TH51157B - ชิ้นส่วนฐานที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นสำหรับภาชนะโลหะ - Google Patents

ชิ้นส่วนฐานที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นสำหรับภาชนะโลหะ

Info

Publication number
TH51157B
TH51157B TH801003888A TH0801003888A TH51157B TH 51157 B TH51157 B TH 51157B TH 801003888 A TH801003888 A TH 801003888A TH 0801003888 A TH0801003888 A TH 0801003888A TH 51157 B TH51157 B TH 51157B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
arc
radius
approximately
metal
inches
Prior art date
Application number
TH801003888A
Other languages
English (en)
Other versions
TH98130A (th
TH98130B (th
Inventor
หยวน นางสาวเชอร์รี่
กราโบว์สกี้ นายแมเรียน
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางสาวสนธยา สังขพงศ์
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางสาวสนธยา สังขพงศ์, นางสาวสนธยา สังขพงศ์ filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH98130A publication Critical patent/TH98130A/th
Publication of TH98130B publication Critical patent/TH98130B/th
Publication of TH51157B publication Critical patent/TH51157B/th

Links

Abstract

DC60 กระป๋องโลหะที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นจะมีฐานที่รวมเป็นส่วนเดียวกันที่กลายเป็นแหวน ที่ตั้งขึ้นซึ่งมีการต้านทานการโก่งตัวมากกว่าการออกแบบแต่เดิมโดยจะมีผนังด้านข้างทรงกระบอกใน ทิศตามแนวตั้งและผนังตรงปลายที่เป็นชิ้นส่วนเดียวซึ่งมีบริเวณตรงกลางที่เป็นซอกและบริเวณริม ขอบที่เป็นครีบที่ยื่นลงไปด้านล่างและกลายเป็นแหวนที่ตั้งขึ้น และบริเวณริมขอบที่เป็นครีบที่ยื่นลง ไปด้านล่างดังกล่าวมักเป็นที่นิยมให้มีพื้นผิวที่หนึ่งซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายนอกซึ่งเมื่อมองใน ภาคตัดขวางตามแนวตั้งก็จะมีรัศมีส่วนโค้งที่หนึ่ง R1, พื้นผิวที่สองซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนด้านล่างซึ่ง เมื่อมองในภาคตัดขวางตามแนวตั้งก็จะมีรัศมีของส่วนโค้งที่สอง R2 และพื้นผิวที่สามซึ่งเป็นวงแหวน โค้งนูนภายในซึ่งเมื่อมองในภาคตัดขวางตามแนวตั้งก็จะมีรัศมีของส่วนโค้งที่สาม R3 สิ่งที่ทำให้เกิด ข้อได้เปรียบก็คือการที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง, ที่สองและที่สาม R1, R2 และ R3 แต่ละส่วนมีลักษณะ ที่แตกต่างกัน กระป๋องโลหะที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นจะมีฐานที่รวมเป็นส่วนเดียวกันที่กลายเป็นวงแหวน ที่ตั้งขึ้นซึ่งมีการต้านทานการโก่งตัวมากกว่าการออกแบบแต่เดิม โดยจะมีผนังด้านข้างทรงกระบอกใน ทิศตามแนวตั้งและผนังตรงปลายที่เป็นชิ้นส่วนเดียวซึ่งมีบริเวณตรงกลางที่เป็นซอกและบริเวณริม ขอบที่เป็นครีบที่ยื่นลงไปด้านล่างและกลายเป็นแหวนที่ตั้งขึ้น และบริเวณริมขอบที่เป็นครีบที่ยื่นลง ไปด้านล่างดังกล่าวมักเป็นที่นิยมให้มีพื้นผิวที่หนึ่งซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายนอกซึ่งเมื่อมองใน ภาคตัดขวางตามแนวตั้งก็จะมีรัศมีส่วนโค้งที่หนึ่ง R1, พื้นผิวที่สองซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนด้านล่างซึ่ง เมื่อมองในภาคตัดขวางตามแนวตั้งก็จะมีรัศมีของส่วนโค้งที่สอง R2 และพื้นผิวที่สามซึ่งเป็นวงแหวน โค้งนูนภายในซึ่งเมื่อมองในภาคตัดขวางตามแนวตั้งก็จะมีรัศมีของส่วนโค้งที่สาม R3 สิ่งที่ทำให้เกิด ข้อได้เปรียบก็คือการที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง, ที่สองและที่สาม R1, R2 และ R3 แต่ละส่วนมีลักษณะ ที่แตกต่างกัน

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 1/10/58 กระป๋องโลหะที่ประกอบด้วย: ผนังด้านข้างทรงกระบอกในทิศตามแนวตั้ง ผนังตรงปลายที่เป็นส่วนเดียวกันกับผนังด้านข้างทรงกระบอกดังกล่าว โดยที่ผนังตรงปลาย ดังกล่าวประกอบด้วยส่วนตรงกลางที่เป็นซอกและส่วนริมขอบที่เป็นครีบที่ยื่นลงไปด้านล่างซึ่งจะกำหนด แหวนที่ตั้งขึ้นรูปวงกลมเป็นสำคัญ และโดยที่ส่วนริมขอบที่เป็นครีบที่ยื่นลงไป ด้านล่างจะประกอบด้วย พื้นผิวที่หนึ่งซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายนอกซึ่งเมื่อมองในส่วนตัดขวางตามแนวตั้งจะมี รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R1 พื้นผิวที่หนึ่งซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายนอกซึ่งเมื่อมองในส่วนตัดขวางตามแนวตั้งจะมี รัศมีของส่วนโค้งที่สอง R2 พื้นผิวที่หนึ่งซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายนอกซึ่งเมื่อมองในส่วนตัดขวางตามแนวตั้งจะมี รัศมีของส่วนโค้งที่สาม R3 และ โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง, ที่สองและที่สามดังกล่าว R1, R2, และ R3 แต่ละส่วนมี ลักษณะที่แตกต่างจากซึ่งกันและกัน โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สามดังกล่าว R3 มีขนาดใหญ่กว่ารัศมีของ ส่วนโค้งที่สองดังกล่าว R2 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สองดังกล่าว R2 มีขนาดใหญ่กว่ารัศมีของส่วนโค้งที่ หนึ่งดังกล่าว R1 กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สามดังกล่าว R3 มีขนาดใหญ่กว่า รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่งดังกล่าว R1 กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่งดังกล่าว R1 จะอยู่ตรงข้าม มุมที่หนึ่งซึ่งอยู่ภายในช่วงประมาณ 5? ถึงประมาณ 80? กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สองดังกล่าว R2 จะอยู่ตรงข้ามมุม ที่สองซึ่งอยู่ภายในช่วงประมาณ 5? ถึงประมาณ 50? กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สามดังกล่าว R3 จะอยู่ตรงข้ามมุม ที่สามซึ่งอยู่ภายในช่วงประมาณ 5? ถึงประมาณ 80? กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ส่วนปลายด้านในสุดของพื้นผิวที่สามซึ่งเป็นวงแหวน โค้งนูนภายในดังกล่าวจะยื่นออกไปที่มุมเมื่อเทียบกับระนาบตามแนวนอนซึ่งอยู่ภายในช่วง ประมาณ 50? ถึงประมาณ 90? กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่วงแหวนที่ตั้งขึ้นรูปวงกลมเป็นสำคัญ ดังกล่าวมีเส้นผ่าศูนย์กลางซึ่งอยู่ภายในช่วงประมาณ 1.2 นิ้วถึงประมาณ 2.0 นิ้ว กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่งดังกล่าว R1 อยู่ภายในช่วง ประมาณ 0.015 นิ้วถึงประมาณ 0.090 นิ้ว กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 8 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่งดังกล่าว R1 อยู่ภายในช่วง ประมาณ 0.025 นิ้วถึงประมาณ 0.070 นิ้ว กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่งดังกล่าว R2 อยู่ภายในช่วง ประมาณ 0.015 นิ้วถึงประมาณ 0.080 นิ้ว กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่งดังกล่าว R2 อยู่ภายในช่วง ประมาณ 0.025 นิ้วถึงประมาณ 0.065 นิ้ว กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่งดังกล่าว R3 อยู่ภายในช่วง ประมาณ 0.015 นิ้วถึงประมาณ 0.090 นิ้ว กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 12 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่งดังกล่าว R1 อยู่ภายในช่วง ประมาณ 0.025 นิ้วถึงประมาณ 0.070 นิ้ว --------------------------------------------------------------- วันที่แก้ไข 1/10/58
1. กระป๋องโลหะที่ประกอบด้วย: ผนังด้านข้างทรงกระบอกในทิศตามแนวตั้ง ผนังตรงปลายที่เป็นส่วนเดียวกันกับผนังด้านข้างทรงกระบอกดังกล่าว โดยที่ผนังตรงปลาย ดังกล่าวประกอบด้วยส่วนตรงกลางที่เป็นซอกและส่วนริมขอบที่เป็นครีบที่ยื่นลงไปด้านล่างซึ่งจะกำหนด แหวนที่ตั้งขึ้นรูปวงกลมเป็นสำคัญ และโดยที่ส่วนริมขอบที่เป็นครีบที่ยื่นลงไป ด้านล่างจะประกอบด้วย พื้นผิวที่หนึ่งซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายนอกซึ่งเมื่อมองในส่วนตัดขวางตามแนวตั้งจะมี รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R1 พื้นผิวที่สองซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนด้านล่างซึ่งเมื่อมองในส่วนตัดขวางตามแนวตั้งจะมี รัศมีของส่วนโค้งที่สอง R2 พื้นผิวที่สามซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายในซึ่งเมื่อมองในส่วนตัดขวางตามแนวตั้งจะมี รัศมีของส่วนโค้งที่สาม R3 และ โดยที่มีรัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง, ที่สองและที่สามดังกล่าว R1,R2 และ R3 แต่ละส่วนมี ลักษณะที่แตกต่างจากกันซึ่งกันและกัน โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สามดังกล่าว R3 มีขนาดใหญ่กว่ารัศมีของ ส่วนที่โค้งที่สองดังกล่าว R2 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สองดังกล่าว R2 มีขนาดใหญ่กว่ารัศมีของส่วนโค้งที่ หนึ่งดังกล่าว R1
2. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สามดังกล่าว R3 มีขนาดใหญ่กว่า รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่งดังกล่าว R1
3. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยรัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่งดังกล่าว R1 จะอยู่ตรงข้าม มุมที่หนึ่งซึ่งอยู่ภายในช่วงประมาณ 5 ํ ถึงประมาณ 80 ํ
4. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สองดังกล่าว R2 จะอยู่ตรงข้ามมุม ที่สองซึ่งอยู่ภายในช่วงประมาณ 5 ํ ถึงประมาณ 80 ํ
5. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สามดังกล่าว R3 จะอยู่ตรงข้ามมุม ที่สามซึ่งอยู่ภายในช่วงประมาณ 5 ํ ถึงประมาณ 80 ํ
6. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ส่วนปลายด้านในสุดของพื้นผิวที่สามซึ่งเป็นวงแหวน โค้งนูนภายในดังกล่าวจะยื่นออกไปที่มุมเมื่อเทียบกับระนาบตามแนวนอนซึ่งอยู่ภายในช่วง ประมาณ 50 ํ ถึงประมาณ90 ํ
7. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่วงแหวนที่ตั้งขึ้นรูปวงกลมเป็นสำคัญ ดังกล่าวมีเส้นผ่านศูนย์กลางซึ่งอยู่ภายในช่วงประมาณ 1.2 นิ้วถึงประมาณ 2.0 นิ้ว
8. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยรัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่งกล่าว R1 อยู่ภายในช่วง ประมาณ 0.015 นิ้วถึงประมาณ 0.0909 นิ้ว
9. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 8 โดยรัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่งดังกล่าว R1 อยู่ภายในช่วง ประมาณ 0.025 นิ้วถึงประมาณ 0.070 นิ้ว 1 0.กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สองดังกล่าว R2 อยู่ภายในช่วง ประมาณ 0.015 นิ้วถึงประมาณ 0.080 นิ้ว 1 1.กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สองดังกล่าว R2 อยู่ภายในช่วง ประมาณ 0.025 นิ้วถึงประมาณ 0.065 นิ้ว 1
2. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สามดังกล่าว R3 อยู่ภายในช่วง ประมาณ 0.015 นิ้วถึงประมาณ 0.090 นิ้ว 1
3. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 12 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สามดังกล่าว R3 อยู่ภายในช่วง ประมาณ 0.025 นิ้วถึงประมาณ 0.070 นิ้ว ................................................................................................................................
1. กระป๋องโลหะที่ประกอบด้วย - ผนังด้านข้างทรงกระบอกในทิศตามแนวตั้งและ - ผนังตรงปลายที่เป็นส่วนเดียวกันกับผนังด้านข้างทรงกระบอกดังกล่าวโดยที่ผนังตาม ปลายดังกล่าวประกอบด้วยบริเวณตรงกลางที่เป็นซอกและบริเวณริมขอบที่เป็นครีบที่ยื่นลงไป ด้านล่างและกลายเป็นแหวนที่ตั้งขึ้นซึ่งมีลักษณะโดยสำคัญเป็นวงกลมและโดยที่บริเวณริมขอบที่เป็น ครีบที่ยื่นลงไปด้านล่างประกอบด้วย พื้นผิวที่หนึ่งซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายนอกซึ่งเมื่อมองในภาคตัดขวางตามแนวตั้งก็ จะมีรัศมีส่วนโค้งที่หนึ่ง R1 พื้นผิวที่สองซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายในซึ่งเมื่อมองในภาคตัดขวางตามแนวตั้งก็จะมี รัศมีของส่วนโค้งที่สาม R3 และ โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง, ที่สองและที่สาม R1, R2 และ R3 แต่ละส่วนมีลักษณะที่ แตกต่างกัน
2. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สาม R3 ดังกล่าวมีขนาดใหญ่ กว่ารัศมีของส่วนโค้งที่สอง R2 ดังกล่าว
3. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สอง R2 ดังกล่าวมีขนาดใหญ่ กว่ารัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R1 ดังกล่าว
4. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่สาม R3 ดังกล่าวมีขนาดใหญ่ กว่ารัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R1 ดังกล่าว
5. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R1 ดังกล่าวมีขนาดอยู่ ภายในช่วงประมาณ 0.015 นิ้วถึงประมาณ 0.090 นิ้ว
6. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 5 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R1 ดังกล่าวมีขนาดอยู่ ภายในช่วงประมาณ 0.025 นิ้วถึงประมาณ 0.070 นิ้ว
7. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R2 ดังกล่าวมีขนาดอยู่ ภายในช่วงประมาณ 0.015 นิ้วถึงประมาณ 0.080 นิ้ว
8. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R2 ดังกล่าวมีขนาดอยู่ ภายในช่วงประมาณ 0.025 นิ้วถึงประมาณ 0.065 นิ้ว
9. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R3 ดังกล่าวมีขนาดอยู่ ภายในช่วงประมาณ 0.015 นิ้วถึงประมาณ 0.090 นิ้ว 1
0. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 9 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R3 ดังกล่าวมีขนาดอยู่ ภายในช่วงประมาณ 0.025 นิ้วถึงประมาณ 0.070 นิ้ว 1
1. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R1 ดังกล่าวมีขนาดอยู่ ออกไปเป็นมุมที่มีขนาดภายในช่วงประมาณ 5 ํ ถึงประมาณ 80 ํ 1
2. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R2 ดังกล่าวมีขนาดอยู่ ออกไปเป็นมุมที่มีขนาดภายในช่วงประมาณ 5 ํ ถึงประมาณ 50 ํ 1
3. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่รัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง R3 ดังกล่าวมีขนาดอยู่ ออกไปเป็นมุมที่มีขนาดภายในช่วงประมาณ 5 ํ ถึงประมาณ 80 ํ 1
4. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ส่วนปลายด้านในสุดของพื้นผิวที่สามซึ่งเป็นวง แหวนโค้งนูนภายในดังกล่าวจะทอดยาวออกไปโดยทำมุมกับระนาบตามแนวนอนที่มีขนาดอยู่ภาย ในช่วงประมาณ 50 ํถึงประมาณ 90 ํ 1
5. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่แหวนที่ตั้งขึ้นซึ่งมีลักษณะโดยสำคัญเป็นวงกลม ดังกล่าวมีเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ภายในช่วงประมาณ 1.2 นิ้วถึงประมาณ 2.0 นิ้ว 1
6. กระป๋องโลหะที่ประกอบด้วย - ผนังด้านข้างทรงกระบอกในทิศตามแนวตั้งและ - ผนังตรงปลายที่เป็นส่วนเดียวกันกับผนังด้านข้างทรงกระบอกดังกล่าวโดยที่ผนังตาม ปลายดังกล่าวประกอบด้วยบริเวณตรงกลางที่เป็นซอกและบริเวณริมขอบที่เป็นครีบที่ยื่นลงไป ด้านล่างซึ่งหลายเป็นแหวนที่ตั้งขึ้นซึ่งมีลักษณะโดยสำคัญเป็นวงกลมและโดยที่บริเวณริมขอบที่เป็น ครีบที่ยื่นลงไปด้านล่างดังกล่าวประกอบด้วย พื้นผิวที่หนึ่งซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายนอกที่มีส่วนโค้งที่หนึ่งซึ่งเมื่อมองพื้นผิวที่หนึ่ง ซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายนอกดังกล่าวในภาคตัดขวางตามแนวตั้งก็จะทอดยาวออกไปเป็นมุมที่หนึ่ง พื้นผิวที่สองซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนด้านล่างที่มีส่วนโค้งที่สองซึ่งเมื่อมองพื้นผิวที่สอง ซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนด้านล่างที่มีส่วนโค้งที่สองดังกล่าวในภาคตัดขวางตามแนวตั้งก็จะทอดยาว ออกไปเป็นมุมที่สอง พื้นผิวที่สามซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายในที่มีส่วนโค้งที่สามซึ่งเมื่อมองพื้นผิวที่สาม ซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนภายในดังกล่าวในภาคตัดขวางตามแนวตั้งก็จะทอดยาวออกไปเป็นมุมที่สาม และโดยที่ มุมที่หนึ่ง, ที่สองและที่สามดังกล่าวแต่ละมุมจะมีขนาดแตกต่างกัน 1
7. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่มุมที่หนึ่งดังกล่าวอยู่ภายในช่วงประมาณ 5 ํถึง ประมาณ 80 ํ 1
8. กระป๋องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่มุมที่หนึ่งดังกล่าวอยู่ภายในช่วงประมาณ 5 ํถึง ประมาณ 50 ํ 1
9. กระป็องโลหะตามข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่มุมที่สามดังกล่าวอยู่ภายในช่วงประมาณ 5 ํถึง ประมาณ 80 ํ 2
0. กระป๋องโลหะที่ประกอบด้วย - ผนังด้านข้างทรงกระบอกในทิศตามแนวตั้งและ - ผนังตรงปลายที่เป็นส่วนเดียวกันกับผนังด้านข้างทรงกระบอกดังกล่าวโดยที่ผนังตรง ปลายดังกล่าวประกอบด้วยบริเวณตรงกลางที่เป็นซอกและบริเวณริมขอบที่เป็นครีบที่ยื่นลงไป ด้านล่างและกลายเป็นแหวนที่ตั้งขึ้นซึ่งมีลักษณะโดยสำคัญเป็นวงกลมและโดยที่บริเวณริมของที่เป็น ครีบที่ยื่นลงไปด้านล่างประกอบด้วย พื้นผิวที่หนึ่งซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนที่มีรัศมีของส่วนโค้งที่หนึ่ง พื้นผิวที่สองซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนที่ถูกจัดเตรียมไว้ให้อยู่ภายในของพื้นผิวที่หนึ่ง ดังกล่าวซึ่งเป็นวงแหวนโค้งนูนและมีรัศมีของส่วนโค้งที่สองและโดยที่ รัศมีของส่วนโค้งที่สองดังกล่าวมีขนาดใหญ่กว่ารัศมีของส่วนโค้งหนึ่งดังกล่าว
TH801003888A 2008-07-25 ชิ้นส่วนฐานที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นสำหรับภาชนะโลหะ TH51157B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH98130A TH98130A (th) 2009-09-03
TH98130B TH98130B (th) 2009-09-03
TH51157B true TH51157B (th) 2016-09-08

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
RU2010106618A (ru) Дно металлического контейнера
JP2010534596A5 (th)
JP2017019567A5 (th)
EP2623428A1 (en) Bottle
RU2014139610A (ru) Металлическая тара с трубчатой частью
RU2013125440A (ru) Торцевая крышка со смещенной канавкой для металлической банки для газированных напитков
JP2012091860A (ja) ボトル
RU2013130671A (ru) Поршень с цилиндрической стенкой
JP2009241940A (ja) 耐圧性ボトル
JP5681352B2 (ja) ボトル
WO2015166682A1 (ja) ボトル
JP2008521716A5 (th)
JP6448217B2 (ja)
TH51157B (th) ชิ้นส่วนฐานที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นสำหรับภาชนะโลหะ
TH98130A (th) ชิ้นส่วนฐานที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นสำหรับภาชนะโลหะ
JP2008239176A (ja) 2軸延伸ブロー成形ボトル
RU2015156480A (ru) Торцевая крышка банки для напитка, имеющая дугообразную стенку панели и изогнутую переходную стенку
JP5785823B2 (ja) ボトル
JP2011057254A (ja) ボトル型合成樹脂製容器
JP2016520026A5 (th)
JP2012232772A (ja) ボトル
JP2013154908A (ja) ボトル
CN209115881U (zh) 自固定管塞
TH98130B (th) ชิ้นส่วนฐานที่ได้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นสำหรับภาชนะโลหะ
RU34496U1 (ru) Бутылка