TH15831A - การเตรียมสารประกอบที่เป็นพารา-ไนโตรฟีนอล - Google Patents

การเตรียมสารประกอบที่เป็นพารา-ไนโตรฟีนอล

Info

Publication number
TH15831A
TH15831A TH9401001031A TH9401001031A TH15831A TH 15831 A TH15831 A TH 15831A TH 9401001031 A TH9401001031 A TH 9401001031A TH 9401001031 A TH9401001031 A TH 9401001031A TH 15831 A TH15831 A TH 15831A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
process according
sulfuric acid
concentration
nitric acid
range
Prior art date
Application number
TH9401001031A
Other languages
English (en)
Other versions
TH11669B (th
Inventor
เมอตีวีเยร์ นายปาลคาล
เบอร์นาร์ด นายโลรองต์
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH15831A publication Critical patent/TH15831A/th
Publication of TH11669B publication Critical patent/TH11669B/th

Links

Abstract

กรรมวิธีสำหรับเตรียม P-ไนโตรฟีนอล โดยการไนโตรเซชันฟีนอล โดยมี ซัลฟิวริค แอซิด อยู่ด้วยตามด้วยการออกซิไดซ์ P-ไนโตรโซฟีนอลที่เกิดขึ้นนั้นด้วยไนทริค แอซิด ซึ่งการไนโตรเซชันในขั้นแรกนั้นความเข้มข้นของซัลฟิวริค แอซิด อย่างน้อยเท่ากับ 60% และเมื่อปฏิกิริยาการออกซิไดซ์สิ้นสุดลงในขั้นที่สองความเข้มข้นของซัลฟิวริค แอซิด จะเท่ากับหรือน้อยกว่า 80% เพื่อตกตะกอน p-ไนโตรฟีนอล แล้วทำการแยก

Claims (4)

1. กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารประกอบ p-ไนโตรฟีนอลิค ซึ่งประกอบรวมด้วย (a) การทำ ปฏิกิริยาสารประกอบฟีนอลิคด้วยสารที่เป็นตัวไนโตรเซท ที่มีซัลฟิวริค แอซิด อยู่ด้วยความเข้มข้นซึ่ง H2SO4 อย่างน้อยเท่ากับ 60% (b) การออกซิไดซ์สารประกอบ p-ไนโตรโซฟีนอลิคที่เกิดขึ้นนั้นด้วย ไนทริค แอซิด ซึ่งความเข้มข้นของซัลฟิวริค แอซิด ในตัวกลางของปฏิกิริยา จนการออกซิเดชั่น สมบูรณ์นั้นไม่มากเกินกว่า 80% และ (c) การแยกสารประกอบ p-ไนโตรฟีนอลิค ซึ่งตกตะกอน ออกมา 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งความเข้มข้นซัลฟิวริค แอซิด ในขั้นไนโตรเซชั่น (a) นั้นอยู่ในช่วงจาก 60% ถึง 90% 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งความเข้มข้นของซัลฟิวริค แอซิด ในขั้นไนโตรเซชั่นนั้น อยู่ในช่วงจาก 70% ถึง 80% 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสารที่เป็นตัวไนโตรเชทประกอบรวมด้วยแหล่งของ NO+ 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ซึ่งแหล่งของ NO+ นั้นประกอบรวมด้วยไนตริคออกไซด์ (NO) และสารที่เป็นตัวออกซิไดซ์, ไนโตรเจน ไดออกไซด์ (NO2), ไนโตรเจน ไทรออกไซด์ (N2O3), ไนโตรเจน เตตราออกไซด์ (N2O4), ไนตรัส แอซิด, ไนโตรซิลซัลเฟท หรือ เกลือไนตรัส 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5, ซึ่งแหล่งของ NO+ นั้นประกอบรวมด้วยเกลือโลหะ แอลคาไลไนตรัส 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งใช้ปริมาณของสารที่เป็นตัวไนโตรเชทในขั้น (a) นั้น อย่างน้อยเท่ากับปริมาณที่สมมูลกัน 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ซึ่งขั้น (a) ใช้สารที่เป็นตัวไนโตรเชทนั้นมากถึง 500% ของปริมาณที่สมมูลมากเกินพอ 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งความเข้มข้นของฟีโนลิคซับสเทรทในตัวกลางของ ปฏิกิริยาขั้น (a) นั้นอยู่ในช่วงจาก 2% ถึง 20% โดยน้ำหนัก 1 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่งความเข้มข้นของซัลฟิวริค แอซิด ในขั้น (b) การ ออกซิไดซ์นั้นอยู่ในช่วงจาก 50% ถึง 80% 1 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ซึ่งความเข้มข้นของซัลฟิวริค แอซิด นั้นอยู่ในช่วง 65% ถึง 75% 1 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งประกอบรวมด้วย (b) การออกซิไดซ์สารประกอบ P- ไนโตรโซฟีนอลิคที่เกิดขึ้นนั้นด้วยสารละลายไนทริค แอซิด ในน้ำหรือสารตั้งต้นไนทริค แอซิด 1 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ซึ่งประกอบรวมด้วย (b)การออกซิไดซ์สารประกอบ P- ไนโตรโซฟีนอลิคด้วยสารละลายไนทริค แอซิด ในน้ำซึ่งความเข้มข้นอยู่ในช่วงจาก 30% ถึง 100% โดยน้ำหนัก 1 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 13 ซึ่งความเข้มข้นนั้นอยู่ในช่วงจาก 60% ถึง 100% โดย น้ำหนัก 1 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งปริมาณของไนทริค แอซิดนั้นแสดงไว้เป็นอัตราส่วน โดยโมลของสารประกอบฟีนอลิคต่อไนทริค แอซิด อยู่ในช่วงจาก 0.9 ถึง 1.2 1 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 15 ซึ่งอัตราส่วนโดยโมลนั้นอยู่ในช่วงจาก 0.95 ถึง 1.05 1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งอุณหภูมินั้นอยู่ในช่วงจาก 0 ํ ถึง 40 ํ 1 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 17 ซึ่งอุณหภูมินั้นอยู่ในช่วงจาก 10 ํ ถึง 30 ํ 1 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งขั้นของไนโตรเซชั่นฟีนอลนั้น ขั้น (a) เติมสาร ประกอบฟีนอลิค และสารที่เป็นตัวไนโตรเซทลงในซัลฟิวริค แอซิดนั้น หรือเติมสารประกอบ ฟีนอลิคลงในซัลฟิวริค แอซิดนั้น และสารที่เป็นตัวไนโตรเชท หรือเติมสารทำปฏิกิริยานั้นร่วมกัน 2 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งขั้น (b) นั้นได้เติมไนทริค แอซิด ลงไปทั้งหมดครั้ง เดียวหรือค่อย ๆ เทลงไปทีละส่วน หรือเติมลงไปอย่างต่อเนื่องลงในตัวกลางที่ทำปฏิกิริยาที่ประกอบ รวมด้วยสารประกอบ p-ไนโตรฟีนอลิค 2
1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งประกอบรวมด้วยการใส่ไนตริค แอซิด นั้น และสาร ประกอบฟีนอลิคนั้นรวมกันลงในตัวกลางที่ทำปฏิกิริยา 2
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ซึ่งประกอบรวมด้วย (b) การออกซิไดซ์สารประกอบ p- ไนโตรฟีนอลิค ด้วยไนตริค แอซิดที่เกิดขึ้นในแหล่งแรกเริ่มจากไนโตรเจน เตตราออกไซด์ 2
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสารประกอบฟีนอลิคนั้นเป็นฟีนอล 2
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสารประกอบฟีนอลิคนั้นมีสูตร (สูตรเคมี)
TH9401001031A 1994-05-25 การเตรียมสารประกอบที่เป็นพารา-ไนโตรฟีนอล TH11669B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH15831A true TH15831A (th) 1995-04-18
TH11669B TH11669B (th) 2002-01-14

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Halfpenny et al. 168. Pernitrous acid. The reaction between hydrogen peroxide and nitrous acid, and the properties of an intermediate product
Turney et al. Nitrous acid and nitrosation
JPH06220007A (ja) メチルスルホニル安息香酸の製造
US4364871A (en) Process for making aminopolycarboxylic acid chelates of iron
Castellan et al. Nitric acid reaction of cyclohexanol to adipic acid
JP2006506418A (ja) アルカンジオールのモノニトロ化方法
SE515806C2 (sv) Långtidsstabilt betmedel innehållande urea samt sätt att tillverka detta
TH15831A (th) การเตรียมสารประกอบที่เป็นพารา-ไนโตรฟีนอล
TH11669B (th) การเตรียมสารประกอบที่เป็นพารา-ไนโตรฟีนอล
JPS5751105A (en) Preparation of nitrous oxide
Tipper et al. The effect of sulphur dioxide on the combustion of some inorganic compounds. Part 2.—The nitric oxide+ sulphur dioxide+ oxygen system
Nath et al. Kinetic studies of 2-methoxyethanol and 2-ethoxyethanol by pentavalent vanadium in aqueous sulphuric acid medium
Loach et al. The acetone complex of nitroprusside ion
ES392133A1 (es) Procedimiento de preparacion de acido nitrico muy concen- trado.
JPS6281347A (ja) キノン化合物の製造法
Kimura et al. Mechanisms of oxidation reactions of iodide and hexacyanoferrate (II) ions, induced by the reaction between phosphinate ion and molecular oxygen in an aqueous solution
JPS5889987A (ja) 脱硫及び脱硝排水の浄化処理方法
Palmer et al. Boric acid catalysis of decomposition of the N-nitrosohydroxylamine-N-sulfonate anion
Musgrave et al. The kinetics of the oxidation of picric acid by potassium permanganate in aqueous solution
SU581798A1 (ru) Способ определени урана
Hughes et al. 799. The mechanism of the oxidation of nitrous acid by hyponitrous acid. Part I
Larkworthy 670. Nitrosation, diazotisation, and deamination. Part VIII. The diazotisation of weakly basic amines in dilute perchloric acid
KR940011408A (ko) 술폰화 반응 또는 니트로화 반응시킨후, 산화반응시켜 염소화 유기 생성물을 처리하는 방법
SU971786A1 (ru) Способ денитрации концентрированной серной кислоты
GB650984A (en) Manufacture of isocinchomeronic acid