TH16942B - ชุดตรวจวัดสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง - Google Patents

ชุดตรวจวัดสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง

Info

Publication number
TH16942B
TH16942B TH9501001694A TH9501001694A TH16942B TH 16942 B TH16942 B TH 16942B TH 9501001694 A TH9501001694 A TH 9501001694A TH 9501001694 A TH9501001694 A TH 9501001694A TH 16942 B TH16942 B TH 16942B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
raman scattering
scattering signal
cancer cells
paper
particles
Prior art date
Application number
TH9501001694A
Other languages
English (en)
Other versions
TH18053A (th
TH18053B (th
Inventor
คาเซอร์ นายอดอล์ฟ
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH18053A publication Critical patent/TH18053A/th
Publication of TH18053B publication Critical patent/TH18053B/th
Publication of TH16942B publication Critical patent/TH16942B/th

Links

Abstract

------15/05/2563------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้เป็นการพัฒนาชุดตรวจวัดสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ซึ่งประกอบด้วย กระดาษพลาสโมนิคที่ได้จากกระดาษกรองเส้นใยเซลลูโลสที่ถูกเคลือบผิวด้วยอนุภาคทองนาโนชนิดแท่ง และอนุภาคอิมมูโนแม่เหล็กที่ใซ้แยกเซลล์เป้าหมายถูกติดฉลากด้วยแอนติบอดีในสารละลายบัฟเฟอร์ซาลีนที่มีโบวีนซีรัมอัลบูมินและพอลิซอร์เบท และถูกปิดทับพื้นผิวอนุภาคด้วยโปรตีน และสารลดแรงตึงผิวโดยแอนติบอดีดังกล่าวเป็นแอนติบอดีชนิดไอจีจีและจับจำเพาะกับโมเลกุล EpCAM สำหรับวิธีการตรวจวัดสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็งด้วยชุดตรวจวัดดังกล่าวทำได้โดย 1) การใช้อนุภาคอิมมูโนแม่เหล็กที่จับจำเพาะกับเซลล์มะเร็งเป้าหมายและแยกเซลล์เป้าหมายออกจากตัวอย่างได้ด้วยแรงแม่เหล็กและ 2) การใช้กระดาษพลาสโมนิคในการขยายสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์ ------------ หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้เป็นการพัฒนาชุดตรวจวัดสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ซึ่ง ประกอบด้วย กระดาษพลาสโมนิคที่ได้จากกระดาษกรองเส้นใยเซลลูโลสที่ถูกเคลือบผิวด้วยอนุภาคทองนาโน ชนิดแท่ง และอนุภาคอิมมูโนแม่เหล็กที่ใช้แยกเซลล์เป้าหมายถูกติดฉลากด้วยแอนติบอดีในสารละลายบัฟเฟอร์ ซาลีนที่มีโบวีนซีรัมอัลบูมินและพอลิซอร์เบท และถูกปิดทับพื้นผิวอนุภาคด้วยโปรตีน และสารลดแรงตึงผิว โดยแอนติบอดีดังกล่าวเป็นแอนติบอดีชนิดไอจีจีและจับจำเพาะกับโมเลกุล EpCAM สำหรับวิธีการตรวจวัด สัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็งด้วยชุดตรวจวัดดังกล่าวทำได้โดย 1) การใช้อนุภาคอิมมูโน แม่เหล็กที่จับจำเพาะกับเซลล์มะเร็งเป้าหมายและแยกเซลล์เป้าหมายออกจากตัวอย่างได้ด้วยแรงแม่เหล็ก และ 2) การใช้กระดาษพลาสโมนิคในการขยายสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์

Claims (7)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------15/05/2563------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. ชุดตรวจวัดสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ประกอบด้วย กระดาษพลาสโมนิค ซึ่งเป็นกระดาษกรองที่มีลักษณะเป็นเส้นใยเซลลูโลส ที่ทำหน้าที่เป็นทำ หน้าที่เป็นวัสดุรองรับ ที่มีลักษณะเฉพาะคือ กระดาษดังกล่าวถูกเคลือบผิวด้วยอนุภาคทองนาโนชนิดแท่ง โดยทำหน้าที่ขยายสัญญาณ การกระเจิงแสงรามานของโมเลกุลที่อยู่บนกระดาษพลาสโมนิค อนุภาคดังกล่าวเป็นอนุภาคอิมมูโนแม่เหล็กที่ถูกติดฉลากด้วยแอนติบอดีในสารละลาย บัฟเฟอร์ซาลีนที่มีโบวีนซีรัมอัลบูมินและพอลิซอร์เบท และอนุภาคดังกล่าวถูกปิดทับพื้นผิวด้วยโปรตีน และสารลดแรงตึงผิว โดยแอนติบอดีดังกล่าวเป็นแอนติบอดีชนิดไอจีจิและจับจำเพาะกับโมเลกุล EpCAM 2. ชุดตรวจวัดสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง กระดาษกรอง ดังกล่าว มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดกว้างและยาว 1 เซนติเมตร และมีรูพรุนขนาดไม่เกิน 11 ไมโครเมตร 3. ชุดตรวจสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง อนุภาคทองนาโนชนิด แท่งดังกล่าว มีอัตราส่วนความยาวต่อความกว้างอยู่ในช่วง 3.0 - 3.5 โดยมีความยาวในช่วง 46 - 56 นาโนเมตร และความกว้างในช่วง 14 - 18 นาโนเมตร 4. ชุดตรวจสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 3 ที่ซึ่ง ความหนาแน่น ของอนุภาคทองนาโนชนิดแท่งบนกระดาษไม่น้อยกว่า 70 อนุภาคต่อตารางไมโครเมตร 5. ชุดตรวจสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง กระดาษพลาสโมนิค ดังกล่าว มีค่าเอนฮานซ์เมนท์ แฟกเตอร์ อยู่โนช่วง 107-108 6. ชุดตรวจสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง อนุภาคอิมมูโนแม่เหล็ก ดังกล่าวเป็นอนุภาคซนิดไอรอนออกไซด์ที่มีขนาด 1 ไมโครเมตรและมีพื้นผิวเป็นหมู่คาร์บอกซิล 7. ชุดตรวจสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง สารลดแรงตึงผิวดังกล่าว คือ พอลิซอร์เบท ------------ แก้ไข 2 พย. 61 ไม่มีข้อถือสิทธิ ++++++++++++++++++++++ หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า ข้อถือสิทธิ
1. ชุดตรวจวัดสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ประกอบด้วย ก) กระดาษพลาสโมนิคที่ได้จากกระดาษกรองเส้นใยเซลลูโลสที่ถูกเคลือบผิวด้วยอนุภาคทองนาโน ชนิดแท่ง ข) อนุภาคอิมมูโนแม่เหล็กที่ใช้แยกเซลล์เป้าหมายถูกติดฉลากด้วยแอนติบอดีในสารละลายบัฟเฟอร์ ซาลีนที่มีโบวีนซีรัมอัลบูมินและพอลิซอร์เบท และถูกปิดทับพื้นผิวอนุภาคด้วยโปรตีน และสารลด แรงตึงผิว โดยแอนติบอดีดังกล่าวเป็นแอนติบอดีชนิดไอจีจีและจับจำเพาะกับโมเลกุล EpCAM
2. ชุดตรวจวัดสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง กระดาษกรอง ดังกล่าว มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดกว้างและยาว 1 เซนติเมตร และมีรูพรุนขนาดไม่เกิน 11 ไมโครเมตร
3. ชุดตรวจสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง อนุภาคทองนาโนชนิด แท่งดังกล่าว มีอัตราส่วนความยาวต่อความกว้างอยู่ในช่วง 3.0 - 3.5 โดยมีความยาวในช่วง 46 - 56 นาโนเมตร และความกว้างในช่วง 14 - 18 นาโนเมตร
4. ชุดตรวจสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 3 ที่ซึ่ง ความหนาแน่น ของอนุภาคทองนาโนชนิดแท่งบนกระดาษไม่น้อยกว่า 70 อนุภาคต่อตารางไมโครเมตร
5. ชุดตรวจสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง กระดาษพลาสโมนิค ดังกล่าว มีค่าเอนฮานซ์เมนท์ แฟกเตอร์ อยู่ในช่วง 107-108
6. ชุดตรวจสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง อนุภาคอิมมูโนแม่เหล็ก ดังกล่าวเป็นอนุภาคชนิดไอรอนออกไซด์ที่มีชนาด 1 ไมโครเมตรและมีพื้นผิวเป็นหมู่คาร์บอกซิล
7. ชุดตรวจสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง สารลดแรงตึงผิวดังกล่าว คือ พอลิซอร์เบท
TH9501001694A 1995-07-14 ชุดตรวจวัดสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง TH16942B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH18053A TH18053A (th) 1996-03-27
TH18053B TH18053B (th) 1996-03-27
TH16942B true TH16942B (th) 2004-05-31

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Zhang et al. Robust immunosensing system based on biotin-streptavidin coupling for spatially localized femtogram mL− 1 level detection of interleukin-6
US7691648B2 (en) Target substance detecting element, target substance detection apparatus and target substance detection method
CN110763834B (zh) 一种检测免疫标志物含量的方法、试剂和试剂盒
Giebel et al. Methods to analyze EVs
Zheng et al. Integration of nanomaterials for colorimetric immunoassays with improved performance: a functional perspective
Uludağ et al. Development of a sensitive detection method of cancer biomarkers in human serum (75%) using a quartz crystal microbalance sensor and nanoparticles amplification system
US5376556A (en) Surface-enhanced Raman spectroscopy immunoassay
Liu et al. Apoferritin‐Templated Synthesis of Metal Phosphate Nanoparticle Labels for Electrochemical Immunoassay
Wang et al. Femtogram detection of cytokines in a direct dot-blot assay using SERS microspectroscopy and hydrophilically stabilized Au–Ag nanoshells
Shpacovitch et al. Optical and surface plasmonic approaches to characterize extracellular vesicles. A review
JP2001033455A (ja) 磁性体標識による免疫検査方法とその装置
CN111024956A (zh) 一种检测ptx3的时间分辨荧光免疫层析试剂盒
Sun et al. Using fluorescence immunochromatographic test strips based on quantum dots for the rapid and sensitive determination of microcystin-LR
CA2431818C (en) Devices and methods to image objects
US5238811A (en) Laser magnetic immunoassay method and apparatus therefor and superparamagnetic material-labeled body and method for the manufacture of same
Zhang et al. Towards nanovesicle-based disease diagnostics: a rapid single-step exosome assay within one hour through in situ immunomagnetic extraction and nanophotonic label-free detection
US20200326338A1 (en) Detection agent for bioassay and signal amplification method using same
JP2003262638A (ja) 金属コロイド粒子
JP2003528289A (ja) 磁性粒子の二重屈折の緩和の測定を利用する結合反応を検出するための方法
Wei et al. Magnetic separation of clenbuterol based on competitive immunoassay and evaluation by surface-enhanced Raman spectroscopy
JP3192149B2 (ja) ゼラチンを有する磁性粒子及びそれを用いた免疫測定法
EP0339623B1 (en) Laser magnetic immunoassay method and apparatus therefor
Huang et al. Receptor antibody time‐resolved A2 phospholipase bead immunochromatography and its application in idiopathic membranous nephropathy
TH16942B (th) ชุดตรวจวัดสัญญาณการกระเจิงแสงรามานของเซลล์มะเร็ง
Wang et al. Spectral image contrast-based flow digital nanoplasmon-metry for ultrasensitive antibody detection