TH16383C3 - กรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูปและผนังที่ได้จากกรรมวิธีนี้ - Google Patents
กรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูปและผนังที่ได้จากกรรมวิธีนี้Info
- Publication number
- TH16383C3 TH16383C3 TH1803000381U TH1803000381U TH16383C3 TH 16383 C3 TH16383 C3 TH 16383C3 TH 1803000381 U TH1803000381 U TH 1803000381U TH 1803000381 U TH1803000381 U TH 1803000381U TH 16383 C3 TH16383 C3 TH 16383C3
- Authority
- TH
- Thailand
- Prior art keywords
- groove
- wall panels
- wall
- epoxy resin
- tongue
- Prior art date
Links
- 238000000034 method Methods 0.000 title claims abstract 92
- 239000003822 epoxy resin Substances 0.000 claims abstract 64
- 229920000647 polyepoxide Polymers 0.000 claims abstract 64
- 239000004570 mortar (masonry) Substances 0.000 claims abstract 46
- 239000000853 adhesive Substances 0.000 claims abstract 41
- 230000001070 adhesive Effects 0.000 claims abstract 41
- 239000011505 plaster Substances 0.000 claims abstract 35
- 239000000945 filler Substances 0.000 claims abstract 28
- 239000000463 material Substances 0.000 claims abstract 24
- 210000001503 Joints Anatomy 0.000 claims abstract 8
- 238000004140 cleaning Methods 0.000 claims 14
- 239000010440 gypsum Substances 0.000 claims 11
- 229910052602 gypsum Inorganic materials 0.000 claims 11
- 238000007906 compression Methods 0.000 claims 8
- 239000004568 cement Substances 0.000 claims 6
- 238000004519 manufacturing process Methods 0.000 claims 3
- 238000001125 extrusion Methods 0.000 claims 2
- 239000003292 glue Substances 0.000 claims 1
- 238000003825 pressing Methods 0.000 claims 1
- 239000004593 Epoxy Substances 0.000 abstract 1
- 238000005336 cracking Methods 0.000 abstract 1
- 125000003700 epoxy group Chemical group 0.000 abstract 1
- 229920005989 resin Polymers 0.000 abstract 1
- 239000011347 resin Substances 0.000 abstract 1
- 229910000679 solder Inorganic materials 0.000 abstract 1
Abstract
หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้เป็นการปรับปรุงพัฒนากรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูป ให้มี รอยต่อที่แข็งแรงมากขึ้น สามารถป้องกันการเกิดรอยแตกร้าวบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นผนัง ได้อีกทั้งยังช่วยลดการหลุดร่อนหรือแตกร้าวของปูนฉาบบริเวณรอยต่อแผ่นผนังได้ด้วย โดย ได้ออกแบบรอยเชื่อมต่อของแผ่นผนังให้มีลักษณะองค์ประกอบของรอยต่อผนังที่ ประกอบด้วย แผ่นผนังสำเร็จรูป (2) ที่มีร่อง (groove) (7) และลิ้น (tongue) (8) โดยร่อง (groove) (7) ของแผ่นผนังแผ่นแรก และลิ้น (tongue) (8) ของแผ่นผนังแผ่นที่สองถูกเชื่อมต่อ เข้าหากันด้วยปูนกาว (4) บริเวณด้านในของรอยต่อแผ่นผนังมีตัวทำให้เกิดช่องว่าง (spacer) (6) แทรกอยู่ ถัดออกมาด้านนอกของตัวทำให้เกิดช่องว่าง (6) จะมีอีพ็อกซี่เรซิ่น (1) อยู่เป็นตัวเชื่อม ประสานแผ่นผนังทั้งสองเข้าด้วยกัน โดยอีพ็อกซี่เรซิ่นนี้มีหน้าที่ช่วยยึดแผ่นผนังทั้งสองเข้าหา กันด้วยแรงยึดเกาะที่สูง และถัดออกมาจากส่วนของอีพ็อกซี่เรซิ่น (1) จะมีวัสดุอุดร่อง (13) อุด อยู่เต็มร่อง แล้วถูกปาดให้เรียบเสมอกับแผ่นผนัง (2) ถัดออกมาจากวัสดุอุดร่อง (13) จะมีชั้น ของปูนฉาบ (5) ฉาบปิดพับรอยต่อของแผ่นผนังและผิวของแผ่นผนัง (2) โดยที่วัสดุอุดร่อง (13) ที่เลือกใช้จะเป็นวัสดุประเภทที่เข้ากันได้ดี หรือยึดเกาะกันได้ดีกับปูนฉาบ (5) ทำให้ สามารถที่จะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการหลุดร่อนหรือรอยแตกร้าวของปูนฉาบบริเวณผิวรอยต่อ ของแผ่นผนังได้
Claims (8)
1. กรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูปและผนังที่ได้จากกรรมวิธีนี้ มีลักษณะพิเศษ เฉพาะ ของขั้นตอนการเชื่อมต่อแผ่นผนัง ซึ่งประกอบด้วย 1) นำแผ่นผนังสำเร็จรูป (2) ที่มีการออกแบบให้มีขอบมุมเอียง มาทำการติดตัวทำ ให้เกิดช่องว่าง (spacer) (6) ไว้ที่หน้าผิวสัมผัส (3) ของแผ่นผนังด้านที่มีร่อง (groove) (7) หรือลิ้น (tongue) (8) ด้านใดด้านหนึ่ง แล้วทำความสะอาดคราบสิ่งสกปรกต่างๆ บริเวณด้านร่องและลิ้น ของแผ่นผนังให้สะอาด จากนั้นนำปูนกาว (4) มาใส่ลงบนส่วนของร่อง (7) หรือลิ้น (8) ของแผ่น ผนัง (2) ด้านใดด้านหนึ่ง โดยการใส่ปูนกาวจะใส่ทับลงไปเฉพาะส่วนที่เป็นร่องหรือลิ้นของแผ่น ผนัง 2)นำแผ่นผนังที่ใส่ปูนกาวตามขั้นตอนในข้อ 1)แล้ว ไปติดตั้งยังตำแหน่งที่ กำหนด จากนั้นนำแผ่นผนัง (2) แผ่นที่สองเข้ามาเชื่อมต่อกับแผ่นผนังแผ่นแรกที่ใส่ปูนกาวไว้แล้ว โดยให้ร่อง (7) และลิ้น (8) ของผนังตั้งสองประกอบเข้าหากัน เมื่อทำการประกอบร่องและลิ้นของ แผ่นผนังเข้าด้วยกันแล้ว ปูนกาว (4) ที่อยู่บริเวณรอยต่อผนัง จะถูกกดอัดและแผ่ออกมา จนชนกับ ตัวทำให้เกิดช่องว่าง (spacer) (6) หลังจากที่จบขั้นตอนนี้แล้ว จะทำให้เกิดเป็นช่องว่าง (9) และร่อง รูปตัววี(V)(10) 3) จากนั้นทำการใส่อีพ็อกซี่เรซิ่น (1) เข้าไปในร่องรูปตัววี (V) (10) ให้เต็มตั้งสอง ด้านของรอยต่อระหว่างแผ่นผนัง จากนั้นใช้อุปกรณ์อัดอีพ็อกซี่เรซิน (11) กดอัดเนื้ออีพ็อกซี่เรซิ นที่อยู่ในร่องรูปตัววี (V) เพื่อดันให้เนื้ออีพ็อกซี่เรซิ่นเข้าไปในช่องว่าง (9) เมื่อกดอัดอีพ็อกซี่เรซิ่น เข้าไปในช่องว่าง (9) จนสุดแล้ว จะมีเนื้ออีพ็อกซี่เรซิ่น (1) บางส่วนอยู่ในฐานของร่องรูปตัววี (10) หลังจากทำการอัดอีพ็อกซี่เรซิ่นเข้าไปในช่องว่าง (9) แล้ว จะเห็นว่ามีร่องที่มีลักษณะเป็นรูป สี่เหลี่ยมคางหมู (12) อยู่บนรอยต่อของแผ่นผนังทั้งสองด้าน 4) เมื่อจบกรรมวิธีในขั้นตอนที่ 3) แล้ว นำวัสดุอุดร่อง (13) ที่เลือกได้จากปูนกาว หรือยิปซั่ม หรือปูนมอร์ตาร์ หรือปูนฉาบ อย่างใดอย่างหนึ่ง มาอุดบริเวณร่องรูปสี่เหลี่ยมคางหมู (12)ที่อยู่บนรอยต่อของแผ่นผนังตั้งสองด้านให้เต็ม และปาดวัสดุอุดร่อง (13)ให้เรยบเสมอกับ ผิวหน้าของแผ่นผนัง (2) ทั้งสองด้าน จากนั้นทำการฉาบแต่งผิวผนังด้วยปูนฉาบ (5) โดยใน ขั้นตอนการฉาบปูนนี้จะมีหรือไม่มีก็ได้
2. กรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูปและผนังที่ได้จากกรรมวิธีนี้ มีลักษณะพิเศษ เฉพาะ ที่ซึ่งองค์ประกอบของรอยต่อของแผ่นผนังสำเร็จรูปประกอบด้วย แผ่นผนังสำเร็จรูป (2) ที่มี ร่อง (groove) (7) และลิ้น (tongue) (8) โดยร่อง (groove) (7) ของแผ่นผนังแผ่นแรก และลิ้น หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า (tongue) (8) ของแผ่นผนังแผ่นที่สองถูกเชื่อมต่อเข้าหากันด้วยปูนกาว (4) บ1เวณด้านในของ รอยต่อแผ่นผนังมีตัวทำให้เกิดช่องว่าง (spacer) (6) แทรกอยู่ กัดออกมาด้านนอกของตัวทำให้เกิด ช่องว่าง (6) จะมีอีพ็อกซี่เรซิ่น (1) อยู่เป็นตัวเชื่อมประสานแผ่นผนังทั้งสองเข้าด้วยกัน และกัด ออกมาจากส่วนของอีพ็อกซี่เรซิ่น (1) จะมีวัสดุอุดร่อง (13) อุดร่องอยู่เต็มร่อง ถูกปาดให้เรียบเสมอ กับแผ่นผนัง (2)กัดออกมาจากวัสดุอุดร่อง (13) จะมีชั้นของปูนฉาบ (5) ฉาบปิดทับรอยต่อของ แผ่นผนังและผิวของแผ่นผนัง (2) โดยจะมีชั้นปูนฉาบหรือไม่มีก็ได้
3. กรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูปและผนังที่ได้จากกรรมวิธีนี้ ตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 และ 2 อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ซึ่งวัสดุอุดร่อง (13)ที่ใช้เลือกได้จากปูนกาว หรือยิปซั่ม หรือปูนมอร์ ตาร์ หรือปูนฉาบ อย่างใดอย่างหนึ่ง
4. กรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูปและผนังที่ได้จากกรรมวิธีนี้ ตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 และ 2 อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ซึ่งขนาดของตัวทำให้เกิดช่องว่าง (spacer) (6) มีความหนา ตั้งแต่ 0.5 - 7 มิลลิเมตร มีความกว้าง ตั้งแต่ 3-20 มิลลิเมตร
5. กรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูปและผนังที่ได้จากกรรมวิธีนี้ ตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 และ 2 อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ซึ่งขนาดของช่องว่าง (9) หรือขนาดของอีพ็อกซี่เรซิ่น (1) มีขนาด ความลึก ตั้งแต่ 5-43 มิลลิเมตร มีความหนา ตั้งแต่ 0.5 - 7 มิลลิเมตร
6. กรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูปและผนังที่ได้จากกรรมวิธีนี้ ตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 และ 2 อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ซึ่งขนาดของวัสดุอุดร่อง (13) มีความกว้าง ตั้งแต่ 8-25 มิลลิเมตร มีความลึก ตั้งแต่ 5-12 มิลลิเมตร
7. กรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูปและผนังที่ได้จากกรรมวิธีนี้ ตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 และ 2 อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ซึ่งแผ่นผนังสำเร็จรูปที่ใช้ในการประดิษฐ์นี้ คือ แผ่นผนังสำเร็จรูปที่มี ขอบมุมเอียง โดยมีรูปร่างของร่อง (groove) และลิ้น (tongue) ของแผ่นผนัง เป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู รูปโค้งเป็นตัวซี (C) รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และรูปสามเหลี่ยม อย่างใดอย่างหนึ่ง
8. กรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูปและผนังที่ได้จากกรรมวิธีนี้ ตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 และ 2 อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ซึ่งอุปกรณ์อัดอีพ็อกซี่เรซิน (11) มีโครงสร้างประกอบด้วย ด้ามจับ (20) ตัวปีก (21) ส่วนโค้งงอ (22) และส่วนปลายกด (23)
Publications (2)
Publication Number | Publication Date |
---|---|
TH16383C3 true TH16383C3 (th) | 2020-06-18 |
TH16383A3 TH16383A3 (th) | 2020-06-18 |
Family
ID=
Similar Documents
Publication | Publication Date | Title |
---|---|---|
US3323264A (en) | Drywall corner construction with corner bead | |
RU2385392C2 (ru) | Внешнестеновая конструкция | |
TH16383C3 (th) | กรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูปและผนังที่ได้จากกรรมวิธีนี้ | |
TH16383A3 (th) | กรรมวิธีการเชื่อมต่อแผ่นผนังสำเร็จรูปและผนังที่ได้จากกรรมวิธีนี้ | |
KR20130114041A (ko) | 건축물의 실내를 마감재로 마감하기 위해 설치하는 실내 몰딩 및 실내 몰딩 설치방법 | |
US2618028A (en) | Panel type laminated wallboard partition | |
US2349684A (en) | Construction joint | |
JPH04189938A (ja) | パネル | |
JP2024520313A (ja) | 接着物排出装置 | |
KR20140123791A (ko) | 대리석 가공타일을 부착한 콘크리트 블록 | |
RU51049U1 (ru) | Уплотняющая прокладка | |
JPH0740565Y2 (ja) | 目地のシーリング材 | |
JP4167375B2 (ja) | 外壁の目地構造及び外壁目地施工方法 | |
JP2002054240A (ja) | 外壁目地構造及び外壁目地施工方法 | |
KR200246701Y1 (ko) | 문틀의 구조 | |
JP6616744B2 (ja) | 建物外壁の止水構造、及び止水処理方法 | |
JPH0630332U (ja) | 接着剤はみ出し防止溝付き建材 | |
AU2002100094A4 (en) | Connector for cornices | |
JPH03208933A (ja) | 外壁の防水構造 | |
JPH045612Y2 (th) | ||
JPS58207434A (ja) | コンクリート構造部材接続用目地施工法 | |
JPS6345473Y2 (th) | ||
KR200236219Y1 (ko) | 건축용 실내 공간 가장자리 마감 판재 | |
JPS5839994B2 (ja) | タイル打込みの誘発目地工法 | |
JPH0628068U (ja) | 窯業系外装材 |