TH31741A - วิธีการและอุปกรณ์สำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร - Google Patents

วิธีการและอุปกรณ์สำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร

Info

Publication number
TH31741A
TH31741A TH9701003991A TH9701003991A TH31741A TH 31741 A TH31741 A TH 31741A TH 9701003991 A TH9701003991 A TH 9701003991A TH 9701003991 A TH9701003991 A TH 9701003991A TH 31741 A TH31741 A TH 31741A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
ash content
food
light
wavelength
value
Prior art date
Application number
TH9701003991A
Other languages
English (en)
Other versions
TH21998B (th
Inventor
ซาทาเก นายซาโตรุ
คามิโอคา นายทาคาฮารุ
โฮซาก้า นายยูคิโอ
ไอมาอิ นายทาเคชิ
ไซโต นายชินจิ
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH31741A publication Critical patent/TH31741A/th
Publication of TH21998B publication Critical patent/TH21998B/th

Links

Abstract

DC60 (19/11/40) วิธีการสำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร จะถูกดำเนินการโดย 1) การจัด เตรียมเส้นโค้งปรับเทียบ โดยการวิเคราะห์แบบไม่เป็นเชิงเส้น ของค่าการดูดซึมและปริมาณ ขี้เถ้าที่ทราบของแต่ละตัวอย่าง โดยคำนึงถึงตัวอย่างอาหาร ซึ่งมีค่าของปริมาณขี้เถ้าที่ทราบ ค่าการดูดซึมจะได้รับโดยการฉายแสง ซึ่งมีความยาวคลื่นเฉพาะที่บรรจุอย่างน้อยที่สุด ความ ยาวคลื่นของแถบรังสีอุลตราไวโอเล็ต, ซึ่งความยาวคลื่นเฉพาะจะเฉพาะเจาะจงลงไปที่ส่วน ผสมที่เป็นอินทรียสาร ที่เข้ากับส่วนผสมที่เป็นอนินทรียสารอย่างดี ซึ่งจะทำให้เกิดปริมาณขี้เถ้า และ 2) เมื่อคำนึงถึงตัวอย่างที่ซึ่งมีค่าของปริมาณขี้เถ้า ที่ยังไม่ทราบ จะเป็นการได้รับค่า ของปริมาณขี้เถ้าของตัวอย่าง จากค่าการดูดซึมที่ได้รับโดยการฉายแสง ซึ่งมีความยาวคลื่น เฉพาะที่บรรจุอย่างน้อยที่สุด ความยาวคลื่นของแถบรังสีอุลตราไวโอเล็ตบนตัวอย่าง และจาก เส้นโค้งปรับเทียบที่ถูกจัดเตรียมล่วงหน้า โดยการวิเคราะห์แบบไม่เป็นเชิงเส้น อุปกรณ์ สำหรับดำเนินการตามวิธีการ จะมีส่วนที่เป็นส่วนที่เป็นแหล่งกำเนิดแสง (81), ส่วนตรวจ จับแสง (88), ส่วนสำหรับเก็บ (76) เพื่อเก็บเส้นโค้งปรับเทียบ และส่วนคำนวณ (77) สำหรับการคำนวณค่าของปริมาณขี้เถ้า ที่ขึ้นอยู่กับค่าการดูดซึม และเส้นโค้งปรับเทียบที่ถูกจัด เก็บในส่วนสำหรับเก็บ เมื่อคำนึงถึงตัวอย่าง ซึ่งมีค่าของปริมาณขี้เถ้า ที่ยังไม่ทราบ มีความ เป็นไปได้ที่จะเร่งปฏิบัติการวัด และปรับปรุงความแม่นยำในการวัด วิธีการสำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร จะถูกดำเนินการโดย 1) การจัด เตรียมเส้นโค้งปรับเทียบ โดยการวิเคราะห์แบบไม่เป็นเชิงเส้น ของค่าการดูดซึมและปริมาณ ขี้เถ้าที่ทราบของแต่ละตัวอย่าง โดยคำนึงถึงตัวอย่างอาหาร ซึ่งมีค่าของปริมาณขี้เถ้าที่ทราบ ค่าการดูดซึมจะได้รับโดยการฉายแสง ซึ่งมีความยาวคลื่นเฉพาะที่บรรจุอย่างน้อยที่สุด ความ ยาวคลื่นของแถบรังสีอุลตราไวโอเล็ต, ซึ่งมีความยาวคลื่นเฉพาะจะเฉพาะเจาะจงลงไปที่ส่วน ผสมที่เป็นอินทรียสาร ที่เข้ากับส่วนผสมที่เป็นอนินทรียสารอย่างดี ซึ่งจะทำให้เกิดปริมาณขี้เถ้า และ 2) เมื่อคำนึงถึงตัวอย่างที่ซึ่งมีค่าของปริมาณขี้เถ้า ที่ยังไม่ทราบ จะเป็นการได้รับค่า ของปริมาณขี้เถ้าของตัวอย่าง จากค่าการดูดซึมที่ได้รับโดยการฉายแสง ซึ่งมีความยาวคลื่น เฉพาะที่บรรจุอย่างน้อยที่สุด ความยาวคลื่นของแถบรังสีอุลตราไวโอเล็ตบนตัวอย่าง และจาก เส้นโค้งปรับเทียบที่ถูกจัดเตรียมล่วงหน้า โดยการวิเคราะห์แบบไม่เป็นเชิงเส้น อุปกรณ์ สำหรับดำเนินการตามวิธีการ จะมีส่วนที่เป็นส่วนที่เป็นแหล่งกำเนิดแสง (81), ส่วนตรวจ จับแสง (88), ส่วนสำหรับเก็บ (76) เพื่อเก็บเส้นโค้งปรับเทียบ และส่วนคำนวณ (77) สำหรับการคำนวณค่าของปริมาณขี้เถ้า ที่ขึ้นอยู่กับค่าการดูดซึม และเส้นโค้งปรับเทียบที่ถูกจัด เก็บในส่วนสำหรับเก็บ เมื่อคำนึงถึงตัวอย่าง ซึ่งมีค่าของปริมาณขี้เถ้า ที่ยังไม่ทราบ มีความ เป็นไปได้ที่จะเร่งปฏิบัติการวัด และปรับปรุงความแม่นยำในการวัด

Claims (2)

1. วิธีการสำหรับการวัดปริมาณขั้เถ้าของอาหาร ซึ่งถูกทำให้มีลักษณะพิเศษโดย การประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้: การจัดเตรียมเส้นโค้งปรับเทียบ โดยการวิเคราะห์แบบไม่เป็นเชิงเส้นของค่า การดูดซึมของแต่ละตัวอย่าง และค่าของปริมาณขี้เถ้าที่เป็นที่รู้จักของแต่ละตัวอย่าง โดยคำนึง ถึงบรรดาตัวอย่างอาหาร ซึ่งทราบค่าปริมาณขี้เถ้า ซึ่งค่าการดูดซึมดังกล่าว จะได้รับโดยการ ฉายแสง ซึ่งมีความยาวคลื่นเฉาะที่ ซึ่งบรรจุอย่างน้อยที่สุดความยาวคลื่นของแถบรังสีอุลตรา ไวโอเล็ต, โดยที่ความยาวคลื่นเฉพาะดังกล่าว จะเฉพาะเจาะจงลงไปที่ส่วนผสมที่เป็นอินทรีย สาร ที่เข้ากับส่วนผสมที่เป็นอนินทรียสาร ซึ่งจะทำให้เกิดปริมาณขี้เถ้า; และ เมื่อคำนึงถึงตัวอย่าง ซึ่งมีค่าของปริมาณขี้เถ้าที่ยังไม่ทราบจะเป็นการได้รับค่า ของปริมาณขี้เถ้า ของตัวอย่างดังกล่าว จากค่าการดูดซึมที่ได้รับโดยการฉายแสง ซึ่งมีความ ยาวคลื่นเฉพาะดังกล่าว ที่บรรจุอย่างน้อยที่สุดความยาวคลื่นของแถบรังสีอุลตราไวโอเล็ต ดังกล่าว บนตัวอย่างดังกล่าว และจากเส้นโค้งปรับเทียบดังกล่าว ที่ถูกจัดเตรียมล่วงหน้าโดย การวิเคราะห์แบบไม่เป็นเชิงเส้น 2. วิธีการสำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร ตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งส่วนผสม ที่เป็นอินทรียสารดังกล่าว จะมีส่วนที่เป็นรงควัตถุที่ได้จากฟลาโวนอยด์, กรดไฟติค และยาง ผลไม้ 3. วิธีการสำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร ตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งแสงดัง กล่าว มีความยาวคลื่นเฉพาะดังกล่าว ในพิสัยจากรังสีอุลตราไวโอเล็ต ถึงรังสีที่มองเห็นได้ 4. วิธีการสำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร ตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งแสงดัง กล่าว มีความยาวคลื่นเฉพาะดังกล่าว ในพิสัยจากรังสีอุลตราไวโอเล็ต ถึงรังสีอินฟราเรด ใกล้ 5. วิธีการสำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร ตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งแสงดัง กล่าว มีความยาวคลื่นเฉพาะดังกล่าว ซึ่งจะประกอบด้วย รังสีอุลตราไวโอเล็ต และรังสี อินฟราเรดใกล้ 6. วิธีการสำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร ตามข้อถือสิทธิ 4 ซึ่งค่าการ ดูดซึมดังกล่าวที่ได้มาจากรังสีอินฟราเรดใกล้ดังกล่าว อันหนึ่งอันใด จะถูกใช้เพื่อแก้ไขอิทธิพล ต่อความแม่นยำในการวัด 7. วิธีการสำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร ตามข้อถือสิทธิ 5 ซึ่งค่าการ ดูดซึมดังกล่าวที่ได้มาจากรังสีอินฟราเรดใกล้ดังกล่าว อันหนึ่งอันใด จะถูกใช้เพื่อแก้ไขอิทธิพล ต่อความแม่นยำในการวัด 8. วิธีการสำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร ตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งขั้นตอน ดังกล่าวในการจัดเตรียมเส้นโค้งปรับเทียบดังกล่าว โดยการวิเคราะห์แบบไม่เป็นเชิงเส้น ดังกล่าว จะถูกดำเนินการ โดยใช้เครือข่ายที่ทำงานแบบระบบประสาท 9. อุปกรณ์สำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร ที่ถูกทำให้มีลักษณะพิเศษ โดยมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้: ส่วนที่เป็นแหล่งกำเนิดแสง (81) สำหรับการฉายแสง ซึ่งมีความยาว คลื่นที่อย่างน้อยที่สุดบรรจุความยาวคลื่นแถบรังสีอุลตราไวโอเล็ตบนตัวอย่าง ซึ่ง สามารถที่จะตรวจจับส่วนผสมที่เป็นอินทรีสาร ที่เข้ากับส่วนผสมที่เป็นอนินทรียสาร ซึ่งจะทำให้เกิดปริมาณขี้เถ้า ; ส่วนตรวจจับแสง (88) สำหรับการตรวจจับแสงสะท้อนและแสงส่งผ่าน อย่างน้อยหนึ่งอันจากตัวอย่างดังกล่าว ส่วนสำหรับเก็บ (76) เพื่อเก็บเส้นโค้งปรับเทียบล่วงหน้า ที่ถูก จัดเตรียมเมื่อคำนึงถึงบรรดาตัวอย่างอาหาร ซึ่งทราบค่าของปริมาณขี้เถ้าโดยการ วิเคราะห์แบบไม่เป็นเชิงเส้น โดยใช้เครือข่ายที่ทำงานแบบระบบประสาท ที่ขึ้นอยู่กับ ค่าการดูดซึมของแต่ละตัวอย่าง และขึ้นอยู่กับค่าของปริมาณขี้เถ้าที่ทราบของแต่ละ ตัวอย่าง ซึ่งค่าการดูดซึมดังกล่าว จะได้รับโดยการฉาแสง ซึ่งมีความยาวคลื่นเฉพาะที่ บรรจุอย่างน้อยที่สุด ความยาวคลื่นแถบรังสีอุลตราไวโอเล็ตดังกล่าว ; ส่วนคำนวณ (77) ถูกทำเป็นโปรแกรมสำหรับการคำนวณค่าการดูดซึม จากแสงสะท้อนดังกล่าว และแสงส่งผ่านดังกล่าวอย่างน้อยหนึ่งอัน ซึ่งได้รับจากส่วน ตรวจจับแสงดังกล่าว โดยการฉายแสง ซึ่งมีความยาวคลื่นเฉพาะดังกล่าว ที่บรรจุอย่าง น้อยที่สุด ความยาวคลื่นของรังสีอุลตราไวโอเล็ตดังกล่าว เมื่อคำนึงถึงตัวอย่าง ดังกล่าว ซึ่งมีค่าของปริมาณขี้เถ้าที่ทราบแล้ว จะเป็นการคำนวณค่าของปริมาณขี้เถ้า ที่ ขึ้นอยู่กับค่าการดูดซึมดังกล่าว และเส้นโค้งปรับเทียบดังกล่าว ที่ถูกจัดเก็บในส่วน สำหรับเก็บดังกล่าว และ ส่วนควบคุม (78) สำหรับการควบคุมส่วนที่เป็นแหล่งกำเนิดแสง ดังกล่าว, ส่วนตรวจจับแสงดังกล่าว, ส่วนสำหรับเก็บดังกล่าว และส่วนคำนวณ ดังกล่าว 1 0. อุปกรณ์สำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร ตามข้อถือสิทธิ 9 ซึ่งส่วนที่ เป็นแหล่งกำเนิดแสงดังกล่าว จะฉายแสงซึ่งมีความยาวคลื่นเฉพาะดังกล่าว ในพิสัยจากรังสี อุลตราไวโอเล็ต ถึงรังสีที่มองเห็นได้ 1
1. อุปกรณ์สำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร ตามข้อถือสิทธิ 9 ซึ่งส่วนที่ เป็นแหล่งกำเนิดแสงดังกล่าว จะฉายแสงซึ่งมีความยาวคลื่นเฉพาะดังกล่าว ในพิสัยจากรังสี อุลตราไวโอเล็ต ถึงรังสีอินฟราเรดใกล้ 1
2. อุปกรณ์สำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร ตามข้อถือสิทธิ 9 ซึ่งส่วนที่ เป็นแหล่งกำเนิดแสงดังกล่าว จะฉายแสงซึ่งมีความยาวคลื่นเฉพาะดังกล่าว ของรังสีอุลตรา ไวโอเล็ต และรังสีอินฟราเรดใกล้
TH9701003991A 1997-10-01 วิธีการและอุปกรณ์สำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร TH21998B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH31741A true TH31741A (th) 1999-01-11
TH21998B TH21998B (th) 2007-06-13

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
FI96993B (fi) Kalibrointimenetelmä kaasujen pitoisuuden mittausta varten
US4594510A (en) Heat energy measuring system
AU1844897A (en) Method and apparatus for multi-spectral analysis in noninvasive infrared spectroscopy
EA199801025A1 (ru) Контроль содержания анализируемых компонентов в тканях человеческого тела с использованием инфракрасного излучения
SE8007376L (sv) Optiskt metsystem for spektralanalys
NO981768L (no) FremgangsmÕte til selektiv deteksjon av gasser og gassensor for bruk ved fremgangsmÕten
CN206920324U (zh) 基于紫外可见吸收光谱和荧光光谱的水质监测探头
ATE88272T1 (de) Multikomponenten-prozessanalysensystem.
EP0834731A3 (en) Method and apparatus for measuring ash content of food stuff
US10197513B2 (en) Method and apparatus for estimation of heat value using dual energy x-ray transmission and fluorescence measurements
CA2095210C (en) Method and apparatus for non-contact, rapid and continuous moisture measurements
TH21998B (th) วิธีการและอุปกรณ์สำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร
TH31741A (th) วิธีการและอุปกรณ์สำหรับการวัดปริมาณขี้เถ้าของอาหาร
YU38192A (sh) Postupak i uredjaj za gasnu analizu
JP2005512644A5 (th)
CA2839388C (en) Method and apparatus for estimation of heat value
GB2070765A (en) Spectrophotometry
JPH09182740A (ja) 生体の光学的測定装置
US20230375467A1 (en) Variable path length absorption spectrometer having automated continuous slope measurement
JPS62145143A (ja) 赤外線ガス分析計
JPS58103646A (ja) 放射測定の較正のための方法および装置
JPS57111423A (en) Measuring device for absorption intensity of infrared ray by atr method
JPS6136612B2 (th)
Michalsky et al. Rotating shadowband radiometer development and analysis of spectral shortwave data
CA2583575A1 (en) Measurement of vaporized h2o2 using near infrared spectroscopy for sterilization