TH157088A - วิธีการเชื่อมจุดอาศัยความต้านทาน - Google Patents

วิธีการเชื่อมจุดอาศัยความต้านทาน

Info

Publication number
TH157088A
TH157088A TH1501005183A TH1501005183A TH157088A TH 157088 A TH157088 A TH 157088A TH 1501005183 A TH1501005183 A TH 1501005183A TH 1501005183 A TH1501005183 A TH 1501005183A TH 157088 A TH157088 A TH 157088A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
welding
heat generated
time
amount
weld
Prior art date
Application number
TH1501005183A
Other languages
English (en)
Other versions
TH71342B (th
TH1501005183B (th
Inventor
โอคิตะ
ยาซูอากิ
ซาวานิชิ
ชิคาอูมิ
อิเคดะ
รินเซ
โออิ
เคนจิ
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาว ปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นาย บุญมา เชวะณิช
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาว ปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นาย บุญมา เชวะณิช filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH157088A publication Critical patent/TH157088A/th
Publication of TH1501005183B publication Critical patent/TH1501005183B/th
Publication of TH71342B publication Critical patent/TH71342B/th

Links

Abstract

คำขอใหม่ปรับปรุงวันที่ 9/03/2559 ที่ได้นำเสนอคือวิธีการของการเชื่อมต่อจุดอาศัยความต้านทานเพื่อยึดติดแผ่นโลหะที่ซ้อนเกยกัน จำนวนหนึ่ง, ที่รวมถึง การแบ่งแบบรูปกระแสเป็นสองขั้นตอน หรือมากกว่าสำหรับการเชื่อม; การ กระทำการเชื่อมทดสอบเพื่อเก็บการแปรเปลี่ยนตามเวลาของปริมาณขณะหนึ่งของความร้อนที่ก่อเกิด ต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร และปริมาณสะสมของความร้อนที่่ก่อเกิดต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรที่ได้รับการ คำนวณมาจากสมบัติทางไฟฟ้าระหว่างอิเล็กโทรด เมื่อก่อรูปนักเก็ตที่เหมาะสมโดยการส่งผ่านกระแส ด้วยการควบคุมแบบกระแสคงที่; สำหรับแต่ละขั้นตอนเป็นค่าเป้าหมาย, ก่อนการเชื่อมจริง และ หลังจากนั้น, การเริ่มต้นการเชื่อมโดยการใช้เส้นโค้งการแปรเปลี่ยนตามเวลาของปริมาณขณะหนึ่ง ของความร้อนที่ก่อเกิดต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรที่ได้มาโดยการเชื่อมทดสอบเป็นมาตราฐาน และ เมื่อปริมาณการแปรเปลี่ยนตามเวลาของปริมาณขณะหนึ่งของความร้อนที่ก่อเกิดนั้นเบี่ยงเบนไปใน ระหว่างขั้นตอนใดๆ จากเส้นโค้งการแปรเลี่ยนตามเวลาโดยมีผลต่าง, การกระทำการเชื่อมมีการ ควบคุมแบบปรับตัวเพื่อควบคุมปริมาณการส่งผ่านกระแสเพื่อชดเชยสำหรับผลต่างในระหว่างเวลา การเชื่อมที่เหลือในขั้นตอนเพื่อทำให้ปริมาณสะสมของความร้อนที่ก่อเกิดในกรเชื่อมจริงนั้นตรงกัน กับปริมาณสะสมของความร้อนที่ก่อเกิดที่ได้รับการกำหนดออกมาล่วงหน้าในการเชื่อมทดสอบเป็น การเชื่อมจริง ดังนั้น วิธีการนี้จัดการกับการสึกของปลายชุดอิเล็กโทรด และการมีอยู่ของการรบกวน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทำให้ได้มาซึ่งนักเก็ตที่ดี:

Claims (2)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 31/08/2561 ข้อถือสิทธิ 1. วิธีการของการเชื่อมจุดอาศัยความต้านทานเพื่อเชื่อมต่อวัสดุที่จะเชื่อมโดยการบีบกด วัสดุระหว่างคู่ของอิเล็กโทรด และการส่งผ่านกระแสในขณะที่ให้ความดัน ซึ่งวัสดุคือแผ่นโลหะ ที่ซ้อนเกยกันจำนวนหนึ่ง, โดยวิธีการประกอบรวมด้วย: การแบ่งแบบรูปกระแสเป็นสองขั้นตอน หรือมากกว่าสำหรับการเชื่อม การกระทำการเชื่อมทดสอบเพื่อเก็บการแปรเปลี่ยนตามเวลาของปริมาณขณะหนึ่งของ ความร้อนที่ก่อเกิดต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร และปริมาณสะสมของความร้อนที่ก่อเกิดต่อหนึ่งหน่วย ปริมาตรที่ได้รับการคำนวณมาจากสมบัติทางไฟฟ้าระหว่างอิเล็กโทรด เมื่อก่อรูปนักเก็ตที่เหมาะสม โดยการส่งผ่านกระแสด้วยการควบคุมแบบกระแสคงที่ สำหรับแต่ละขั้นตอนเป็นค่าเป้าหมาย ก่อนการเชื่อมจริง และ หลังจากนั้น, การเริ่มต้นการเชื่อมโดยการใช้เส้นโค้งการแปรเปลี่ยนตามเวลาของปริมาณ ขณะหนึ่งของความร้อนที่ก่อเกิดต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรที่ได้มาโดยการเชื่อมทดสอบเป็นมาตราฐาน และเมื่อปริมาณการแปรเปลี่ยนตามเวลาของปริมาณขณะหนึ่งของความร้อนที่ก่อเกิดต่อหนึ่งหน่วย ปริมาตรนั้นเบี่ยงเบนไปในระหว่างขั้นตอนใดๆ จากเส้นโค้งการแปรเปลี่ยนตามเวลาโดยมีผลต่าง การกระทำการเชื่อมมีการควบคุมแบบปรับตัวเพื่อควบคุมปริมาณการส่งผ่านกระแสเพื่อชดเชย สำหรับผลต่างในระหว่างเวลาการเชื่อมที่เหลือในขั้นตอนเพื่อทำให้ปริมาณสะสมของความร้อน ที่ก่อเกิดในการเชื่อมจริงนั้นตรงกันกับปริมาณสะสมของความร้อนที่ก่อเกิดที่ได้รับการกำหนด ออกมาล่วงหน้าในการเชื่อมทดสอบ เป็นการเชื่อมจริง ---------- แก้ไข 9/09/2558 1. วิธีการของการเชื่อมจุดอาศัยความต้านทานเพื่อยึดติดวัสดุที่จะเชื่อมโดยการบีบกด วัสดุระหว่างคู่ของอิเล็กโทรด และการส่งผ่านกระแสในขณะที่ให้ความดัน, ซึ่งวัสดุคือแผ่นโลหะ ที่ซ้อนเกยกันจำนวนหนึ่ง, โดยวิธีการประกอบรวมด้วย: การแบ่งแบบรูปกระแสเป็นสองขั้นตอน หรือมากกว่าสำหรับการเชื่อม: การกระทำการเชื่อมทดสอบเพื่อเก็บ, การแปรเปลี่ยนตามเวลาของปริมาณขณะหนึ่งของ ความร้อนที่ก่อเกิดต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร และปริมาณสะสมของความร้อนที่ก่อเกิดต่อหนึ่งหน่วย ปริมาตรที่ได้รับการคำนวณมาจากสมบัติทางไฟฟ้าระหว่างอิเล็กโทรด เมื่อก่อรูปนักเก็ตที่เหมาะสม โดยการส่งผ่านกระแสด้วยการควบคุมแบบกระแสคงที่, สำหรับแต่ละขั้นตอนเป็นค่าเป้าหมาย, ก่อนการเชื่อมจริง; และ หลังจากนั้น, การเริ่มต้นการเชื่อมโดยการใช้เส้นโค้งการแปรเปลี่ยนตามเวลาของปริมาณ ขณะหนึ่งของความร้อนที่ก่อเกิดต่อเนื่องหน่วยปริมาตรที่ได้มาโดยการเชื่อมทดสอบเป็นมาตราฐาน และเมื่อปริมาณการแปรเปลี่ยนตามเวลาของปริมาณขณะหนึ่งของความร้อนที่ก่อเกิดต่อหนึ่งหน่วย ในปริมาตรนั้นเบี่ยงเบนไปในระหว่างขั้นตอนใดๆ จากเส้นโค้งการแปรเปลี่ยนตามเวลาโดยมีผลต่าง, การกระทำการเชื่อมมีการควบคุมแบบปรับตัวเพื่อควบคุมปริมาณการส่งผ่านกระแสเพื่อชดเชย สำหรับผลต่างในระหว่างเวลาการเชื่อมที่เหลือในขั้นตอนเพื่อทำให้ปริมาณสะสมของความร้อน ที่ก่อเกิดในการเชื่อมจริงนั้นตรงกันกับปริมาณสะสมของความร้อนที่ก่อเกิดที่ได้รับการกำหนด ออกมาล่วงหน้าในการเชื่อมทดสอบเป็น, การเชื่อมจริง 2. วิธีการของข้อถือสิทธิข้อ 1, ที่ซึ่งกำหนดเวลาสำหรับการแบ่งเป็นสองขั้นตอน หรือมากกว่า คือจุดในเวลาซึ่งรอยเชื่อมได้รับการก่อรูปขึ้นระหว่างวัสดุที่จะเชื่อม ------------------------------------------------------------------------------------------------ คำขอใหม่ปรับปรุงวันที่ 9/03/2559
1. วิธีการของการเชื่อมจุดอาศัยความต้านทานเพื่อยึดติดวัสดุที่จะเชื่อมโดยการบีบกด วัสดุระหว่างคู่ของอิเล็กโทรด และการส่งผ่านกระแสในขณะที่ให้ความดัน, ซึ่งวัสดุคือแผ่นโลหะ ที่ซ้อนเกยกันจำนวนหนึ่ง, โดยวิธีการประกอบรวมด้วย: การแบ่งแบบรูปกระแสเป็นสองขั้นตอน หรือมากกว่าสำหรับการเชื่อม: การกระทำการเชื่อมทดสอบเพื่อเก็บ, การแปรเปลี่ยนตามเวลาของปริมาณขณะหนึ่งของ ความร้อนที่ก่อเกิดต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร และปริมาณสะสมของความร้อนที่ก่อเกิดต่อหนึ่งหน่วย ปริมาตรที่ได้รับการคำนวนมาจากสมบัติทางไฟฟ้าระหว่างอิเล็กโทรด เมื่อก่อรูปนักเก็ตที่เหมาะสม โดยการส่งผ่านกระแสด้วยการควบคุมแบบกระแสคงที่, สำหรับแต่ละขั้นตอนเป็นค่าเป้าหมาย, ก่อนการเชื่อมจริง; และ หลังจากนั้น, การเริ่มต้นการเชื่อมโดยการใช้เส้นโค้งการแปรเปลี่ยนตามเวลาของปริมาณ ขณะหนึ่งของความร้อนที่ก่อเกิดต่อเนื่องหน่วยปริมาตรที่ได้มาโดยการเชื่อมทดสอบเป็นมาตราฐาน และเมื่อปริมาณการแปรเปลี่ยนตามเวลาของปริมาณขณะหนึ่งของความร้อนที่ก่อเกิดเบี่ยงเบนไป ในระหว่างขั้นตอนใดๆ จากเส้นโค้งการแปรเปลี่ยนตามเวลาโดยทีผลต่าง, การกระทำการเชื่อมมีการ ควบคุมแบบปรับตัวเพื่อควบคุมปริมาณการส่งผ่านกระแสเพื่อชดเชยสำหรับผลต่างในระหว่างเวลา การเชื่อมที่เหลือในขั้นตอนเพื่อทำให้ปริมาณสะสมของความร้อนที่ก่อเกิดในการเชื่อมจริงนั้นตรงกัน กับปริมาณสะสมของความร้อนที่ก่อเกิดที่ได้รับการกำหนดออกมาล่วงหน้าในการเชื่อมทดสอบเป็น, การเชื่อมจริง
2. วิธีการของข้อถือสิทธิข้อ 1, ที่ซึ่งกำหนดเวลาสำหรับการเเบ่งเป็นสองขั้นตอน หรือมากกว่า คือจุดในเวลาซึ่งรอยเชื่อมได้รับการก่อรูปขึ้นระหว่างวัสดุที่จะเชื่อม
TH1501005183A 2014-01-24 วิธีการเชื่อมจุดอาศัยความต้านทาน TH71342B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH157088A true TH157088A (th) 2016-10-04
TH1501005183B TH1501005183B (th) 2016-10-04
TH71342B TH71342B (th) 2019-09-03

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
WO2014156290A1 (ja) 抵抗スポット溶接システム
JPWO2014136507A1 (ja) 抵抗スポット溶接方法
JP5907317B1 (ja) 抵抗スポット溶接装置および抵抗スポット溶接方法
CN106132622A (zh) 电阻点焊方法
MY185598A (en) Method of welding metal-based materials
MX2020001864A (es) Metodo de soldadura por puntos de resistencia y metodo de produccion de miembro de soldadura.
CN109304536B (zh) 利用伺服压力机控制的闪光对焊焊接方法
MX2020008549A (es) Metodo de soldadura por puntos de resistencia y metodo de produccion de miembros de soldadura.
JP5582277B1 (ja) 抵抗スポット溶接システム
TH157088A (th) วิธีการเชื่อมจุดอาศัยความต้านทาน
JP2021112773A5 (th)
TH71342B (th) วิธีการเชื่อมจุดอาศัยความต้านทาน
JP2012011434A5 (th)
Rasheed et al. A Review on different optimization techniques used to optimize the process parameters of resistance spot welding
CN105478985A (zh) 一种点焊参数的确定方法
TH163362A (th) วิธีการเชื่อมต้านทานแบบจุด
JP6652228B1 (ja) 抵抗スポット溶接方法および溶接部材の製造方法
CN107175378A (zh) 交流电焊机进行银或银合金触点硬钎焊接的方法及装置
TH73522B (th) วิธีการเชื่อมต้านทานแบบจุด
TH163362B (th) วิธีการเชื่อมต้านทานแบบจุด
CN105522269A (zh) 用于优化电阻焊接板材的方法和设备
JP5988015B1 (ja) 抵抗スポット溶接方法
JP2020082168A (ja) スポット溶接方法及びスポット溶接の溶接条件設定方法
TH159923B (th) ระบบการเชื่อมจุดอาศัยความต้านทาน
TH2001007446A (th) วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดและวิธีการผลิตชิ้นประกอบผ่านการเชื่อม