิริยา เพื่อกระตุ้นการฉีก ของผนังเซลล์ชีวมวลและการละลายของ PHA ที่มีในส่วนหลัง, และเพื่อทำให้เกิดสารแขวนลอยที่ ประกอบรวมด้วยตัวทำละลาย PHA ที่เพิ่มปริมาณด้วย PHA ที่ละลายในความเข้มข้นอย่างน้อย 2% โดยน้ำหนักของสารแขวนลอย, และส่วนที่เหลือที่ไม่ละลายของชีวมวลของเซลล์ ii) การนำสารแขวนลอยที่เกิดขึ้นในเครื่องทำปฏิกิริยามายังขั้นตอนการแยกสำหรับนำ ตัวทำลายที่เพิ่มปริมาณด้วย PHA ที่ละลายกลับคืนจากส่วนที่เหลือที่ไม่ละลายของชีวมวลของเซลล์ ที่เหลือ; iii) การนำสารละลายของตัวทำละลาย PHA ที่เพิ่มปริมาณด้วย PHA มายังการดำเนินงาน การกวนและล้างด้วยน้ำ และ/หรือไอน้ำที่อุณหภูมิซึ่งเพียงพอ และเหมาะสมที่จะกระตุ้นการกำจัด, โดยการระเหย, ตัวทำละลาย PHA ที่จัดว่าทั้งหมด และการตกตะกอนของ PHA, เพื่อทำให้เกิด สารแขวนลอยที่ประกอบรวมด้วย PHA ที่ตกตะกอนในน้ำ และตัวทำละลายที่เหลือ; iv) การนำสารแขวนลอยของ PHA ที่ตกตะกอนมายังการระเหยตัวทำละลายที่เหลือ จนกระทั่งสารเหล่านั้นหมดไปโดยการฉีดไอน้ำ ในสารแขวนลอย PHA ดังกล่าว, เพื่อทำให้ได้ อนุภาคของ PHA ที่ทำให้บริสุทธิ์แล้วในสารแขวนลอยแอเควียส v) การหล่อเย็นสารแขวนลอยในตัวกลางแอเควียส, ซึ่งตัวทำละลาย PHA ถูกขจัดหมดไป, จนถึงประมาณ 45 ํ ซ หรือน้อยกว่า, และการแยกอนุภาค PHA จากสารแขวนลอยดังกล่าว และ vi) การนำอนุภาค PHA ที่แยกแล้วมายังขั้นตอนการทำให้แห้ง 2. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA ที่ใช้ถูกเลือกจากกลุ่มของตัวทำละลายที่ประกอบด้วย: เมธิล ฟอร์มิเอท, เอธิล ฟอร์มิเอท, โพรพิล ฟอร์มิเอท, บิวทิล ฟอร์มิเอท, ไอโซแอมิล ฟอร์มิเอท, เพนทิล ฟอร์มิเอท (แอมิล) และคาโพรอิล ฟอร์มิเอท (หรือเฮกซิล) และของผสมของตัวทำละลายเหล่านี้, ที่ควรใช้มากกว่า, โพรพิล ฟอร์มิเอท, บิวทิล ฟอร์มิเอท, ไอโซแอมิล ฟอร์มิเอท, เพนทิล ฟอร์มิเอท และ, ที่ควรใช้ มากยิ่งกว่า, ไอโซแอมิล ฟอร์มิเอท 3. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA ที่ใช้ถูกเลือกจากกลุ่มของตัวทำละลายที่ประกอบด้วย: เอธิล โพรพิโอเนท, ไอโซโพรพิล โพรพิโอเนท, ไอโซแอมิล โพรพิโอเนท, คาโพรอิล โพรพิโอเนท (หรือเฮกซิล) และของผสม ของตัวทำละลายเหล่านี้และ, ที่ควรใช้มากกว่า, ไอโซโพรพิล โพรพิโอเนท และ ไอโซแอมิล โพรพิโอเนท, และ, ที่ควรใช้มากยิ่งกว่า, ไอโซแอมิล โพรพิโอเนท 4. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA ที่ใช้ถูกเลือกจากกลุ่มของตัวทำละลายที่ประกอบด้วย: เมธิล บิวทิเรท, โพรพิล บิวทิเรท, ไอโซโพรพิล บิวทิเรท, ไอโซแอมิล บิวทิเรท, เพนทิล บิวทิเรท (แอมิล), คาโพรอิล บิวทิเรท (หรือเฮกซิล) และ ของผสมของตัวทำละลายเหล่านี้และ, ที่ควรใช้มากกว่า, โพรพิล บิวทิเรท, ไอโซโพรพิล บิวทิเรท, ไอโซแอมิล บิวทิเรท, เพนทิล บิวทิเรท (แอมิล) และ, ที่ควรใช้มากยิ่งกว่า, ไอโซแอมิล บิวทิเรท (บิวทิเรทของ 3-เมธิล-1บิวทิล) 5. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA ที่ใช้ถูกเลือกจากกลุ่มของตัวทำละลายที่ประกอบด้วย: เมธิล ไอโซบิวทิเรท, โพรพิล ไอโซบิวทิเรท, ไอโซโพรพิล ไอโซบิวทิเรท, ไอโซแอมิล ไอโซบิวทิเรท, เพนทิล ไอโซบิวทิเรท (แอมิล), คาโพรอิล ไอโซบิวทิเรท (หรือเฮกซิล) และของผสมของตัวทำละลายเหล่านี้และ, ที่ควรใช้มากกว่าคือ โพรพิล ไอโซบิวทิเรท, ไอโซโพรพิล ไอโซบิวทิเรท,ไอโซแอมิล ไอโซบิวทิเรท, เพนทิล ไอโซบิวทิเรท (แอมิล) และที่ควรใช้มากยิ่งกว่าไอโซแอมิล ไอโซบิวทิเรท (ไอโซบิวทิเรทของ 3-เมธิล-1บิวทิล) 6. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA ที่ใช้ถูกเลือกจากกลุ่มของตัวทำละลายที่ประกอบด้วย: โพรพิล วาเลอเรท, ไอโซโพรพิล วาเลอเรท, บิวทิล วาเลอเรท, ไอโซบิวทิล วาเลอเรท, ไอโซแอมิล วาเลอเรท (3-เมธิล-1-บิวทิล), เพนทิล วาเลอเรท (แอมิล) และคาโพรอิล วาเลอเรท (หรือเฮกซิล) และของผสมของตัวทำละลาย เหล่านี้ และที่ควรใช้มากกว่าคือโพรพิล วาเลอเรท, ไอโซโพรพิล วาเลอเรท, บิวทิล วาเลอเรท, ไอโซบิวทิล วาเลอเรท, ไอโซแอมิล วาเลอเรท, เพนทิล วาเลอเรท (แอมิล) และที่ควรใช้มากยิ่งกว่า คือไอโซแอมิล วาเลอเรท 7. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA ที่ใช้ถูกเลือกจากกลุ่มของตัวทำละลายที่ประกอบด้วย: เมธิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1-เมธิล บิวทานอเอท), เอธิล ไฮโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1-เอธิล บิวทานอเอท), โพรพิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1-โพรพิล บิวทานอเอท), ไอโซโพรพิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1-ไอโซโพรพิล บิวทานอเอท), บิวทิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1-บิวทิล บิวทานอเอท), ไอโซบิวทิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1-ไอโซบิวทิล บิวทานอเอท), ไอโซแอมิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (3-เมธิล-1-ไอโซแอมิล บิวทานอเอท), เพนทิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (แอมิล) (3-เมธิล-1-เพนทิล หรือแอมิล บิวทานอเอท), และคาโพรอิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (เฮกซิล), และของผสมของตัวทำละลายเหล่านี้ และที่ควรใช้มากกว่าคือโพรพิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท), ไอโซโพรพิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท), บิวทิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท), ไอโซบิวทิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท), ไอโซแอมิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท), เพนทิล ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) (แอมิล) และที่ควรใช้มากยิ่งกว่าคือ ไอโซแอลิม ไอโซแอมิเลท (ไอโซวาเลอเรท) 8. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA ที่ใช้ยอมให้แสดงสภาพละลายได้ของ PHA ในที่นั้นอย่างน้อยประมาณ 5% โดยน้ำหนัก 9. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA ที่ใช้ถูกเลือกจากกลุ่มที่นิยามโดยพอลิ-3-ไฮดรอกซิบิวทิเรท (PHB), พอลิ(ไฮดรอกซิบิวทิเรท-โค- ไฮครอกซิวาเลอเรท), PHBV และของผสมของพอลิเมอร์ และโคพอลิเมอร์เหล่านี้ 1 0. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 9, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ PHA ถูกผลิตโดยการ หมักแบคทีเรีย, โดยใช้จุลินทรีย์ซึ่งสามารถจะชีวสังเคราะห์ PHA โดยใช้, เป้นวัตถุดิบหลัก, น้ำตาล ที่สกัดจากต้นอ้อย, และแหล่งพลังงานหลักที่ใช้ เพื่อทำให้เกิดพลังงานความร้อนและพลังงานไฟฟ้า ที่ต้องการโดยกรรมวิธีคือชานอ้อย 1 1. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือขั้นตอนการฉีด ตัวทำละลายในชีวมวลของเซลล์เข้มข้นประกอบด้วย การดำเนินงานการฉีดตัวทำละลาย PHA ชนิดเหลวและตัวทำละลาย PHA ในรูปของไอ, เพื่อกระตุ้นการให้ความร้อนชีวมวลของเซลล์ ที่อุณหภูมิระหว่างประมาณ 90 ํซ และอุณหภูมิการเดือดของตัวทำละลายที่ความดันที่จัดว่าเป็น ความดันบรรยากาศ 1 2. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือการจำกัดตัวทำละลาย จากสารละลาย PHA ถูกดำเนินการในช่องการระเหยภายใต้การบดให้เป็นผงของสารละลาย PHA ในกระแสไอน้ำโดยตรง, ตามด้วยการตกตะกอน PHA ในของผสมของน้ำ และตัวทำละลายที่ กลั่นตัวแล้ว 1 3. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 12, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือไอน้ำที่ใช้สำหรับ กำจัดตัวทำละลายจากสารละลาย PHA โดยการระเหย, โดยการฉีดสารละลายในการแสไอน้ำ โดยตรง, คือไอน้ำที่ให้ความร้อนยวดยิ่งเมื่อเทียบกับความดันดำเนินงานในช่องการระเหย 1 4. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 12, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือการกำจัดตัวละลาย จากสารละลาย PHA ถูกดำเนินการโดยการฉีดสารละลายในกระแสไอน้ำ และในช่องการระเหย โดยตรงที่คงไว้ที่ความดันที่ต่ำกว่าความดันบรรยากาศ 1 5. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 12, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือการกำจัดตัวละลาย จากสารละลาย PHA ถูกดำเนินการโดยการฉีดสารละลายในกระแสไอน้ำ และในช่องการระเหย โดยตรงที่คงไว้ที่ความดันที่จัดว่าเป็นความดันบรรยากาศ 1 6. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 12, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือการกำจัดตัวละลาย จากสารละลาย PHA ประกอบรวมด้วยการฉีดสารละลายในน้ำ และไอน้ำโดยตรง และการให้ ความร้อนภายใต้การกวนในเครื่องทำปฏิกิริยาที่คงไว้ที่ความดัน ที่ต่ำกว่าความดันบรรยากาศ 1 7. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 12, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือการกำจัดตัวละลาย จากสารละลาย PHA ถูกดำเนินการโดยการฉีดสารละลายในน้ำ และไอน้ำโดยตรง, และการให้ ความร้อนภายใต้การกวนในเครื่องทำปฏิกิริยาที่คงไว้ ที่ความดันที่จัดว่าเป็นความดันบรรยากาศ 1 8. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือชีวมวลที่ใช้ในกรรมวิธี การสกัดอยู่ในรูปสารแขวนลอยแอเควียส 1 9. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 18, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตัวทำละลาย PHA ทำให้เกิด, กับน้ำ, ในวัฏภาคไอ, ของผสมแบบไบแนรี 2 0. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 19, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือขั้นตอนการฉีด ตัวทำละลายในสารแขวนลอยของชีวมวลของเซลล์ประกอบรวมด้วย การดำเนินงานการฉีด ตัวทำละลาย PHA ชนิดเหลวและตัวทำละลาย PHA ในรูปไอ, เพื่อกระตุ้นการให้ความร้อนของ ชีวมวลของเซลล์จนถึงอุณหภูมิระหว่างประมาณ 90 ํซ และอุณหภูมิการเดือดของตัวทำละลายที่ ความดันที่จัดว่าเป็นความดันบรรยากาศ และจนทำให้เกิด: วัฏภาคของเหลวที่ประกอบรวมด้วย ตัวทำละลาย PHA ที่เพิ่มปริมาณด้วย PHA และน้ำที่เหลือของชีวมวลของเซลล์; วัฏภาคของแข็ง ที่นิยามโดยส่วนที่เหลือที่ไม่ละลายของชีวมวลของเซลล์ที่เหลือ; และวัฏภาคไอที่มีไอน้ำ และไอตัวทำละลาย PHA 2
1. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 20, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือกรรมวิธีนี้ ประกอบรวมด้วยขั้นตอนเพิ่มเติมของการสกัดวัฏภาคไอที่จัดว่า มีปริมาณที่มากเกินพอของน้ำที่ใส่ ในภายในของเครื่องทำปฏิกิริยาผ่านชีวมวล 2
2. กรรมวิธีตามที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือชีวมวลของเซลล์ ได้มาจากจุลินทรีย์ตามธรรมชาติหรือดัดแปรพันธุกรรม
TH601000926A 2006-03-02 กรรมวิธีสำหรับสกัดและนำพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอท (PHAs) กลับคืนจากชีวมวลของเซลลูลาร์ TH62912B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH83069A TH83069A (th) 2007-02-15
TH83069B TH83069B (th) 2007-02-15
TH62912B true TH62912B (th) 2018-06-11

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
ES2319537T3 (es) Proceso de recuperacion de polihidroxialcanoatos (phas) procedentes de una biomasa celular.
US6043063A (en) Methods of PHA extraction and recovery using non-halogenated solvents
JP4272345B2 (ja) バイオマスを化学品及び燃料に転化する方法
EP0973930B1 (en) High temperature pha extraction using pha-poor solvents
KR101225161B1 (ko) 세포 바이오매스로부터 폴리하이드록시알카노에이트를 추출및 회수하는 방법
JP2007512007A5 (th)
BR112012008850B1 (pt) processo para produção de materiais poliméricos biodegradáveis
CA2570328A1 (en) Solvent extraction of polyhydroxyalkanoates from biomass
CN1926239A (zh) 聚羟基链烷酸酯的制造方法
TH62912B (th) กรรมวิธีสำหรับสกัดและนำพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอท (PHAs) กลับคืนจากชีวมวลของเซลลูลาร์
TH83069A (th) กรรมวิธีสำหรับสกัดและนำพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอท (PHAs) กลับคืนจากชีวมวลของเซลลูลาร์
US20240228698A1 (en) Renewable and sustainable process for extraction of pha from microbial biomass
WO2024137168A1 (en) Renewable and sustainable process for extraction of pha from microbial biomass
CZ307015B6 (cs) Způsob izolace polyhydroxyalkanoátů z biomasy fermentované mikroorganismy produkujícími polyhydroxyalkanoáty a/nebo z biomasy obsahující alespoň jednu plodinu produkující polyhydroxyalkanoáty
BRPI0405622B1 (pt) PROCESSO PARA RECUPERAÇÃO DE POLIHIDROXIALCANOATOS (PHAs) DE BIOMASSA CELULAR
TH83069B (th) กรรมวิธีสำหรับสกัดและนำพอลิไฮดรอกซิแอลคานอเอท (PHAs) กลับคืนจากชีวมวลของเซลลูลาร์
MXPA06006073A (en) Process for recovering polyhydroxialkanoates ("phas") from cellular biomass
LU et al. VERFAHREN ZUR GEWINNUNG VON POLYHYDROXYALKANOLATEN (PHAS) AUS ZELLBIOMASSE PROCEDE DE RECUPERATION DE POLYHYDROXIALCANOATES (" PHAS") DANS UNE BIOMASSE CELLULAIRE
BR112012002368B1 (pt) Processo de purificação de uma mistura de polímeros que contém uma fração ponderal de no máximo 50% de poli (ácido láctico)
BR102016015837A2 (pt) Processos simplificados de recuperação de phas via extração química ou física complementados por separação química por diferença de polaridade ou tradicional