TH4090B - เส้นใยเชื่อมขวางเดี่ยว และกรรมวิธีการผลิตเส้นใยนี้ - Google Patents

เส้นใยเชื่อมขวางเดี่ยว และกรรมวิธีการผลิตเส้นใยนี้

Info

Publication number
TH4090B
TH4090B TH8701000400A TH8701000400A TH4090B TH 4090 B TH4090 B TH 4090B TH 8701000400 A TH8701000400 A TH 8701000400A TH 8701000400 A TH8701000400 A TH 8701000400A TH 4090 B TH4090 B TH 4090B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
fibers
approximately
cross
crosslinking
linked
Prior art date
Application number
TH8701000400A
Other languages
English (en)
Other versions
TH4691A (th
TH4691EX (th
Inventor
ทอดด์ คุค นายเจฟฟรี
วิลเลียม โอเวนส์ นายเจมส์
เรย์มอนด์ มูร์ นายแดนนี
ไมเคิล บูร์บอน นายโรเบิร์ต
ลีออน ซอกเกน นายโฮเวิร์ด
ลี ดีน นายวอลเตอร์
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH4691A publication Critical patent/TH4691A/th
Publication of TH4691EX publication Critical patent/TH4691EX/th
Publication of TH4090B publication Critical patent/TH4090B/th

Links

Abstract

เส้นใยเชื่อมขวางเส้นเดียวและกรรมวิธีการทำเส้นใยชนิดนี้เส้นใยเชื่อมขวางเส้นเดียวจะมีสารเชื่อมขวางระหว่าง 0.5 โ มลเปอร์เซ็นต์ -3.5 โมลเปอร์เซ็นต์ คำนวณโดยใช้โมลาร์ของ เซลลูโลสแอนไฮโดรกลูโคสเป็นหลักอ้างอิง ทำปฏิกิริยาเส้นใย ในรูปพันธะเชื่อมขวางภายในเส้นใย ซึ่งจะเลือกใช้สารเชื่อม ขวางจากกลุ่มที่ประกอบด้วย C2 - C8 ไดอัลดีไฮต์ กลุ่มที่ คล้ายกับกรด C2 - C8 ไดอัลดีไฮต์ ซึ่งมีอัลดีไฮด์ฟังชันแนล ลิตี้อย่างน้อย 1 กลุ่ม และโอลิโกเมอร์ ของ C2 - C8 ไดอัล ดีไฮด์ และสารที่คล้ายกับกรดไดอัลดีไฮด์ ส่วนใหญ่สารเชื่อม ขวางจะใช้กลูทาร์อัลดีไฮด์และประมาณ 0.75 โมลเปอร์เซ็นต์ -2.5 โมลเปอร์เซ็นต์ ของสารเชื่อมขวางทำปฏิกิริยา เพื่อสร้างพันธะเชื่อมขวางภายในเส้นใย เส้นใยเชื่อมขวาง เส้นเดียวมีประโยชน์มากในการใช้ทำเป็นโครงสร้างชนิดต่าง ๆ ของตัวดูดซับ

Claims (4)

1. เส้นใยเซลลูโลซิกที่ถูกเชื่อมขวางซึ่งบิด (twisted) ,โค้ง (curled) และแยกจากกัน (individuelized) , เส้นใยดังก ล่าประกอบด้วยเส้นใยเซลลูโลซิก ในรูปแบบที่แยกจากกันแน่นอน ซึ่งมีสารเชื่อมขวางระหว่างประมาณ 0.5 โมลถึงประมาณ 3.5 โ มล โดยคำนวณจากพื้นฐานโมลาร์ของเซลลูโลสแอนไฮโดรกลูโคส, สารเชื่อมขวางดังกล่าวได้ถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย C2-C8 ไดอัลดีไฮต์, กรดที่คล้ายคลึงกับไดอัลดีไฮต์ดังกล่าว ซึ่งได้จากกการแทนที่กลุ่มอัลดีไฮต์ 1 ชุด ของไดอัลตีไฮด์ ดังกล่าวแต่ละตัวด้วยกลุ่มคาร์บอกซิล และโอลิโกเมอร์ ของไดอัลดีไฮต์ และกรดที่คล้ายคลึงกับไดอัลดีไฮต์ ดังกล่าว ซึ่งได้จากกการแทนที่กลุ่มอัลดีไฮด์ 1 ชุด ของ ไดอัลดีไฮด์ดังกล่าวแต่ละตัวด้วยกลุ่มคาร์บอกซิล และโอลิ โกเมอร์ของไดอัลดีไฮต์ และกรดที่คล้ายคลึงกันดังกล่าว เส้น ใยดังกล่าวถูกคุมให้อยุ่ในรุปแยกจากกันระหว่างการอบแห้ง และการเชื่อมขวาง สารเชื่อมขวางดังกล่าวทำปฏิกิริยาพอดีกับ เส้นใย ดังกล่าวในรูปของพันธะเชื่อมขวางภายในเส้นใยเพื่อทำ ให้เส้นใยดังกล่าวมีค่าการคงอยู่ของน้ำ (Water Retention Values) จากประมาณ 28 ถึงประมาณ 45 2. เส้นใยเชื่อมขวางซึ่งบิดโค้งและแยกจากกัน เส้นใยดัง กล่าวประกอบด้วยเส้นใยเซลลูโลซิกในรูปแบบที่แยกจากกันแน่ นอน ซึ่งมีสารเชื่อมขวางระหว่างประมาณ 0.5 โมล ถึงประมาณ 3.5 โมล โดยคำนวณจากพื้นฐานโมลามร์ของเซลลูโลสแอนไฮโดรกูล โคส สารเชื่อมขวางดังกล่าวถูกเลื่อกจากกลุ่มซึ่งประกอบด้วย กลูดาราลดีไฮด์ ไกลโอซอล และกรดไกลโอไซลิค เส้นใยดังกล่าว ถูกคุมให้อยู่ในรุปแแบบที่แยกจากกันแน่นอนระหว่างการอบแห้ง และการเชื่อมขวาง สารเชื่อมขวางดังกล่าวถูกทำปฏิกิริยาพอดี กับเส้นใยดังกล่าวในรูปของพันธะเชื่อมขวางภายในเส้นใย ซึ่ง ค่าการคงอยู่ของน้ำ (Water Retentuon Values) ของเส้นใยดัง กล่าวมีค่าจากประมาณ 28 ถึงประมาณ 45 3. เส้นใยเชื่อมขวางที่แยกจากกันของข้อถือสิทธิข้อที่ 3 ซึ่งสารเชื่อมขวางดังกล่าวคือกลูตาราลดีไฮด์ 4. เส้นใยเชื่อมขวางที่แยกจากกันของข้อถือสิทธิข้อที่ 1,2 หรือ 3 ซึ่งเส้นใยดังกล่าวมีสารเชื่อมขวางระหว่างประมาณ 0.75 โมล% ถึงประมาณ 2.5 โมล% คำนวนโดยพืนฐานโมลาร์ของ เซลลูโลส แอนไฮโดรกลูโคส ทำปฏิกิริยาในรูปของพันธะเชื่อม ขวางภายในเส้นใย 5. กระบวนการทำเส้นใยเซลลูโลซิกที่ถูกเชื่อมขวางซึ่งบิด โค้ง และแยกจากกัน กระบวนการดังกล่าวประกอบด้วยขั้นตอนดัง นี้ ก. จัดเตรียมเส้นใยเซลลูโลซิก ข. ให้เส้นใยดังกล่าวสัมผัสกับสารละลายที่ประกอบด้วยสาร เชื่อมขวาง ซึ่งเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย C2 - C8 ไดอัล ดีไฮด์ กรดที่คล้ายคลึงกับไดอัลดีไฮด์ ดังกล่าว ซึ่งได้โดย การแทนที่กลุ่มอัลดีไฮด์ 1 ชุด ของไดอัลดีไฮด์ดังกล่าวแต่ ละตัวด้วยกลุ่มคาร์บอกซิล และโอลิโกเมอร์ของไดอัลดีไฮต์ และกรดที่คล้ายคลังกันดังกล่าว ค. แยกเส้นใยดังกล่าวโดยเชิงกล (mechanically) ยังรูปแบบ ที่แยกจากกันแน่นอน และ ง. อบแห้งเส้นใยดังกล่าว และทำปฏิกิริยาระหว่างสารเชื่อม ขวางดังกล่าวกับเส้นใยดังกล่าว เพื่อเกิดพันธะเชื่อมขวาง ขณะที่เส้นใยดังกล่าวอยู่ในรูปแบบที่แยกจากกันแน่นอน เพื่อ เกิดพันธะเชื่อมขวางภายในเส้นใย เส้นใยดังกล่าวทำปฏิกิริยากับปริมาณที่เพียงพอของสารเชื่อม ขวางเป็นต้น ว่าระหว่างสารเชื่อมขวางประมาณ 0.5 โมล% ถึง ประมาณ 3.5 โมล% คำนวณโดยพื้นฐานโมลาร์ของเซลลูโลสแอน ไฮโดรกลูโคส ทำปฏิกิริยากับเส้นใยดังกล่าวเพื่อเกิดพันธะ เชื่อมขวางภายในเส้นใยดังกล่าว และทำให้เส้นใยดังกล่าวซึ่ง เกิดการเชื่อมขวางภายหลังมีค่าการคงอยู่ของน้ำ (Water Retention Values) จากประมาณ 28 ถึงประมาณ 45 6. กระบวนการทำเส้นใยเซลลูโลซิกที่ถูกเชื่อมขวางซึ่งบิด โค้งและแยกจากกัน กระบวนการดังกล่าวประกอบด้วยขั้นตอนดัง นี้ ก. จัดเตรียมเส้นใยเซลลูโลซิก ข. ให้เส้นใยดังกล่าวสัมผัสกับสารละลายที่ประกอบด้วยสาร เชื่อมขวางซึ่งลเอกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย กลูตาราลดีไฮด์, ไกลโอซอลและกรดไกลโอโซลิล ค. แยกเส้นใยดังกล่าวโดยเชิงกล(mechanically) ยังรูปแบบที่ แยกจากันแน่นอน และ ง.อบแห้งเส้นใยดังกล่าวและทำปฏิกิริยาระหว่างสารเชื่อมขวาง ดังกล่าวกับเส้นใยดังกล่าว เพื่อเกิดพันธะเชื่อมขวางขณะที่ เส้นใยดังกล่าวอยู่ในรูปแบบที่แยกจากกันแน่นอนเพื่อเกิด พันธะเชื่อมขวางภายในเส้นใย เส้นใยดังกล่าวทำปฏิกิริยากับประมาณที่เพียงพอของสารเชื่อม ขวางเป็นต้นว่าระหว่างสารเชื่อมขวางประมาณ 0.5 โมล% ถึง ประมาณ 3.5 โมล% คำนวณโดยพื้นฐานโมลาร์ของเซลลูโลสแอน ไฮโดรกลูโคส ทำปฏิกิริยากับเส้นใยดังกล่าวเพื่อเกิดพันธะ เชื่อมขวางภายในเส้นใยดังกล่า และทำให้เส้นใยดังกล่าวซึ่ง เกิดการเชื่อมขวางภายหลังมีค่าการคงอยู่ของน้ำ(Water Retention Values) จากประมาณ 28 ถึง ประมาณ 45 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 6 สำหรับทำเส้นใยเซลลูโล ซิกที่ถูกเชื่อมขวางซึ่งบิดและแยกจากกัน โดยที่สารเชื่อม ขวางคือ กลูตาราลดีไฮด์ 8. กระบวนการของขือถือสิทธิข้อที่ 7 สำหรับทำเส้นใยเซลลูโล ชิกที่ถูกเชื่อมขวางซึ่งบิดและแยกจากกัน โดยสารเชื่อมขวาง อยู่ระหว่าง 0.75 โมล% ถึง 2.5 โมล%คำนวณโดยพื้นฐานโมลาร์ ของเซลลูโลสแอนไฮดโดรกลูโคส ทำปฏิกิริยากับเส้นใยดังกล่าว เพื่อเกิดพันธะเชื่อมขวางภายในเส้นใยดังกล่าว 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 5 สำหรับทำเส้นใยเชื่อม ขวางซึ่งบิดและแยกจากกัน โดยที่สารเชื่อมขวางดังกล่าวถูกทำ ปฏิกิริยากับเส้นใยดังกล่า เพื่อเกิดพันธะเชื่อมขวางภายใน เส้นใยที่มีค่าความเป็นกรด-ด่างเป็นกรด โดยมีสารเร่ง ปฏิกิริยาอย่างน้อยที่สุด 1 ตัว ซึ่งเลือกจากกลุ่มที่ ประกอบด้วยกรดของแร่ธาตุ กรดอินทรีย์ และเกลือกรด 1 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 9 สำหรับทำเส้นใยเชื่อม ขวางซึ่งบิดและแยกจากกัน ซึ่งเส้นใยดังกล่าว ถูกสัมผัสกับ สารละลายซึ่งประกอบด้วยสารเชื่อมขวางดังกล่าว และอย่างน้อย ที่สุดมีสารเร่งปฏิกิริยาหนึ่งตัวในสารเร่งปฏิกิริยาดัง กล่าว 1 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 10 ซึ่งสารละลายดัง กล่าวประกอบด้วยสารเร่งปฏิกิริยาเกลือกรด และสารเร่ง ปฏิกิริยากรดอินทรีย์ 1 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 10 ซึ่งเกลือกรดดัง กล่าวคือ เกลือสังกะสีไนเตรท 1 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 11 เกลือกรดดังกล่าวคือ เกลือสังกะสี ไนเตรท และกรดอินทรีย์ดังกล่าวคือ กรดซิตริค และค่าความเป็นกรด -ด่างดังกล่าวอยู่ระหว่างประมาณ 2 และ ประมาณ 5 1 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 9 ซึ่งค่าความเป็น กรด-ด่างดังกล่าวอยู่ระหว่างประมาณ 2 ถึง ประมาณ 5 1 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 13 หรือ 14 ซึ่งมีค่า ความเป็นกรด - ด่าง ดังกล่าวอยู่ระหว่างประมาณ 2.5 ถึง ประมาณ 3.5 1 6. เส้นใยเชื่อมขวางซึ่งบิดโค้งและแยกจากกัน เส้นใยดัง กล่าวทำโดยกระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 5 ,8,11,13 หรือ 14 1 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 6 สำหรับทำเส้นใยเชื่อม ขวางซึ่งบิดและแยกจากกัน โดยที่สารเชื่อมขวางดังกล่าวถูกทำ ปฏิกิริยากับเส้นใยดังกล่าว เพื่อเกิดพันธะเชื่อมขวางภายใน เส้นใยที่มีค่าความเป็นกรด-ด่าง เป็นกรด โดยมีสารเร่ง ปฏิกิริยาอย่างน้อยที่สุด 1 ตัว ซึ่งเลือกจากกลุ่มที่ ประกอบด้วย กรดของแร่ธาตุ กรดอินทรีย์ และเกลือกรด 1 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 17 สำหรับทำเส้นใย เชื่อมขวางซึ่งบิดและแยกจากกัน ซึ่งเส้นใยดังกล่าวถูก สัมผัสกับสารละลายซึ่งประกอบด้วย สารเชื่อมขวางดังกล่าวและ อย่างน้อยที่สุดมีสารเร่งปฏิกิริยาหนึ่งตัวในสารเร่ง ปฏิกิริยาดังกล่าว 1 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 18 ซึ่งสารละลายดัง กล่าวประกอบด้วยสารเร่งปฏิกิริยาเกลือกรด และสารเร่ง ปฏิกิริยากรดอินทรีย์ 2 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 18 ซึ่งเกลือกรดดัง กล่าวคือ เกลือสังกะสีไนเตรท 2
1. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 19 ซึ่งเกลือกรดดัง กล่าวคือ เกลือสังกะสีไนเตรท และกรดอินทรีย์ดังกล่าวคือ กรดซิตริค และมีค่าความเป็นกรด-ด่างดังกล่าวอยู่ระหว่าง ประมาณ 2 และประมาณ 5 2
2. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 17 ซึ่งมีค่าความเป็น กรด-ด่างดังกล่าวอยู่ระหว่างประมาณ 2 ถึงประมาณ 5 2
3. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 21 หรือ 22 ซึ่งมีค่า ความเป็นกรด-ด่าง ดังกล่าวอยู่ระหว่างประมาณ 2.5 ถึงประมาณ 3.5 2
4. เส้นใยที่ถูกเชื่อมขวางซึ่งบิดโค้งและแยกจากกัน เส้นใย ดังกล่าวทำโดยกระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 6 ,19,21 หรือ 22 (ข้อถือสิทธิ 24 ข้อ, 5 หน้า, 0 รูป)
TH8701000400A 1987-06-29 เส้นใยเชื่อมขวางเดี่ยว และกรรมวิธีการผลิตเส้นใยนี้ TH4090B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH4691A TH4691A (th) 1988-03-01
TH4691EX TH4691EX (th) 1988-03-01
TH4090B true TH4090B (th) 1994-10-27

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US4963666A (en) Material of polysaccharides containing carboxyl groups, and a process for producing such polysaccharides
MY102864A (en) Absorbent structure containing individualized, crosslinked fibers.
ATE156875T1 (de) Verfahren zum herstellen individualisierter, mit polycarboxylsäure vernetzter fasern
DE2219063C3 (de) Verfahren zur Herstellung einer enzymatisch aktiven Membran, nach diesem Verfahren hergestellte Membran und deren Verwendung für enzym-katalysierte Substratumwandlungen
TH4090B (th) เส้นใยเชื่อมขวางเดี่ยว และกรรมวิธีการผลิตเส้นใยนี้
KR880000629A (ko) 개별화되고 가교결합된 셀룰로오즈섬유 및 이의 제조방법
TH4691A (th) เส้นใยเชื่อมขวางเดี่ยว และกรรมวิธีการผลิตเส้นใยนี้
TH4691EX (th) เส้นใยเชื่อมขวางเดี่ยว และกรรมวิธีการผลิตเส้นใยนี้
ATE1778T1 (de) Verfahren zur herstellung von r.s. 5-phydroxyphenyl-2,4-imidazolidindion oder r.s. 5-p- hydroxyphenylhydantoin.
DE2818086C2 (de) Trägermaterial zum Unbeweglichmachen von Enzymen und Verfahren zu dessen Herstellung
DE69020035T2 (de) Verfahren zur Herstellung von Methylol-Hydentoinen.
MY101086A (en) Individualized, crosslinked fibers and process for making said fibers.
Clark et al. X-ray Diffraction Studies of Globular Proteins: III. The Action of Formaldehyde on Proteins
TAMMEN Food, Society, and Plant Pathology
TH4864EX (th) โครงสร้างดูดซึมที่ประกอบด้วยเส้นใยเชื่อมขวางเฉพาะเส้น
JPH0673215A (ja) チオール基を導入した光ファイバーの製造方法
ES8206406A1 (es) Procedimiento mejorado de oxidacion con peroxiacidos carbo- xilicos
TH30104B (th) วิธีการเติมทองสองขั้นตอนสำหรับการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาไวนิลแอซีเทท