TH26876A - กรรมวิธีการแยกพารา-ไซลีน ที่ประกอบรวมด้วยการเติมไฮโดรเจนที่เลือกคัด และโดยดินเหนียวที่ทำให้มีฤทธิ์แล้ว - Google Patents
กรรมวิธีการแยกพารา-ไซลีน ที่ประกอบรวมด้วยการเติมไฮโดรเจนที่เลือกคัด และโดยดินเหนียวที่ทำให้มีฤทธิ์แล้วInfo
- Publication number
- TH26876A TH26876A TH9601000513A TH9601000513A TH26876A TH 26876 A TH26876 A TH 26876A TH 9601000513 A TH9601000513 A TH 9601000513A TH 9601000513 A TH9601000513 A TH 9601000513A TH 26876 A TH26876 A TH 26876A
- Authority
- TH
- Thailand
- Prior art keywords
- zone
- separation
- process according
- clay
- xylene
- Prior art date
Links
Abstract
บรรยายถึงกรรมวิธีสำหรับการแยกของ p-ไซลีน จากสารป้อนที่จะจัดการที่มีสารผสมของ ไซลีน ซึ่งอย่างน้อยส่วนหนึ่งของสารป้อนที่มีสารผสมของ ไซลีน นั้น ไหลวนในแนวที่เรียกว่า แนวการเพิ่มมากขึ้น (14) เพื่อเพิ่มส่วนแรก (15) ให้มี p-ไซลีน มากขึ้น และเพื่อให้ส่วนที่สอง (18) ซึ่งพล่อง p-ไซลีนส่วนที่สองนั้นไหลวนในแนวการไอโซเมอไรซ์ (19) และการแยก บริสุทธิ์กลับคืน ไอโซเมอเรท (20) ซึ่งจะนำกลับมาใช้ใหม่ที่เขตเพิ่มคุณค่า อย่างน้อยส่วนหนึ่งที่เลือกจากหมู่ที่ก่อเกิดโดยสารป้อนที่จะจัดการ, ไอโซเมอเรท, และ สารผสมของสารเหล่านั้น ไหลวนในอย่างน้อยหนึ่งแนวการเติมไฮโดรเจนที่เลือกคัด (3) ในขณะ ที่มี ไฮโดรเจน แล้วในอย่างน้อยหนึ่งแนวการจัดการด้วยดินเหนียว (8) ดำเนินการขั้นตอน (5) สำหรับการแยกของ ไฮโดรเจนที่เกินพอ ออก ในอย่างน้อยหนึ่งแนวการแยกออก ก่อนหรือ หลังการจัดการด้วยดินเหนียว, และการแยกบริสุทธิ์กลับคืนสารปล่อยออก ซึ่งส่งไปยังแนวการเพิ่มคุณค่า (14)
Claims (5)
1. กรรมวิธีสำหรับการแยก และการเก็บกลับคืน (recovery) p-ไซลีน จากสารป้อน แรกเริมที่จะจัดการที่มีสารผสมของ ไซลีน ที่มีสารเจือปน โอเลฟินิคที่ประกอบรวมด้วยโมโน และ ไดโอเลฟิน , กรรมวิธีดังกล่าวประกอบรวมด้วย การหมุนเวียนอย่างน้อยที่สุดหนึ่งของสารป้อน ที่ประกอบรวมด้วยของผสมของไซลีนในเขตพิ่มคุณค่า (enrichment zone) (14) เพื่อเพิ่ม p- ไซลีนใน ส่วนที่หนึ่ง (15) ให้มาขึ้น และเพื่อให้ส่วนที่สอง (18) มี p-ไซลีนพร่องลง และประกอบด้วยสารเจือ ปนโอเลฟินิคดังกล่าว , หมุนเวียนส่วนที่สองดังกล่าวในเยตไอโซเมอไรเซชัน (isomerization zone) (19) การเก็บกลับคืนไอโซเมอเรท (20) และการนำไอโซเมอเรทดักล่าวกลับมาใช้ไหม่ที่เขตเพิ่ม คุณค่า การปรับปรุงประกอบรวมด้วยการหมุนเวียนอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของสารป้อนแรกเริ่ม ไอโซเมอเรทหรือของผสมของสารในเขตไฮโดรจีเนชันแบบเลือกสรรอย่างน้อยที่สุดหนึ่งเขต (3) ในสภาพที่มีไฮโดรเจนภายใต้สภาวะเช่นนั้น เพื่อที่จะไฮโดรจีเนทเฉพาะส่วนหนึ่งของสารเจือปน โอเลฟินิคดังกล่าว , หมุนเวียนกระแสที่ถูกไฮโดรจีเนทที่เกิดขึ้นในเขตดำเนินการวิธีด้วยดินเหนียว (clay) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งเขต (8) เพื่อกำจัดสารเจือปน โอเลฟินดังกล่าวเพิ่มมากขึ้นจากกระแสที่ถูก ไฮโดรจีเนท, แยกไฮโดรเจนที่มากเกินพอในเขตการแยกอย่างน้อยที่สุดหนึ่งเขต (5) ก่อน และหลัง จากการดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียวดังกล่าว และผ่านสารปล่อยออก (effluent) ดังกล่าว ไปยังเขต เพิ่มคุณค่า (14) 2.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งของผสมดังกล่าวของไฮโดรเจน และสารไอป้อนที่จะ จัดการถูกไฮโดรเจนในเขตไฮโดรเจนจีเนชัน (3) หลังจากนั้นดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว (8) ก่อน หรือหลังจากการแยกไฮโดรเจน (5) และลหังจากนั้นส่งสารปล่อยออกไปยังเขตเพิ่มคุณค่า (14) 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสารป้อนที่จะจัดการถูกไฮโดรจีเนทในเขตไฮโดรจีเนชัน (3) หลังจากนั้นถูกดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว (8) ก่อน หรือหลังจากการแยกไฮโดรเจน (5) นำ ไฮโซเมอเรท (20) กลับมาใช้ใหม่ดดยไปตามกระแสของเขตไฮโดรจีเนชันดังกล่าว ไปยังเขตการ ดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว และสารป่อยออกไอโซเมอรเรทถูกเก็บกลับคืน และถูกส่งไปยังเขต เพิ่มคุณค่า (14) 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสารป้อนที่จะถูกจัดการถูกไฮโดรจีเนทในเขตไฮโดรจีเนชัน (3) หลังจากนั้นถูกดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียวในเขตดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว (8) ก่อน หรือ หลังจากการแยกไฮโดรเจน ; ไอโวเมอเรท (20) ถูกนำกลับมาใช้ไหม่โดยไปตามกระแสของเขตการ ดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว (8) และถูกดำเนินกรรมวิธีในเขตการดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว ที่ต่างออกไป (24) 5.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งไอโวเมอเรท (20) ถูกไฮโดรเจีเนทในเขตไฮโดรจีเนชั่น (3) หลังจากนั้นดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว (8) ก่อนหรือหลังจากากรแยกไฮโดรเจน 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 กำหนดลักษณะตรงที่ในเขตการแยกดังกล่าว , การแยก ไฮโดรเจนดังกล่าวถูกดำเนินการพร้อมกับการแยกสารประกอบ C7 7.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งดำเนินการแยกไฮโดรเจนในเขตการแยกที่หนึ่ง หลังจากนั้นแยกสารประกอบ C7 ในเขตการแยกเพิ่มเติมอย่างน้อยที่สุดหนึ่งเขต 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งดำเนินการแยกไฮโดรเจนในเขตการแยกเขตที่หนึ่ง หลังจากนั้นแยกสารประกอบ C5 ในเขตการแยกเขตที่สอง และแยกสารประกอบ C7 ที่เหลืออยู่ใน เขตการแยกเขตที่สาม 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งดำเนินการการแยกไฮโดรเจนในเขตการแยกเขตที่หนึ่ง หลังจากนั้นแยกสารประกอบ C4 ในเขตการแยกเขตที่สอง และแยกสารประกอบ C7 ที่เหลืออยู่ใน เขตการแยกเขตที่สาม 1 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งดำเนินการแยกสารประกอบ C7 ในเขตการแยกที่ไป ตามกระแสของเขตไอโซเมอไรเซชัน (19) และทวนกระแสของเขตดำเนินกรรมวิธีด้วยดินเหนียว 1 1.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสารป้อนที่จะจัดการถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย ครูดรีฟอร์เมท (crude reformate) , ครูดรีฟอร์เมทซึ่งกำจัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของสารประกอบ C3 ครูดรีฟอร์แมทซึ่งจำกัดอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของสารประกอบ C4 ครูดรีฟอร์เมทซึ่งจำกัด อย่างน้อยที่สุดส่วนหนึงของสารประกอบ C5 หรือส่วนกลั่น C8 ที่มีสารประกอบแอรอแมทิคเป็น จำนวนมาก ที่ประกอบด้วยไซลีน่วนใหญ่หรือของสผมของสาร 1
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง สารปล่อยออที่ถูกเพิ่มคุณค่าถูกหมุนเวียนเข้าไปใน ตัวแยก (11) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวที่ตั้งตรงอยู่ตรงเขตเพิ่มคุณค่า 1 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสร้างเขตการเพิ่มคุณค่าพาราไซลีนโดยเขตการตกผลึก อย่างน้อยที่สุดหนึ่งเขต ซึ่งหลังจากขั้นตอนการแยกสร้างของเหลวที่เป็นส่วนที่สองดังกล่าว ซึ่งถูก ไอโซเมอไรซ์ในเขตไอโซเมอไรเซชัน และผลึกซึ่งสถูกหลอมเหลวสร้างอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของ ส่วนที่หนึ่ง 1 4.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งเขตการเพิ่มคุณค่าของพาราไซลีนถูกสร้างขึ้นโดยเขต การดูดซึมแบบเลือกสรร ที่ประกอบด้วยตัวดูดกลืนซีโอลิติค (zeolitic adsorbent) , สารป้อนถูกดูดกลืน อย่างเลือกสรรในสภาพที่มีตัวทำละลายเพื่อการคาย (desorption solvent), ส่วนที่หนึ่ง ซึ่งเพิ่มพารา- ไซลีนให้มากขึ้น และส่วนที่สองซึ่งมีพารา -ไซลีน น้อยลงถูกเก็บกลับคืน ส่วนที่สองถูกไอโซเมอไรซ์ ในเขตไอโซเมอไรเซชัน ซึ่งประกอบด้วย ตัวเร่งปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซชัน ภายใต้สภาวะที่เหมาะสม สำหรับการผลิตไอโซเมอเรทที่ประกอบด้วยพารา -ไซลีน และอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของ ไอโซเมอเรท ถูกนำกลับมาใช้ไหม่ที่เขตการดูดซึม 1 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งดำเนินการไอโดรจีเนชันแบบเลือกสรรในสภาพที่มีตัวเร่ง ปฏิกิริยาที่ประกอบด้วย ธาตุจากหมู่ VIII อย่างน้อยหนึ่งชนิด ซึ่งได้ใส่กำมะถันเข้าไปก่อนการผ่าน ของสารป้อนที่จะถูกไอโดรจีเนท 1 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 15 ซึ่งกำมะถันถูกเติมเข้าไปโดยการทำปฏิกิริยาตัวเร่งปฏิกิริยา กับสารบรรจุกำมะถันในขเตไอโดรจีเนชัน 1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 15 ซึ่งกำมะถันถูกเติมเข้าไปในตัวเร่งปฏิกิริยาโดยผ่านทาง สารบรรจุกำมะถัน ก่อนที่จะใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวเข้าไปในเขตไอโดรจีเนชัน 1 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 17 ซึ่งสารบรรจุกำมะถันอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิดที่ขึ้นอยู่กับ สารประกอบอินทรีย์ที่ประกอบด้วยกำมะถัน ถูกรวมเข้าไปในตัวเร่งปฏิกิริยาก่อนการใช้ตัวเร่ง ปฏิกิริยาและก่อนการทำให้มีฤทธิ์โดยไอโดรเจน 1 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 15 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาประกอบด้วย 0.1 % ถึง 1 % โดยน้ำหนัก เมื่อเทียบกับตัวรองรับแพลเลเดียม , ตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวถูกดำเนินกรรมวิธี ด้วยสารที่ประกอบด้วยกำมะถันดังกล่าวก่อนการทำให้มีฤทธิ์ เพื่อบรรจุ 0.05 % ถึง 1 % โดยน้ำหนัก เมื่อเทียบกับมวลของกำมะถัน 2 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 โดยที่สารป้อนแรกเริ่มมีจำนวนโบรมีน 1000 ถึง 100 มิลลิกรัมต่อสารป้อน 100 กรัม 2 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 20 โดยที่หลังจากไฮโดรจีเนชันดังกล่าว การแปลงของ ไดโอเลฟินมากกว่า 75 % และการแปลงของโมโนโอเลฟินคือ 15 ถึง 40 % 2 2.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 โดยที่หลังจากไฮโดรจีเนชันดังกล่าว , การแปลงของ ไดโอเลฟินมากกว่า 75 % และการแปลงของโมโนโอเลฟินคือ 15 ถึง 40 % 2
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 21, โดยที่หลังจากไฮโดรจีเนชันดังกล่าว , แปลงสารประกอบ แอโรแมทิคในสารป้อนแรกเริ่มที่ขอบเขตน้อยกว่า 0.15 % 2
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 21, โดยที่หลังจากไฮโดรจีเนชันดังกล่าว , แปลงสารประกอบ แอโรแมทิคในสารป้อนแรกเริ่มที่ขอบเขตน้อยกว่า 0.1 % 2
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 20, โดยที่หลังจากไฮโดรจีเนชันดังกล่าว , การแปลงของ ไดโอเลฟินมากกว่า 90 % และการแปลงของโมโนโอเลฟินคือ 15 ถึง 40 %
Publications (2)
Publication Number | Publication Date |
---|---|
TH26876A true TH26876A (th) | 1997-10-31 |
TH31112B TH31112B (th) | 2011-11-04 |
Family
ID=
Similar Documents
Publication | Publication Date | Title |
---|---|---|
EP0800499B1 (fr) | Procede de separation de paraxylene comportant au moins deux etages de cristallisation a haute temperature | |
EP0765850B1 (fr) | Production de paraxylène à partir d'un effluent de dismutation parasélective du toluène par un procédé de cristallisation associé à une adsorption en lit mobile simulé | |
MXPA97004055A (en) | Paraxylene separation procedure comprising at least two stages of avert temperat crystallization | |
FR2729660A1 (fr) | Procede de production de paraxylene comportant une cristallisation a haute temperature a au moins un etage et une fusion partielle des cristaux | |
FR2795069A1 (fr) | Procede de coproduction et de separation d'ethylbenzene et de paraxylene | |
US4118429A (en) | Production and recovery of para-xylene | |
DE1493001A1 (de) | Verfahren zur Entfernung von Alkynen aus Alkadiene enthaltenden Kohlenwasserstoffen | |
CA2209100C (fr) | Procede de separation de paraxylene comportant au moins un etage de cristallisation a haute temperature et au moins un traitement a la terre situe en amont de la zone d'adsorption | |
FR2773149A1 (fr) | Procede de coproduction et de separation d'ethylbenzene et de paraxylene | |
TWI567056B (zh) | 製備芳族化合物之方法及裝置 | |
TH26876A (th) | กรรมวิธีการแยกพารา-ไซลีน ที่ประกอบรวมด้วยการเติมไฮโดรเจนที่เลือกคัด และโดยดินเหนียวที่ทำให้มีฤทธิ์แล้ว | |
TH31112B (th) | กรรมวิธีการแยกพารา-ไซลีน ที่ประกอบรวมด้วยการเติมไฮโดรเจนที่เลือกคัด และโดยดินเหนียวที่ทำให้มีฤทธิ์แล้ว | |
RU2003112237A (ru) | Процесс адсорбционного разделения парафиновых углеводородов для выделения двух парафиновых продуктов | |
CA2211421C (fr) | Procede de separation du p-xylene comportant un pretraitement par hydrogenation selective et par de la terre activee | |
JP3484728B2 (ja) | メタキシレンの分離方法 | |
MXPA97006334A (en) | Procedure for the separation of para-xylene quecomprende a pretratamiento by hydrogenacionselectiva and by land activ | |
FR2743068A1 (fr) | Procede de production de paraxylene en deux etapes d'adsorption combinees | |
JPH0670225B2 (ja) | ヘプタン製品の製造方法 |