TH2001007446A - วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดและวิธีการผลิตชิ้นประกอบผ่านการเชื่อม - Google Patents

วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดและวิธีการผลิตชิ้นประกอบผ่านการเชื่อม

Info

Publication number
TH2001007446A
TH2001007446A TH2001007446A TH2001007446A TH2001007446A TH 2001007446 A TH2001007446 A TH 2001007446A TH 2001007446 A TH2001007446 A TH 2001007446A TH 2001007446 A TH2001007446 A TH 2001007446A TH 2001007446 A TH2001007446 A TH 2001007446A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
welding
current
passing
test
per unit
Prior art date
Application number
TH2001007446A
Other languages
English (en)
Inventor
ชิคาอูมิมัตสึดะ ฮิโรชิอิเคดะ รินเซ ซาวานิชิ
Original Assignee
เจเอฟอี สตีล คอร์ปอเรชั่น
Filing date
Publication date
Application filed by เจเอฟอี สตีล คอร์ปอเรชั่น filed Critical เจเอฟอี สตีล คอร์ปอเรชั่น
Publication of TH2001007446A publication Critical patent/TH2001007446A/th

Links

Abstract

วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดประกอบรวมด้วย: การทำการเชื่อมทดสอบ; และ การทำการเชื่อมจริงภายหลังการเชื่อมทดสอบ, โดยที่ ในการผ่านกระแสหลักในการเชื่อมจริง, การเชื่อมควบคุมแบบปรับได้ได้รับการทำ, และในการผ่านกระแสลำดับหลังในการเชื่อมจริง, การผ่านกระแสได้รับการทำโดยการควบคุมกระแสคงตัวด้วยกระแสที่กำหนดโดยมีพื้นฐานอยู่บน สมบัติทางไฟฟ้าระหว่างอิเล็กโทรดในแต่ละการผ่านกระแสหลักในการเชื่อมทดสอบและการผ่าน กระแสหลักในการเชื่อมจริง

Claims (5)

1. วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดซึ่งเป็นการบีบ ชิ้นส่วนที่จะไต้รับการเชื่อมซึ่งเป็น แผ่นโลหะซ้อนเกยจำนวนหนึ่งโดยคู่ของอิเล็กโทรด, และการผ่านกระแสในขณะประยุกต์ให้แรง อิเล็กโทรดเพื่อต่อเชื่อมชิ้นส่วนที่จะได้รับการเชื่อม วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดซึ่งประกอบ รวมด้วย: การทำการเชื่อมทดสอบ; และ การทำการเชื่อมจริงภายหลังการเชื่อมทดสอบ, โดยที่ (a) ในการเชื่อมทดสอบ, จะทำการผ่านกระแสหลักสำหรับการก่อเกิดนักเกตและการผ่าน กระแสลำดับหลังสำหรับการปฏิบัติด้วยความร้อนในลำดับต่อมา ในการผ่านกระแสหลักในการเชื่อมทดสอบ เส้นกราฟการแปรผันเวลาของปริมาณชั่วขณะ ของความร้อนที่ก่อกำเนิดต่อหน่วยปริมาตรและปริมาณสะสมของความร้อนที่ก่อกำเนิดต่อหน่วย ปริมาตรที่ได้รับการคำนวณจากสมบัติทางไฟฟ้าระหว่างอิเล็กโทรดในการก่อเกิดนักเกตที่เหมาะสม โดยการทำการผ่านกระแสโดยการควบคุมกระแสคงตัวได้รับการจัดเก็บ, และ ในการผ่านกระแสลำดับหลังในการเชื่อมทดสอบ, การผ่านกระแสได้รับการทำโดยการ ควบคุมกระแสคงตัว และ (b) ภายหลังจากนั้น ในการเชื่อมจริง จะทำการผ่านกระแสหลักสำหรับการก่อเกิดนักเกตและ การผ่านกระแสลำดับหลังสำหรับการปฏิบัติด้วยความร้อนลำดับต่อมา, ในการผ่านกระแสหลักในการเชื่อมจริง, เส้นกราฟการแปรผันเวลาของปริมาณชั่วขณะของ ความร้อนที่ก่อกำเนิดต่อหน่วยปริมาตรและปริมาณสะสมของความร้อนที่ก่อกำเนิดต่อหน่วยปริมาตร ซึ่งได้รับการจัดเก็บในการผ่านกระแสหลักในการเชื่อมทดสอบได้รับการกำหนดตั้งเป็นเป้าหมาย, และการเชื่อมควบคุมแบบปรับได้ได้รับการทำเพื่อควบคุมปริมาณการผ่านกระแสตามเป้าหมาย, และ ในการผ่านกระแสลำดับหลังในการเชื่อมจริง, การผ่านกระแสได้รับการทำโดยการควบคุม กระแสคงตัวด้วยกระแสที่กำหนดโดยมีพื้นฐานอยู่บนสมบัติทางไฟฟ้าระหว่างอิเล็กโทรดในแต่ละ การผ่านกระแสหลักในการเชื่อมทดสอบและการผ่านกระแสหลักในการเชื่อมจริง
2. วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง 0.8 x Itp x (RBtm/RBam) น้อยกว่าหรือเท่ากับ lap น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1.2 x Itp x (RBtm/RBam), โดย RBtm เป็นค่าเฉลี่ยของความต้านทานในระหว่างอิเล็กโทรดในการผ่านกระแสหลักใน การเชื่อมทดสอบ, RBam เป็นค่าเฉลี่ยของความต้านทานระหว่างอิเล็กโทรดในการผ่านกระแสหลัก ในการเชื่อมจริง, Itp เป็นกระแสในการผ่านกระแสลำดับหลังในการเชื่อมทดสอบ, และ lap เป็น กระแสในการผ่านกระแสลำดับหลังในการเชื่อมจริง
3. วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ที่ซึ่ง ในการเชื่อมควบคุม แบบปรับได้ในการผ่านกระแสหลักในการเชื่อมจริง, ในกรณีที่ปริมาณของการแปรผันเวลาของ ปริมาณชั่วขณะของความร้อนที่ก่อกำเนิดต่อหน่วยปริมาตรแตกต่างจากเส้นกราฟการแปรผันเวลาของ ปริมาณชั่วขณะของความร้อนที่ก่อกำเนิดต่อหน่วยปริมาตรที่กำหนดตั้งเป็นเป้าหมาย, ปริมาณการ ผ่านกระแสได้รับการควบคุมเพื่อที่จะชดเชยความแตกต่างจากเส้นกราฟการแปรผันเวลาภายในเวลา การเชื่อมที่เหลือในการผ่านกระแสหลักในการเชื่อมจริงเพื่อที่ว่าปริมาณสะสมของความร้อนที่ ก่อกำเนิดต่อหน่วยปริมาตรในการผ่านกระแสหลักในการเชื่อมจริงสอดคล้องเข้าคู่กับปริมาณสะสม ของความร้อนที่ก่อกำเนิดต่อหน่วยปริมาตรที่กำหนดตั้งเป็นเป้าหมาย
4. วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3 ข้อหนึ่งข้อใด ที่ซึ่งเวลาการ ทำให้เย็นได้รับการกำหนดตั้งระหว่างการผ่านกระแสหลักและการผ่านกระแสลำดับหลังในการเชื่อม จริง และจำนวนของการทวนซํ้าของช่วงการเชื่อมสำหรับเวลาการทำให้เย็นและการผ่านกระแสลำดับ หลังภายหลังการผ่านกระแสหลักเป็นสองครั้งหรือมากกว่า
5. วิธีการผลิตชิ้นประกอบผ่านการเชื่อมซึ่งประกอบรวมด้วย การต่อเชื่อมจำนวนหนึ่งของแผ่นโลหะซ้อนเกยโดยวิธีการเชื่อมความต้านแบบจุดตามข้อถือ สิทธิข้อ 1 ถึง 4 ข้อหนึ่งข้อใด
TH2001007446A 2019-06-17 วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดและวิธีการผลิตชิ้นประกอบผ่านการเชื่อม TH2001007446A (th)

Publications (1)

Publication Number Publication Date
TH2001007446A true TH2001007446A (th) 2022-12-26

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
WO2014136507A1 (ja) 抵抗スポット溶接方法
CN105612020B (zh) 电阻点焊方法
WO2016174842A1 (ja) 抵抗スポット溶接方法
KR102265224B1 (ko) 저항 스폿 용접 방법 및 용접 부재의 제조 방법
WO2015190082A1 (ja) 抵抗スポット溶接装置および抵抗スポット溶接方法
Merchant Samir Investigation on effect of heat input on cooling rate and mechanical property (hardness) of mild steel weld joint by MMAW process
US11911837B2 (en) Resistance spot welding method and weld member production method
TH2001007446A (th) วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดและวิธีการผลิตชิ้นประกอบผ่านการเชื่อม
JP2021112773A5 (th)
TH2001007445A (th) วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดและวิธีการผลิตชิ้นประกอบผ่านการเชื่อม
TH2001007444A (th) วิธีการเชื่อมความต้านทานแบบจุดและวิธีการผลิตชิ้นประกอบผ่านการเชื่อม
Kumar et al. Experimental process of tungsten inert gas welding of a stainless steel plate
JP6969649B2 (ja) 抵抗スポット溶接方法および溶接部材の製造方法
JP6652228B1 (ja) 抵抗スポット溶接方法および溶接部材の製造方法
CN112334261B (zh) 电阻点焊方法和焊接构件的制造方法
KR102617967B1 (ko) 저항 스폿 용접 방법 및 용접 부재의 제조 방법
JP2020082168A (ja) スポット溶接方法及びスポット溶接の溶接条件設定方法
TH2001000743A (th) วิธีการเชื่อมแบบความต้านทานชนิดจุดและวิธีการผลิตชิ้นประกอบเชื่อม
JP7245589B2 (ja) スポット溶接の溶接条件の設定方法
TH163362A (th) วิธีการเชื่อมต้านทานแบบจุด
JPWO2016174842A1 (ja) 抵抗スポット溶接方法
CN112368101B (zh) 电阻点焊方法和焊接构件的制造方法
TH163362B (th) วิธีการเชื่อมต้านทานแบบจุด
TH73522B (th) วิธีการเชื่อมต้านทานแบบจุด
JP2024042667A (ja) 抵抗スポット溶接方法および溶接部材の製造方法