TH29726A - กรรมวิธีการทำให้เกิดฟิล์มหลายชั้น - Google Patents

กรรมวิธีการทำให้เกิดฟิล์มหลายชั้น

Info

Publication number
TH29726A
TH29726A TH9701004674A TH9701004674A TH29726A TH 29726 A TH29726 A TH 29726A TH 9701004674 A TH9701004674 A TH 9701004674A TH 9701004674 A TH9701004674 A TH 9701004674A TH 29726 A TH29726 A TH 29726A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
coating
process according
pearl
film
parts
Prior art date
Application number
TH9701004674A
Other languages
English (en)
Other versions
TH20548B (th
TH29726B (th
Inventor
โคมัตสึ นายโยชิฮารุ
นีดะ นายคาซูฮิโตะ
คูราโมชิ นายชิเกรุ
ซูซูกิ นายยาซูยูกิ
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายบุญมา เตชะวณิช
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายบุญมา เตชะวณิช, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH29726B publication Critical patent/TH29726B/th
Publication of TH29726A publication Critical patent/TH29726A/th
Publication of TH20548B publication Critical patent/TH20548B/th

Links

Abstract

DC60 (03/10/46) การประดิษฐ์นี้ จัดหากรรมวิธีสำหรับการทำให้เกิดฟิล์มหลายชั้นโดยการ ใส่สารเคลือบต่อไปนี้บนซับสเทรทตามลำดับต่อไปนี้ (A) สารรองพื้น (B) สารเคลือบมัธยันตร์ (C) สารเคลือบหลักที่มีสี (D) สารเคลือบหลักที่คล้ายมุก และ (E) สารเคลือบใส ซึ่ง สารเคลือบมัธยันตร์ (B) ของกรรมวิธี คือสารเคลือบเทอร์โมเซตติงที่เป็นของเหลว ซึ่งมีสารผสมเทอร์โมเซตติง เรซิน ผงอะลูมินัมละเอียดที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยน้อยกว่า 10 ไมโครเมตร และสารสีไทเทเนียม ออกไซด์ ปริมาณของผงอะลูมินัมละเอียด และ สารสีไทเทเนียม ออกไซด์ คือ 0.1-30 ส่วนโดยน้ำหนัก และ 1-200 ส่วนโดยน้ำหนัก ตามลำดับ ต่อสารผสมเทอร์โมเซตติง เรซิน 100 ส่วนโดยน้ำหนัก ดังนั้น ฟิล์มที่เกิดจาก สารเคลือบเทอร์โมเซตติงที่เป็นของเหลว มีกำลังปกปิด 25 ไมโครเมตร หรือน้อยกว่า สารสีเคลือบหลักที่มีสี (C) คือสารเคลือบที่มีสารผสมเทอร์โมเซตติง เรซิน สารสีขาว ไทเทเนียม และเกล็ดอะลูมินัม ปริมาณของสารสีขาวไทเทเนียม และเกล็ดอะลูมินัม คือ ปริมาณซึ่งฟิล์มที่เกิดจากสารเคลือบมีค่า N7 ถึง N9 ในระบบสี Munsell และสาร เคลือบหลักที่คล้ายมุก (D) คือสารเคลือบคล้ายมุกสีขาว หรือคล้ายมุกสีเงิน ที่มีสารผสม เทอร์โมเซตติง เรซิน และผงไมกาที่เป็นเกล็ดมาก ซึ่งเคลือบด้วยไทเทเนียม ออกไซด์ กรรมวิธีสามารถทำให้เกิดฟิล์มหลายชั้น ที่มีความต้านทานต่อการแตกเป็น ชิ้นเล็ก ลักษณะเหลือบสีขาวมาก สีคงทน เป็นต้น ที่เหนือกว่าแม้แต่เมื่อมีความ หนาของฟิล์มทั้งหมดน้อย. การประดิษฐ์นี้ จัดหากรรมวิธีสำหรับการทำให้เกิดฟิล์มหลายชั้นโดยการใส่สารเคลือบต่อไปนี้บนซัลสเทรทตามลำดับต่อไปนี้ (A) สารรองพื้น (B) สารเคลือบมัธยันตร์ (C) สารเคลือบหลักที่มีสี (D) สารเคลือบหลักที่คล้ายมุก และ (E) สารเคลือบใส ซึ่ง สารเคลือบมัธยันตร์(B)ของกรรมวิธี คือสารเคลือบเทอร์โมเซตติงที่เป็นของเหลว ซึ่งมีสารผสมเทอร์โมเซตติง เรซิน ผงอะลูมินัมละเอียดที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยน้อยกว่า 10 ไมโครเมตร และสารสีไททาเนียม ออกไซด์ ปริมาณของผงอะลูมินัมละเอียด และสารสีไททาเนียม ออกไซด์ คือ 0.1-30 ส่วนโดยน้ำหนัก และ 1-200 ส่วนโดยน้ำหนักตามลำดับ ต่อสารผสมเทอร์โมเซตติง เรซิน 100 ส่วนโดยน้ำหนัก ดังนั้น ฟิล์มที่เกิดจากสารเคลือบเทอร์โมเซตติงที่เป็นของเหลวมีกำลังปกคลุม 25 ไมโครเมตร หรือน้อยกว่าสารเคลือบหลักที่มีสี(C)คือสารเคลือบที่มีสารผสมเทอร์โมเซตติง เรซิน สารสีขาวไททาเนียม และเกล็ดอะลูมินัม ปริมาณของสารสีขาวไททาเนียม และเกล็ดอะลูมินัม คือ ปริมาณซึ่งฟิล์มที่เกิดจากสารเคลือบมีค่า N7 ถึง N9 ในระบบสี Muneell และสารเคลือบหลักที่คล้ายมุก (D) คือสารเคลือบคล้ายมุกสีขาว หรือคล้ายมุกสีเงิน ที่มีสารผสมเทอร์โมเซตติง เรซิน และผงไมกาที่เป็นเกล็ดมากซึ่งเคลือบด้วยไททาเนียม ออกไซด์ กรรมวิธีสามารถทำให้เกิดฟิล์มหลายชั้น ที่มีความต้านทานต่อการแตกเป็นชิ้นเล็ก ลักษณะเหลือบคล้ายมุกสีขาวมาก สีคงทน เป็นต้น ที่เหนือกว่าแม้แต่เมื่อมีความหนาของฟิล์มทั้งหมดน้อย.

Claims (6)

1. กรรมวิธีการทำให้เกิดฟิล์มหลายชั้นโดยการใส่สารเคลือบต่อไปนี้บนซับสเทรทตามลำดับต่อไปนี้ (A) สารรองพื้น (primer) (B) สารเคลือบมัธยันตร์ (C) สารเคลือบหลักที่มีสี (D) สารเคลือบหลักที่คล้ายมุก และ (E) สารเคลือบใส ซึ่ง สารเคลือบมัธยันตร์(B)ของกรรมวิธี คือ สารเคลือบเทอร์โมเซตติงที่เป็นของเหลว ซึ่งมีสารผสมเทอร์โมเซตติง เรซิน ผงอะลูมินัมละเอียดที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยน้อยกว่า 10 ไมโครเมตร และสารสีไททาเนียม ออกไซด์ ปริมาณของผงอะลูมินัมละเอียด และสารสีไททาเนียม ออกไซด์ คือ 0.1-30 ส่วนโดยน้ำหนัก และ 1-200 ส่วนโดยน้ำหนักตามลำดับ ต่อสารผสมเทอร์โมเซตติงเรซิน 100 ส่วนโดยน้ำหนัก ดังนั้น ฟิล์มที่เกิดจากสารเคลือบเทอร์โมเซตติงที่เป็นของเหลวมีกำลังปกคลุม 25 ไมโครเมตร หรือน้อยกว่าสารเคลือบหลักที่มีสี (C)คือสารเคลือบที่มีสารผสมเทอร์โมเซตติง เรซิน สารสีขาวไททาเนียม และเกล็ดอะลูมินัม ปริมาณของสารสีขาวไททาเนียม และเกล็ดอะลูมินัม คือ ปริมาณซึ่งฟิล์มที่เกิดจากสารเคลือบมีค่า N2 ถึง N9 ในระบบสี Muneell และสารเคลือบหลักที่คล้ายมุก (D) คือสารเคลือบคล้ายมุกสีขาว หรือคล้ายมุกสีเงิน ที่มีสารผสมเทอร์โมเซตติง เรซิน และผงไมกาที่เป็นเกล็ดมากซึ่งเคลือบด้วยไททาเนียม ออกไซด์ 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยของอนุภาคของผงอะลูมินัมที่ละเอียด ซึ่งมีอยู่ในสารเคลือบมัธยันตร์ (B)อยู่ในช่วง 3-7 ไมโครเมตร 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งในสารเคลือบมัธยันตร์(B)ปริมาณของผงอะลูมินัมละเอียด และสารสีไททาเนียมออกไซด์คือ 1-7 ส่วนโดยน้ำหนัก และ 80-120 ส่วนโดยน้ำหนัก ตามลำดับต่อสารผสมเทอร์โมเซตติง เรซิน 100 ส่วน โดยน้ำหนัก 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งในสารเคลือบมัธยันตร์(B)สารผสมเทอร์โมเซตติง เรซินประกอบด้วยเรซินฐาน ที่มีหมู่ฟังก์ชันแนล ซึ่งเชื่อมขวางได้ และสารช่วยเชื่อมขวางเรซินที่เป็นวัสดุฐาน คือพอลิเอสเทอร์ เรซิน 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งสารมัธยันตร์(B)สามารถทำให้เกิดฟิล์มที่มีอุณหภูมิสภาพแก้ว 40 ซํ.หรือน้อยกว่า 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสารเคลือบมัธยันตร์(B)ปริมาณทั้งหมดของผงอะลูมินัมที่ละเอียด และสารสีไททาเนียม ออกไซด์ คือปริมาณซึ่งฟิล์มที่เกิดจากสารเคลือบมัธยันตร์ (B) มีกำลังปกคลุม 25 ไมโครเมตร หรือน้อยกว่า 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งประกอบด้วยการใส่สารเคลือบหลักที่มีสี (C)หลังจากการใส่สารเคลือบมัธยันตร์(B)และต่อมาทำการเชื่อมขวางและบ่มฟิล์มที่เกิดจากสารเคลือบมัธยันตร์ (B) 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งฟิล์มที่เกิดจากสารเคลือบมัธยันตร์(B)มีความหนาของฟิล์ม 10-25 ไมโครเมตรเมื่อบ่ม 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งสารเคลือบหลักที่มีสี(C)สามารถเกิดเป็นฟิล์มที่มีสี ซึ่งมีค่า N 7.5 ถึง w 8.8ในระบบสี Muneell 1 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งสารสีขาวไททาเนียม ในสารเคลือบหลักที่มีสี(C)มีเส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยของอนุภาค 0.2-0.35 ไมโครเมตร 1 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งเกล็ดอะลูมิเนียมในสารเคลือบหลักที่มีสี(C)มีความหนา 0.1-1 ไมโครเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาค 1-20 ไมโครเมตร และ เส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยของอนุภาค 10 ไมโครเมตร หรือน้อยกว่า 1 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ ใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งสารเคลือบหลักที่มีสี(C)มีเกล็ดอะลูมินัม ในปริมาณ 0.5-10 ส่วนโดยน้ำหนักต่อสารสีขาวไททาเนียม 100 ส่วน โดยน้ำหนัก 1 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ซึ่งสารเคลือบหลักที่มีสี(C)มีเกล็ดอะลูมินัม ในปริมาณ 1.5 ส่วนโดยน้ำหนัก ต่อสารสีขาวไททาเนียม 100 ส่วนโดยน้ำหนัก 1 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งสารเคลือบหลักที่มีสี(C)มีสารสีขาวไททาเนียม และเกล็ดอะลูมินัมในปริมาณทั้งหมด 40-250ส่วนโดยน้ำหนักต่อปริมาณของแข็งของสารผสมเทอร์โมเซตติง เรซิน 100 ส่วนโดยน้ำหนัก 1 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งฟิล์มของสารเคลือบหลักที่มีสี(C)มีความหนา 5-20 ไมโครเมตรเมื่อบ่ม 1 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งสารเคลือบหลักที่มีสี(C)สามารถเกิดเป็นฟิล์มที่มีอุณหภูมิสภาพแก้วจาก 40 ซํ.ถึง 120 ซํ. 1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งผงไมกาที่เป็นเกล็ดมากที่เคลือบด้วย ไททาเนียม ออกไซด์ ไม่มีลักษณะเหลือบ(non-iridescent) 1 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งผงไมกาที่เป็นเกล็ดมากที่เคลือบด้วยไททาเนียม ออกไซด์ มีเส้นผ่าศูนย์กลางสูงสุด 5-60 ไมโครเมตร และความหนา 0.25-1.5 ไมโครเมตร 1 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งผงไมกาที่เป็นเกล็ดมากที่เคลือบด้วยไททาเนียม ออกไซด์ เคลือบด้วยไททาเนียมออกไซด์ ซึ่งให้ความหนาเชิงแสง 90-160 นาโนเมตร และความหนาเชิงเรขาคณิต 40-70 นาโนเมตร 2 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งสารเคลือบหลักคล้ายมุก(D)มีผงไมกาที่เป็นเกล็ดมากที่เคลือบด้วยไททาเนียมออกไซด์ ในปริมาณ 3-20 ส่วนโดยน้ำหนักต่อปริมาณของแข็งของสารผสมเทอร์โมเซตติงเรซินในสารเคลือบหลัก(D)100 ส่วน 2
1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งฟิล์มของสารเคลือบหลัก(D)มีความหนา 5-20 ไมโครเมตร เมื่อบ่ม 2
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งความหนาทั้งหมดของฟิล์มของสารเคลือบหลัก(C)และฟิล์มของสารเคลือบหลัก(D)คือ 30 ไมโครเมตร หรือน้อยกว่าเมื่อบ่ม 2
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งฟิล์มของสารเคลือบใส(E)มีความหนา 10-100 ไมโครเมตร เมื่อบ่ม 2
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งใส่สารเคลือบหลักที่มีสี(C)สารเคลือบหลักคล้ายมุก(D)และสารเคลือบใส(E)บนพื้นฐานของเปียกบนเปียก และแล้วนำฟิล์มของสารเคลือบ(C),(D)และ(E)มาทำให้ร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 100 ซํ.ถึงประมาณ 160 ซํ เพื่อเชื่อมขวางและบ่มฟิล์มดังกล่าวนั้นพร้อม ๆ กัน 2
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ ใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ซึ่งการทำให้แห้งเริ่มแรกนั้นกระทำที่อุณหภูมิประมาณ 50 ถึงประมาณ 100 ซํ.ระหว่างการใส่สารเคลือบหลักที่มีสี(C)และการใส่สารเคลือบหลัก คล้ายมุกสีขาว หรือคล้ายมุกสีเงิน(D)และ/หรือระหว่างการใส่สารเคลือบหลักคล้ายมุกสีขาว หรือคล้ายมุกสีเงิน(D)และการใส่สารเคลือบใส 2
6. วัสดุซึ่งประกอบรวมด้วยฟิล์มหลายชั้น ซึ่งเกิดขึ้นโดยกรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้
TH9701004674A 1997-11-14 กรรมวิธีการทำให้เกิดฟิล์มหลายชั้น TH20548B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH29726B TH29726B (th) 1998-08-30
TH29726A true TH29726A (th) 1998-08-30
TH20548B TH20548B (th) 2006-09-18

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP3056253B2 (ja) 多層干渉小板を含有する高彩度塗料
US5698310A (en) Method for film formation and product thereof
CA2221078A1 (en) Process for formation of multilayer film
US6417250B2 (en) Formulations
CA2178837C (en) Coating composition containing optically-variable dichroic pigment and interference mica pigment
US5718950A (en) Process for formation of multilayer film
US4937274A (en) Coating composition
JPS63232882A (ja) 塗装仕上げ方法
KR880006328A (ko) 미세한 이산화티탄안료를 함유한 유백광의 자동차 페인트 조성물
US3708321A (en) Method for applying a metallic flake finish
JP2002086057A (ja) 複層メタリック塗膜形成方法
US5147453A (en) Paint compositions containing silver metal flake pigment
US20010010838A1 (en) Improvements in and relating to colour coating
US5049442A (en) Opalescent coatings containing foamed metal oxides
CA2442025C (en) White pearlescent paint compositions and coatings
EP0319918B1 (en) Metallic coating method
TH29726A (th) กรรมวิธีการทำให้เกิดฟิล์มหลายชั้น
TH20548B (th) กรรมวิธีการทำให้เกิดฟิล์มหลายชั้น
JP3386222B2 (ja) 意匠塗膜形成方法
JP3232369B2 (ja) メタリック積層塗膜構造
JPH03239769A (ja) メタリック塗料とその塗装法
JPH10192776A (ja) 複層塗膜形成方法
EP0283280A1 (en) Novel stoving lacquers and their use
JPH03143575A (ja) 塗膜形成方法
JPH05132635A (ja) グアニンを含む微妙なつやの金属性塗料