TH51547B - เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบด (Fluidized bed) และวิธีการบำบัดของเสีย - Google Patents

เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบด (Fluidized bed) และวิธีการบำบัดของเสีย

Info

Publication number
TH51547B
TH51547B TH1201006700A TH1201006700A TH51547B TH 51547 B TH51547 B TH 51547B TH 1201006700 A TH1201006700 A TH 1201006700A TH 1201006700 A TH1201006700 A TH 1201006700A TH 51547 B TH51547 B TH 51547B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
waste
fluidized
fluidization
gas
fluidized bed
Prior art date
Application number
TH1201006700A
Other languages
English (en)
Other versions
TH129299B (th
TH129299A (th
Inventor
คาวาอิ นายทาคูยะ
อิโต นายทาดาชิ
โฮโซดะ นายฮิโรยูกิ
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางสาวสนธยา สังขพงศ์
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางสาวสนธยา สังขพงศ์, นางสาวสนธยา สังขพงศ์ filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH129299B publication Critical patent/TH129299B/th
Publication of TH129299A publication Critical patent/TH129299A/th
Publication of TH51547B publication Critical patent/TH51547B/th

Links

Abstract

DC60 (21/12/55) การประดิษฐ์นี้เปิดเผยถึงเทคนิคการบำบัดของเสียซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ประกอบด้วย การเป่า ก๊าซฟลูอิไดซ์ (fluidizing gas) จากรอบช่องปล่อยของผสม (29) เพื่อสร้างบริเวณฟลูอิไดเซชัน (fluidization)บริเวณแรก (15) ที่มีระดับของการฟลูอิไดเซชันของอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ ซึ่งถูกตั้งไว้ในระดับที่ทำให้ของเสีย (18) สามารถจะสะสมอยู่บนอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ (12) ในขณะที่เป่าก๊าซฟลูอิไดซ์ระหว่างบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก (15) และผนังด้านตรงข้าม (25) ที่อัตราเร็วในการไหลสูงกว่า เพื่อสร้างบริเวณของไหลบริเวณที่สอง (16) ที่มีระดับของการ ฟลูอิไดเซชันของอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ (12) สูงกว่าของบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก (15) โดยที่อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ (12) จะถูกผสมเข้ากับของเสีย (18) เพื่อก๊าซสิไฟด์ของเสีย (18); และป้อนของเสีย (18) จากส่วนผนังด้านข้างของด้านป้อน (24) ลงบนฟลูอิไดซ์เบด (fluidize bed) (14) เพื่อทำให้ของเสีย (18) สะสมอยู่บนบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก (15) ในขณะที่ทำให้ของเสีย ที่สะสมอยู่ (18) เคลื่อนที่เข้าสู่บริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณที่สอง (16) ทีละขั้น การประดิษฐ์นี้เปิดเผยถึงเทคนิคการบำบัดของเสียซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่ประกอบด้วย:การเป่า ก๊าซฟลูอิไดซ์(fluidizing gas)จากรอบช่องปล่อยของผสม(29)เพื่อสร้างบริเวณฟลูอิไดเซชัน (fluidization)บริเวณแรก (15) ที่มีระดับของการฟลูอิไดเซชันของอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ ซึ่งถูกตั้งไว้ในระดับที่ทำให้ของเสีย(18)สามารถจะสะสมอยู่บนอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้(12) ในขณะที่เป่าก๊าซฟลูอิไดซ์ระหว่างบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก(15)และผนังด้านตรงข้าม(25) ที่อัตราเร็วในการไหลสูงกว่า เพื่อสร้างบริเวณของไหลบริเวณที่สอง(16)ที่มีระดับของการ ฟลูอิดเซชันของอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้(12)สูงกว่าของบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก(15) โดยที่อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้(12)จะถูกผสมเข้ากับของเสีย(18)เพื่อก๊าซสิไฟด์ของเสีย(18); และป้อนของเสีย(18)จากส่วนผนังด้านข้างของด้านป้อน(24)ลงบนฟลูอิไดซ์เบด(fluidize bed) (14)เพื่อทำให้ของเสีย(18)สะสมอยู่บนบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก(15)ในขณะที่ทำให้ของเสีย ที่สะสมอยู่(18)เคลื่อนที่เข้าสู่บริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณที่สอง(16)ทีละขั้น:

Claims (1)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 7/04/2559 1. เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบด (fluidize bed) สำหรับการให้ความร้อนกับของเสียเพื่อสกัดก๊าซ ที่สามารถเผาไหม้ได้ จากของเสียนั้น ซึ่งประกอบด้วย: อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ (fluidizable particle) ได้ที่ถูกทำให้เป็นฟลูอิไดซ์เบดเพื่อให้ความ ร้อนกับของเสีย; ตัวเตาเผาที่มีผนังด้านล่างที่รองรับอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้จากด้านใต้นั้น และผนัง ด้านข้างด้านหนึ่งตั้งขึ้นมาจากผนังด้านล่าง โดยที่ผนังด้านล่างนั้นมีช่องปล่อยของผสมอยู่ในตำแหน่ง เอียงออกจากตำแหน่งศูนย์กลางของผนังด้านล่างในทิศทางเฉพาะ เพื่อปล่อยสสารที่ไม่สามารถเผา ไหม้ได้ในของเสีย และคาร์ไบด์ที่ได้จากการให้ความร้อนของเสีย ร่วมกับส่วนหนึ่งของอนุภาค ที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ และผิวด้านบนของผนังด้านล่างจะถูกเอียงเพื่อให้ลงไปยังช่องปล่อยของผสม เพื่อที่จะทำให้อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ตกลงไปที่ผิวด้านบนของผนังด้านล่างผ่านทางช่องปล่อย ของผสมนั้น; ส่วนป้อนก๊าซสำหรับเป่าก๊าซฟลูอิไดซ์ (fluidizing gas) จากผนังด้านล่างของตัวเตาเผาไปยัง อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้เพื่อฟลูอิไดซ์ (fluidize) อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้; ส่วนป้อนของเสียสำหรับป้อนของเสียจากส่วนด้านป้อนของผนังด้านข้างซึ่งอยู่บน ด้านเดียวกันกับช่องปล่อยของผสม ตามตำแหน่งศูนย์กลางของผนังด้านล่าง ไปยังบริเวณบน ฟลูอิไดซ์เบดที่อยู่ติดกับส่วนผนังด้านข้างของด้านป้อนเข้า ทำให้ของเสียบนฟลูอิไดซ์เบดเคลื่อนที่ ไปยังส่วนด้านตรงข้ามของผนังด้านข้างบนด้านตรงข้ามกับช่องปล่อยของผสมตามตำแหน่งศูนย์กลาง ของผนังด้านล่าง; กลุ่มของเทอร์โมมิเตอร์ติดตั้งอยู่เหนือฟลูอิไดซ์เบด; และ ส่วนป้อนอากาศสำหรับให้อากาศที่เหนือฟลูอิไดซ์เบด โดยที่: ส่วนป้อนก๊าซจะถูกปรับเพื่อให้เป่าก๊าซฟลูอิไดซ์จากรอบช่องปล่อยของผสม เพื่อสร้าง บริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรกที่มีระดับการฟลูอิเซชันของอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ ซึ่งถูกตั้งไว้ในระดับที่ทำให้ของเสียสามารถจะสะสมอยู่บนอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ ในขณะที่ เป่าก๊าซฟลูอิไดซ์ระหว่างบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก และส่วนผนังด้านข้างด้านตรงข้าม ที่ อัตราเร็วในการไหลมากกว่าของก๊าซฟลูอิไดซ์ที่จะเป่าในบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก เพื่อสร้าง บริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณที่สอง ที่มีระดับของการฟลูอิไดเซชันของอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ ที่สูงกว่าในบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก โดยที่อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้จะเคลื่อนที่ไป ในรูปแบบที่เหมือนกับการพา (convection) และผสมเข้ากับของเสียเพื่อก๊าซสิไฟด์ของเสียนั้น: และ ส่วนป้อนของเสียจะถูกปรับเพื่อป้อนของเสียจากส่วนผนังด้านข้างของด้านป้อนเข้าไปยัง ฟลูอิไดซ์เบดเพื่อทำให้ของเสียสะสมอยู่บนบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก ในขณะที่ทำให้ของเสีย ที่สะสมเคลื่อนที่เข้าสู่บริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณที่สองทีละขั้น กลุ่มของเทอร์โมมิเตอร์ถูกจัดที่ตำแหน่งแตกต่างกันเหนือบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณที่สอง; และ ส่วนป้อนอากาศจะป้อนอากาศไปที่เหนือบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรกตามค่าที่ระบุของ แต่ละกลุ่มของเทอร์โมมิเตอร์ เพื่อให้ตัวเตาเผามีอุณหภูมิภายในตามที่กำหนดไว้แล้ว 2. เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบดตามที่ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ส่วนป้อนของเสีย จะถูกปรับ เพื่อให้ผลักของเสียใหม่ ในลักษณะที่ค่อนข้างจะเป็นแนวนอนจากส่วนผนังด้านข้างของด้านป้อนเข้า ไปยังของเสียที่สะสมอยู่บนบริเวณฟลูอิไดเซซันบริเวณแรก ทำให้ของเสียที่สะสมอยู่บนบริเวณ ฟลูอิไดเซซันบริเวณแรกเคลื่อนที่เข้าสู่บริเวณฟลูอิไดเซซันบริเวณที่สองทีละขั้น 3. เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบดตามที่ระบุในข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 ซึ่งประกอบด้วยส่วนป้อน คาร์ไบด์สำหรับการแยกคาร์ไบด์ออกจากของผสมของสสารที่ไม่สามารถเผาไหม้ได้ คาร์ไบด์และ อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้จะถูกปล่อยออกจากช่องปล่อยของผสม และคืนคาร์ไบด์ที่ถูกแยก ออกมากลับสู่ฟลูอิไดซ์เบดจากด้านของส่วนผนังด้านข้างของด้านตรงข้าม 4. เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบดตามที่ระบุในข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 3 โดยที่ ส่วนป้อนก๊าซถูกปรับเพื่อให้เป่าก๊าซฟลูอิไดซ์ในบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรกที่อัตราเร็ว ในการไหลที่สอดคล้องกับสภาวะซึ่ง Uo/Umf อยู่ในช่วงจาก 1 ถึงน้อยกว่า 2 และเป่าก๊าซฟลูอิไดซ์ ในบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณที่สองที่อัตราเร็วในการไหลที่สอดคล้องกับสภาวะซึ่ง Uo/Umf อยู่ในช่วงจาก 2 ถึงน้อยกว่า 5 โดยที่ Umf คืออัตราเร็วในการฟลูอิไดเซชันต่ำลง ซึ่งคืออัตราเร็ว ในการไหลต่ำสุดของก๊าซฟลูอิไดซ์ที่จะเป่าเพื่อฟลูอิไดซ์อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ และ Uo คืออัตราเร็วในการไหลเฉลี่ยตามหน้าตัดขวางของก๊าซฟลูอิไดซ์ 5. เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบดตามที่ระบุในข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 4 ซึ่ง ประกอบด้วยอุปกรณ์หมุนเวียนทราย สำหรับการแยกอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ออกจากของผสม ของสสารที่ไม่สามารถเผาไหม้ได้, คาร์ไบด์และอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ ที่ถูกปล่อยออกจากช่อง ปล่อยของผสม และคืนอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ที่ถูกแยกออกมากลับสู่ตัวเตาเผา 6. เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบดตามที่ระบุในข้อถือสิทธิที่ 5 โดยที่อุปกรณ์หมุนเวียนทราย ถูกปรับให้คืนอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ที่ถูกแยกออกจากของผสมลงไปบนของเสียที่สะสมอยู่บน บริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก 7. ตามเผาแบบฟลูอิไดซ์เบดตามที่ระบุในข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 6 โดยที่ ตัวเตาเผามีรูปร่างในมุมมองแนวระนาบ ซึ่งขนาดในทิศทางตามความกว้างที่ตั้งฉากกับทิศทาง การผลักซึ่งของเสียจะถูกผลักโดยส่วนป้อนของเสียนั้นเท่ากันในทิศทางการผลัก 8. เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบดตามที่ระบุในข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่ส่วนป้อนของเสียประกอบด้วย เครื่องผลักที่มีผิวหน้าสำหรับการผลักเหยียดออกไปในทิศทางตามความกว้าง และหน่วยขับเคลื่อน สำหรับเคลื่อนเครื่องผลักไปมาในทิศทางขนานกับทิศทางการผลักเพื่อให้ผิวหน้าสำหรับการผลักของ เครื่องผลักสามารถผลักของเสียลงบนฟลูอิไดซ์เบดได้พร้อมๆ กันโดยบริเวณตามความกว้างทั้งหมด ของผิวหน้าสำหรับการผลัก 9.วิธีการบำบัดของเสียสำหรับการให้ความร้อนกับของเสียเพื่อสกัดก๊าซที่สามารถเผาไหม้ได้ จากของเสียนั้น ซึ่งประกอบด้วย: ขั้นตอนการเตรียม ของการเตรียมเตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบดที่ประกอบด้วยอนุภาคที่สามารถ ฟลูอิไดซ์ได้ที่ถูกทำให้เป็นฟลูอิไดซ์เบดเพื่อให้ความร้อนกับของเสีย, ตัวเตาเผาที่มีผนังด้านล่าง ที่รองรับอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้จากด้านใต้นั้น และผนังด้านข้างด้านหนึ่งตั้งขึ้นมาจาก ผนังด้านล่าง โดยที่ผนังด้านล่างนั้นมีช่องปล่อยของผสมอยู่ในตำแหน่งเอียงออกจากตำแหน่ง ศูนย์กลางของผนังด้านล่างในทิศทางเฉพาะ เพื่อปล่อยสสารที่ไม่สามารถเผาไหม้ได้ในของเสีย และคาร์ไบด์ที่ถูกผลิตขึ้นโดยการให้ความร้อนกับของเสีย ร่วมกับส่วนหนึ่งของอนุภาคที่สามารถ ฟลูอิไดซ์ได้ และผิวด้านบนของผนังด้านล่างจะถูกเอียงเพื่อให้ลงไปยังช่องปล่อยของผสม เพื่อที่ จะทำให้อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ตกลงไปบนผิวด้านบนของผนังด้านล่าง ผ่านทางช่องปล่อย ของผสม; ขั้นตอนการสร้างบริเวณฟลูอิไดเซชันของการเป่าก๊าซฟลูอิไดซ์ จากบริเวณของผนังด้านล่าง ของตัวเตาเผารอบช่องปล่อยของผสมไปยังอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ เพื่อสร้างบริเวณ ฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก ที่มีระดับของการฟลูอิไดเซชันของอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ ซึ่งถูกตั้งค่าในระดับที่ทำให้ของเสียสามารถจะสะสมอยู่บนอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ ในขณะที่ เป่าก๊าซฟลูอิไดซ์ระหว่างบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก และส่วนด้านตรงข้ามของผนังด้านข้าง บนด้านตรงข้ามของช่องปล่อยของผสม ตามตำแหน่งศูนย์กลางของผนังดังกล่าว ที่อัตราเร็ว ในการไหลที่สูงกว่าของก๊าซฟลูอิไดซ์ที่จะเป่าในบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก เพื่อสร้างบริเวณ ฟลูอิไดเซชันบริเวณที่สองที่มีระดับของการฟลูอิไดเซชันของอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้สูงกว่า ในบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก; และ ขั้นตอนก๊าซสิฟิเคชันของการป้อนของเสียจากส่วนด้านป้อนเข้าของผนังด้านข้างที่อยู่ บนด้านเดียวกันกับช่องปล่อยของผสม โดยเทียบกับตำแหน่งศูนย์กลางของผนังด้านล่าง ไปยัง บริเวณบนฟลูอิไดซ์เบดที่อยู่ติดกับส่วนผนังด้านข้างของด้านป้อนเข้า ทำให้ของเสียถูกสะสมอยู่บน บริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก ในขณะที่ทำให้ของเสียที่สะสมเคลื่อนที่เข้าสู่บริเวณฟลูอิไดเซชัน บริเวณที่สองทีละขั้นและถูกก๊าซสิไฟด์; และ ขั้นตอนการป้อนอากาศที่ป้อนอากาศไปเหนือฟลูอิไดซ์เบด โดยที่ ในขั้นตอนการเตรียม, เตาเผาฟลูอิไดซ์เบดที่ประกอบไปอีกด้วยกลุ่มของเทอร์โมมิเตอร์และ ส่วนป้อนอากาศจะถูกเตรียม กลุ่มของเทอร์โมมิเตอร์ถูกจัดในตำแหน่งที่แตกต่างกันเหนือบริเวณฟลูอิ ไดเซชันบริเวณแรก และส่วนป้อนอากาศที่ป้อนอากาศไปเหนือบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก; และ ในขั้นตอนการป้อนอากาศ ส่วนป้อนอากาศจะป้อนอากาศไปเหนือบริเวณฟลูอิไดเซชัน บริเวณแรกตามค่าที่ระบุของแต่ละกลุ่มของเทอร์โมมิเตอร์ เพื่อให้ตัวเตาเผามีอุณหภูมิภายในตามที่ กำหนดไว้แล้ว 1 0.วิธีการบำบัดของเสียตามที่ระบุในข้อถือสิทธิที่ 9 โดยที่ขั้นตอนก๊าซสิฟิเคชัน ประกอบด้วยการผลักของเสียใหม่ ในลักษณะที่ค่อนข้างจะเป็นแนวนอนจากส่วนผนังด้านข้าง ของด้านป้อนเข้า ไปยังของเสียที่สะสมอยู่บนบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก, ทำให้ของเสีย ที่สะสมอยู่บนบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรกเคลื่อนที่เข้าสู่บริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณที่สอง ทีละขั้นและถูกก๊าซสิไฟด์ 1 1. วิธีการบำบัดของเสียตามที่ระบุในข้อถือสิทธิที่ 9 หรือ 10 ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอน ของการแยกคาร์ไบด์ออกจากของผสมของสสารที่ไม่สามารถเผาไหม้ได้, คาร์ไบด์และอนุภาค ที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้, ของผสมที่ถูกปล่อยออกจากช่องปล่อยของผสม และคืนคาร์ไบด์ที่ถูกแยก ออกมากลับสู่ฟลูอิไดซ์เบดจากด้านของส่วนผนังด้านข้างที่ด้านตรงข้าม 1 2. วิธีการบำบัดของเสียตามที่ระบุในข้อใดข้อหนึ่งในข้อถือสิทธิที่ 9 ถึง 11 โดยที่ ก๊าซฟลูอิไดซ์ถูกเป่าในบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรกที่อัตราเร็วในการไหลที่สอดคล้องกับ สภาวะซึ่ง Uo/Umf อยู่ในช่วงจาก 1 ถึงน้อยกว่า 2 และถูกเป่าในบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณที่สอง ที่อัตราเร็วในการไหลที่สอดคล้องกับสภาวะซึ่ง Uo/Umf อยู่ในช่วงจาก 2 ถึงน้อยกว่า 5 โดยที่ Umf คืออัตราเร็วในการฟลูอิไดเซชันต่ำสุด ซึ่งคืออัตราเร็วในการไหลต่ำสุดของก๊าซฟลูอิไดซ์ที่จะเป่า เพื่อฟลูอิไดซ์อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้และ Uo คืออัตราเร็วในการไหลเฉลี่ยตามหน้าตัดขวาง ของก๊าซฟลูอิไดซ์ -----------------------------------------------------------------
1. เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบด (fluidize bed) สำหรับการให้ความร้อนกับของเสียเพื่อสกัดก๊าซ ที่สามารถเผาไหม้ได้จากของเสียนั้น ซึ่งประกอบด้วย อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ (fluidizable particle) ได้ที่ถูกทำให้เป็นฟลูอิไดซ์เบดเพื่อให้ความ ร้อนกับของเสีย ตัวเตาเผาที่มีผนังด้านล่างที่รองรับอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้จากด้านใต้นั้น และผนัง ด้านข้างด้านหนึ่งตั้งขึ้นมาจากผนังด้านล่าง โดยที่ผนังด้านล่างนั้นมีช่องปล่อยของผสมอยู่ในตำแหน่ง เอียงออกจากตำแหน่งศูนย์กลางของผนังด้านล่างในทิศทางเฉพาะ เพื่อปล่อยสารที่ไม่สามารถเผา ไหม้ได้ในของเสีย และคาร์ไบด์ที่ได้จากการให้ความร้อนของเสีย ร่วมกับส่วนหนึ่งของอนุภาค ที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ และผิวด้านบนของผนังด้านล่างจะถูกเอียงเพื่อให้ลงไปยังช่องปล่อยของผสม เพื่อที่จะทำให้อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ตกลงไปที่ผิวด้านบนของของผนังด้านล่างผ่านทางช่องปล่อย ของผสมนั้น ส่วนป้อนก๊าซสำหรับเป่าก๊าซฟลูอไดซ์ (fluidizing gas) จากผนังด้านล่างของตัวเตาเผาไปยัง อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้เพื่อฟลูอิไดซ์ (fluidize) อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้; ส่วนป้อนของเสียสำหรับป้อนของเสียจากส่วนด้านป้อนของผนังด้านข้างซึ่งอยู่บน ด้านเดียวกันกับชอ่งปล่อยของผสม ตามตำแหน่งศูนย์กลางของผนังด้านล่าง ไปยังบริเวณบน ฟลูอิไดซ์เบดที่อยู่ติดกับส่วนผนังด้านข้างของด้านป้อนเข้า ทำให้ของเสียบนฟลูอิไดซ์เบดเคลื่อนที่ ไปยังส่วนด้านตรงข้ามของผนังด้านข้างบนด้านตรงข้ามกับช่องปล่อยของสผมตามตำแหน่งศูนย์กลาง ของผนังด้านล่าง; โดยที่ โดยป้อนก๊าซจะถูกปรับเพื่อให้เป่าก๊าซฟลูอิไดซ์จากรองช่องปล่อยของผสม เพื่อสร้าง บริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรกที่มีระดับการฟลูอิไดเซชันของอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ ซึ่งถูกตั้งไว้ในระดับที่ทำให้ของเสียสามารถจะสะสมอยู่บนอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ ในขณะที่ เป่าก๊าซฟลูอิไดซ์ระหว่างบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก และส่วนผนังด้านข้างด้านตรงข้าม ที่ อัตราเร็วในการไหลมากกว่าของก๊าซฟลูอิไดซ์ที่จะเป่าในบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก เพื่อสร้าง บริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณที่สอง ที่มีระดับของการฟลูอิไดเซชันของอนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้ ที่สูงกว่าในบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก โดยที่อนุภาคที่สามารถฟลูอิไดซ์ได้จะเคลื่อนที่ไป ในรูปแบบที่เหมือนกับการพา (convection) และผสมเข้ากับของเสียเพื่อก๊าซสิไฟด์ของเสียนั้น ; และ ส่วนป้อนของเสียจะถูกปรับเพื่อป้อนของเสียจากส่วนผนังด้านข้างด้านป้อนเข้าเข้าไปยัง ฟลูอิไดซ์เบดเพื่อทำให้ของเสียสะสมอยู่บนบริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณแรก ในขณะที่ทำให้ของเสีย ที่สะสมเคลื่อนที่เข้าสู่บริเวณฟลูอิไดเซชันบริเวณที่สองทีละขั้น
TH1201006700A 2011-06-21 เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบด (Fluidized bed) และวิธีการบำบัดของเสีย TH51547B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH129299B TH129299B (th) 2013-11-14
TH129299A TH129299A (th) 2013-11-14
TH51547B true TH51547B (th) 2016-09-27

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US9273249B2 (en) Systems and methods for controlling air distribution in a coke oven
CA2896477C (en) Systems and methods for controlling air distribution in a coke oven
CN1114063C (zh) 流化床燃烧器
SE447672B (sv) Sett och apparat for forbrenning med fluidbedd
RU2459659C1 (ru) Котел с циркулирующим псевдоожиженным слоем
DK160330B (da) Fluidiseringsovn samt fremgangsmaade til forbraending i en saadan ovn
UA109725C2 (uk) Пристрій і спосіб для термічної обробки грудкового або агломерованого матеріалу
KR101063516B1 (ko) 경사푸셔식 폐기물 및 폐자원 고형연료 전용 연소 보일러 장치
US5101742A (en) Fluidized bed combustion
NO774072L (no) Forurensningsfri forbrenning av fast avfall
TH51547B (th) เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบด (Fluidized bed) และวิธีการบำบัดของเสีย
TH129299A (th) เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบด (Fluidized bed) และวิธีการบำบัดของเสีย
RU2006108428A (ru) Способ двухстадийного сжигания топлива и топка для его осуществления
US2276659A (en) Wet refuse furnace and system
RU2272218C1 (ru) Способ сжигания топлива
TH51546B (th) เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบด (Fluidized bed) และวิธีการบำบัดของเสีย
TH126720A (th) เตาเผาแบบฟลูอิไดซ์เบด (Fluidized bed) และวิธีการบำบัดของเสีย
RU2032125C1 (ru) Предтопок
RU2005112824A (ru) Способ получения извести и установка для его осуществления
US9808859B2 (en) Furnace assembly
JP5694700B2 (ja) 流動層炉及び廃棄物処理方法
FI74794B (fi) Saett vid eldning med fasta braenslen.
RU49951U1 (ru) Топка
RU2485424C2 (ru) Способ обжига мелкозернистого материала
KR101787051B1 (ko) 고형 폐기물 연소로