TH31112B - กรรมวิธีการแยกพารา-ไซลีน ที่ประกอบรวมด้วยการเติมไฮโดรเจนที่เลือกคัด และโดยดินเหนียวที่ทำให้มีฤทธิ์แล้ว - Google Patents

กรรมวิธีการแยกพารา-ไซลีน ที่ประกอบรวมด้วยการเติมไฮโดรเจนที่เลือกคัด และโดยดินเหนียวที่ทำให้มีฤทธิ์แล้ว

Info

Publication number
TH31112B
TH31112B TH9601000513A TH9601000513A TH31112B TH 31112 B TH31112 B TH 31112B TH 9601000513 A TH9601000513 A TH 9601000513A TH 9601000513 A TH9601000513 A TH 9601000513A TH 31112 B TH31112 B TH 31112B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
zone
separation
process according
xylene
clay
Prior art date
Application number
TH9601000513A
Other languages
English (en)
Other versions
TH26876A (th
Inventor
เยราร์ด เลเกอร์ นาย
ชาร์ลส์ คาเมรอน นาย
ฌอง กอซีนส์ นาย
ฌองฟรังซัวส์ โยลี นาย
ปิแอร์ เรอนาร์ด นาย
ฟรังซัวส์ มองต์กอต์ นาย
คาเมลอน นายชาร์ลส์
Original Assignee
นาย ดำเนินการเด่น
นาย ต่อพงศ์โทณะวณิก
นาย วิรัชศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายดำเนิน การเด่น
นายดำเนิน การเด่น นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นาย วิรัชศรีเอนกราธา นาย ต่อพงศ์โทณะวณิก นาย ดำเนินการเด่น
Filing date
Publication date
Application filed by นาย ดำเนินการเด่น, นาย ต่อพงศ์โทณะวณิก, นาย วิรัชศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายดำเนิน การเด่น, นายดำเนิน การเด่น นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นาย วิรัชศรีเอนกราธา นาย ต่อพงศ์โทณะวณิก นาย ดำเนินการเด่น filed Critical นาย ดำเนินการเด่น
Publication of TH26876A publication Critical patent/TH26876A/th
Publication of TH31112B publication Critical patent/TH31112B/th

Links

Abstract

บรรยายถึงกรรมวิธีสำหรับการแยกของ p-ไซลีน จากสารป้อนที่จะจัดการที่มีสารผสมของ ไซลีน ซึ่งอย่างน้อยส่วนหนึ่งของสารป้อนที่มีสารผสมของ ไซลีน นั้น ไหลวนในแนวที่เรียกว่า แนวการเพิ่มมากขึ้น (14) เพื่อเพิ่มส่วนแรก (15) ให้มี p-ไซลีน มากขึ้น และเพื่อให้ส่วนที่สอง (18) ซึ่งพล่อง p-ไซลีนส่วนที่สองนั้นไหลวนในแนวการไอโซเมอไรซ์ (19) และการแยก บริสุทธิ์กลับคืน ไอโซเมอเรท (20) ซึ่งจะนำกลับมาใช้ใหม่ที่เขตเพิ่มคุณค่า อย่างน้อยส่วนหนึ่งที่เลือกจากหมู่ที่ก่อเกิดโดยสารป้อนที่จะจัดการ, ไอโซเมอเรท, และ สารผสมของสารเหล่านั้น ไหลวนในอย่างน้อยหนึ่งแนวการเติมไฮโดรเจนที่เลือกคัด (3) ในขณะ ที่มี ไฮโดรเจน แล้วในอย่างน้อยหนึ่งแนวการจัดการด้วยดินเหนียว (8) ดำเนินการขั้นตอน (5) สำหรับการแยกของ ไฮโดรเจนที่เกินพอ ออก ในอย่างน้อยหนึ่งแนวการแยกออก ก่อนหรือ หลังการจัดการด้วยดินเหนียว, และการแยกบริสุทธิ์กลับคืนสารปล่อยออก ซึ่งส่งไปยังแนวการเพิ่มคุณค่า (14)

Claims (5)

1. กรรมวิธีสำหรับการแยก และการเก็บกลับคืน (recovery) p-ไซลีน จากสารป้อน แรกเริมที่จะจัดการที่มีสารผสมของ ไซลีน ที่มีสารเจือปน โอเลฟินิคที่ประกอบรวมด้วยโมโน และ ไดโอเลฟิน , กรรมวิธีดังกล่าวประกอบรวมด้วย การหมุนเวียนอย่างน้อยที่สุดหนึ่งของสารป้อน ที่ประกอบรวมด้วยของผสมของไซลีนในเขตพิ่มคุณค่า (enrichment zone) (14) เพื่อเพิ่ม p- ไซลีนใน ส่วนที่หนึ่ง (15) ให้มาขึ้น และเพื่อให้ส่วนที่สอง (18) มี p-ไซลีนพร่องลง และประกอบด้วยสารเจือ ปนโอเลฟินิคดังกล่าว , หมุนเวียนส่วนที่สองดังกล่าวในเยตไอโซเมอไรเซชัน (isomerization zone) (19) การเก็บกลับคืนไอโซเมอเรท (20) และการนำไอโซเมอเรทดักล่าวกลับมาใช้ไหม่ที่เขตเพิ่ม คุณค่า การปรับปรุงประกอบรวมด้วยการหมุนเวียนอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของสารป้อนแรกเริ่ม ไอโซเมอเรทหรือของผสมของสารในเขตไฮโดรจีเนชันแบบเลือกสรรอย่างน้อยที่สุดหนึ่งเขต (3) ในสภาพที่มีไฮโดรเจนภายใต้สภาวะเช่นนั้น เพื่อที่จะไฮโดรจีเนทเฉพาะส่วนหนึ่งของสารเจือปน โอเลฟินิคดังกล่าว , หมุนเวียนกระแสที่ถูกไฮโดรจีเนทที่เกิดขึ้นในเขตดำเนินการวิธีด้วยดินเหนียว (clay) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งเขต (8) เพื่อกำจัดสารเจือปน โอเลฟินดังกล่าวเพิ่มมากขึ้นจากกระแสที่ถูก ไฮโดรจีเนท, แยกไฮโดรเจนที่มากเกินพอในเขตการแยกอย่างน้อยที่สุดหนึ่งเขต (5) ก่อน และหลัง จากการดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียวดังกล่าว และผ่านสารปล่อยออก (effluent) ดังกล่าว ไปยังเขต เพิ่มคุณค่า (14) 2.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งของผสมดังกล่าวของไฮโดรเจน และสารไอป้อนที่จะ จัดการถูกไฮโดรเจนในเขตไฮโดรเจนจีเนชัน (3) หลังจากนั้นดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว (8) ก่อน หรือหลังจากการแยกไฮโดรเจน (5) และลหังจากนั้นส่งสารปล่อยออกไปยังเขตเพิ่มคุณค่า (14) 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสารป้อนที่จะจัดการถูกไฮโดรจีเนทในเขตไฮโดรจีเนชัน (3) หลังจากนั้นถูกดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว (8) ก่อน หรือหลังจากการแยกไฮโดรเจน (5) นำ ไฮโซเมอเรท (20) กลับมาใช้ใหม่ดดยไปตามกระแสของเขตไฮโดรจีเนชันดังกล่าว ไปยังเขตการ ดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว และสารป่อยออกไอโซเมอรเรทถูกเก็บกลับคืน และถูกส่งไปยังเขต เพิ่มคุณค่า (14) 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสารป้อนที่จะถูกจัดการถูกไฮโดรจีเนทในเขตไฮโดรจีเนชัน (3) หลังจากนั้นถูกดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียวในเขตดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว (8) ก่อน หรือ หลังจากการแยกไฮโดรเจน ; ไอโวเมอเรท (20) ถูกนำกลับมาใช้ไหม่โดยไปตามกระแสของเขตการ ดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว (8) และถูกดำเนินกรรมวิธีในเขตการดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว ที่ต่างออกไป (24) 5.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งไอโวเมอเรท (20) ถูกไฮโดรเจีเนทในเขตไฮโดรจีเนชั่น (3) หลังจากนั้นดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว (8) ก่อนหรือหลังจากากรแยกไฮโดรเจน 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 กำหนดลักษณะตรงที่ในเขตการแยกดังกล่าว , การแยก ไฮโดรเจนดังกล่าวถูกดำเนินการพร้อมกับการแยกสารประกอบ C7 7.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งดำเนินการแยกไฮโดรเจนในเขตการแยกที่หนึ่ง หลังจากนั้นแยกสารประกอบ C7 ในเขตการแยกเพิ่มเติมอย่างน้อยที่สุดหนึ่งเขต 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งดำเนินการแยกไฮโดรเจนในเขตการแยกเขตที่หนึ่ง หลังจากนั้นแยกสารประกอบ C5 ในเขตการแยกเขตที่สอง และแยกสารประกอบ C7 ที่เหลืออยู่ใน เขตการแยกเขตที่สาม 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งดำเนินการการแยกไฮโดรเจนในเขตการแยกเขตที่หนึ่ง หลังจากนั้นแยกสารประกอบ C4 ในเขตการแยกเขตที่สอง และแยกสารประกอบ C7 ที่เหลืออยู่ใน เขตการแยกเขตที่สาม 1 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งดำเนินการแยกสารประกอบ C7 ในเขตการแยกที่ไป ตามกระแสของเขตไอโซเมอไรเซชัน (19) และทวนกระแสของเขตดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว 1 1.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสารป้อนที่จะจัดการถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย ครูดรีฟอร์เมท (crude reformate) , ครูดรีฟอร์เมทซึ่งกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของสารประกอบ C3 ครูดรีฟอร์แมทซึ่งจำกัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของสารประกอบ C4 ครูดรีฟอร์เมทซึ่งจำกัด อย่างน้อยที่สุดส่วนหนึงของสารประกอบ C5 หรือส่วนกลั่น C8 ที่มีสารประกอบแอรอแมทิคเป็น จำนวนมาก ที่ประกอบด้วยไซลีน่วนใหญ่หรือของสผมของสาร 1
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง สารปล่อยออที่ถูกเพิ่มคุณค่าถูกหมุนเวียนเข้าไปใน ตัวแยก (11) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวที่ตั้งตรงอยู่ตรงเขตเพิ่มคุณค่า 1 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสร้างเขตการเพิ่มคุณค่าพาราไซลีนโดยเขตการตกผลึก อย่างน้อยที่สุดหนึ่งเขต ซึ่งหลังจากขั้นตอนการแยกสร้างของเหลวที่เป็นส่วนที่สองดังกล่าว ซึ่งถูก ไอโซเมอไรซ์ในเขตไอโซเมอไรเซชัน และผลึกซึ่งสถูกหลอมเหลวสร้างอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของ ส่วนที่หนึ่ง 1 4.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งเขตการเพิ่มคุณค่าของพาราไซลีนถูกสร้างขึ้นโดยเขต การดูดซึมแบบเลือกสรร ที่ประกอบด้วยตัวดูดกลืนซีโอลิติค (zeolitic adsorbent) , สารป้อนถูกดูดกลืน อย่างเลือกสรรในสภาพที่มีตัวทำละลายเพื่อการคาย (desorption solvent), ส่วนที่หนึ่ง ซึ่งเพิ่มพารา- ไซลีนให้มากขึ้น และส่วนที่สองซึ่งมีพารา -ไซลีน น้อยลงถูกเก็บกลับคืน ส่วนที่สองถูกไอโซเมอไรซ์ ในเขตไอโซเมอไรเซชัน ซึ่งประกอบด้วย ตัวเร่งปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซชัน ภายใต้สภาวะที่เหมาะสม สำหรับการผลิตไอโซเมอเรทที่ประกอบด้วยพารา -ไซลีน และอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของ ไอโซเมอเรท ถูกนำกลับมาใช้ไหม่ที่เขตการดูดซึม 1 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งดำเนินการไอโดรจีเนชันแบบเลือกสรรในสภาพที่มีตัวเร่ง ปฏิกิริยาที่ประกอบด้วย ธาตุจากหมู่ VIII อย่างน้อยหนึ่งชนิด ซึ่งได้ใส่กำมะถันเข้าไปก่อนการผ่าน ของสารป้อนที่จะถูกไอโดรจีเนท 1 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 15 ซึ่งกำมะถันถูกเติมเข้าไปโดยการทำปฏิกิริยาตัวเร่งปฏิกิริยา กับสารบรรจุกำมะถันในขเตไอโดรจีเนชัน 1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 15 ซึ่งกำมะถันถูกเติมเข้าไปในตัวเร่งปฏิกิริยาโดยผ่านทาง สารบรรจุกำมะถัน ก่อนที่จะใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวเข้าไปในเขตไอโดรจีเนชัน 1 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 17 ซึ่งสารบรรจุกำมะถันอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิดที่ขึ้นอยู่กับ สารประกอบอินทรีย์ที่ประกอบด้วยกำมะถัน ถูกรวมเข้าไปในตัวเร่งปฏิกิริยาก่อนการใช้ตัวเร่ง ปฏิกิริยาและก่อนการทำให้มีฤทธิ์โดยไอโดรเจน 1 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 15 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาประกอบด้วย 0.1 % ถึง 1 % โดยน้ำหนัก เมื่อเทียบกับตัวรองรับแพลเลเดียม , ตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวถูกดำเนินกรรมวิธี ด้วยสารที่ประกอบด้วยกำมะถันดังกล่าวก่อนการทำให้มีฤทธิ์ เพื่อบรรจุ 0.05 % ถึง 1 % โดยน้ำหนัก เมื่อเทียบกับมวลของกำมะถัน 2 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 โดยที่สารป้อนแรกเริ่มมีจำนวนโบรมีน 1000 ถึง 100 มิลลิกรัมต่อสารป้อน 100 กรัม 2 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 20 โดยที่หลังจากไฮโดรจีเนชันดังกล่าว การแปลงของ ไดโอเลฟินมากกว่า 75 % และการแปลงของโมโนโอเลฟินคือ 15 ถึง 40 % 2 2.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 โดยที่หลังจากไฮโดรจีเนชันดังกล่าว , การแปลงของ ไดโอเลฟินมากกว่า 75 % และการแปลงของโมโนโอเลฟินคือ 15 ถึง 40 % 2
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 21, โดยที่หลังจากไฮโดรจีเนชันดังกล่าว , แปลงสารประกอบ แอโรแมทิคในสารป้อนแรกเริ่มที่ขอบเขตน้อยกว่า 0.15 % 2
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 21, โดยที่หลังจากไฮโดรจีเนชันดังกล่าว , แปลงสารประกอบ แอโรแมทิคในสารป้อนแรกเริ่มที่ขอบเขตน้อยกว่า 0.1 % 2
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 20, โดยที่หลังจากไฮโดรจีเนชันดังกล่าว , การแปลงของ ไดโอเลฟินมากกว่า 90 % และการแปลงของโมโนโอเลฟินคือ 15 ถึง 40 %
TH9601000513A 1996-02-19 กรรมวิธีการแยกพารา-ไซลีน ที่ประกอบรวมด้วยการเติมไฮโดรเจนที่เลือกคัด และโดยดินเหนียวที่ทำให้มีฤทธิ์แล้ว TH31112B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH26876A TH26876A (th) 1997-10-31
TH31112B true TH31112B (th) 2011-11-04

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
EP0765850B1 (fr) Production de paraxylène à partir d'un effluent de dismutation parasélective du toluène par un procédé de cristallisation associé à une adsorption en lit mobile simulé
EP0800499B1 (fr) Procede de separation de paraxylene comportant au moins deux etages de cristallisation a haute temperature
MXPA96004312A (en) Production of paraxylene from an effluent of paralelective dismutation of toluene, by a procedure of crystallization associated to an adsorption in simulated mobile bed
FR2795069A1 (fr) Procede de coproduction et de separation d'ethylbenzene et de paraxylene
EP0800498B1 (fr) Procede de separation de paraxylene comportant au moins un etage de cristallisation a haute temperature et au moins un traitement a la terre situe en amont de la zone d'adsorption
FR2773149A1 (fr) Procede de coproduction et de separation d'ethylbenzene et de paraxylene
TH31112B (th) กรรมวิธีการแยกพารา-ไซลีน ที่ประกอบรวมด้วยการเติมไฮโดรเจนที่เลือกคัด และโดยดินเหนียวที่ทำให้มีฤทธิ์แล้ว
TWI567056B (zh) 製備芳族化合物之方法及裝置
TH26876A (th) กรรมวิธีการแยกพารา-ไซลีน ที่ประกอบรวมด้วยการเติมไฮโดรเจนที่เลือกคัด และโดยดินเหนียวที่ทำให้มีฤทธิ์แล้ว
EP0810984B1 (fr) Procede de separation du p-xylene comportant un pretraitement par hydrogenation selective et par de la terre activee
RU2003112237A (ru) Процесс адсорбционного разделения парафиновых углеводородов для выделения двух парафиновых продуктов
US2388913A (en) Separating acetylenes from light hydrocarbons
FR2693186A1 (fr) Procédé de séparation du paraxylène dans des hydrocarbures aromatiques en C8 avec une adsorption à contre-courant simulé et une cristallisation.
JP3484728B2 (ja) メタキシレンの分離方法
JPH08143483A (ja) p−キシレンの製造方法及び装置
JPS60184030A (ja) 1,3−ブタジエンの回収方法
MXPA97006334A (en) Procedure for the separation of para-xylene quecomprende a pretratamiento by hydrogenacionselectiva and by land activ
FR2693187A1 (fr) Procédé de séparation du paraxylène dans des hydrocarbures aromatiques en C8 avec une adsorption à co-courant simulé et une cristallisation.
JPH0670225B2 (ja) ヘプタン製品の製造方法