TH14052B - "วิธีการทำผลิตภัณฑ์ทิชชูนุ่ม" - Google Patents

"วิธีการทำผลิตภัณฑ์ทิชชูนุ่ม"

Info

Publication number
TH14052B
TH14052B TH9501000388A TH9501000388A TH14052B TH 14052 B TH14052 B TH 14052B TH 9501000388 A TH9501000388 A TH 9501000388A TH 9501000388 A TH9501000388 A TH 9501000388A TH 14052 B TH14052 B TH 14052B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
approximately
fabric
percent
fibers
transfer
Prior art date
Application number
TH9501000388A
Other languages
English (en)
Other versions
TH17665A (th
TH17665B (th
Inventor
อาร์เธอร์ เวนดท์ นายเกรก
เอฟ.ชิว์ นายไค
อลัน บูราซิน นายมาร์ก
โอดอร์ เดวิน ฟาร์ริงตั้น นายเดอะ
อลัน ฮีทตั้น นายเดวิด
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH17665A publication Critical patent/TH17665A/th
Publication of TH17665B publication Critical patent/TH17665B/th
Publication of TH14052B publication Critical patent/TH14052B/th

Links

Abstract

ผลิตภัณฑ์ทิชชูที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน เช่น ทิชชูเช็ดหน้า ทิชชู ห้องน้ำและ กระดาษเช็ดมือเป็นสิ่งที่ทำขึ้นโดยใช้ผ้าทำแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีรอยนูน ในแนวเครื่องในช่วงตั้งแต่ประมาณ 5 ถึง ประมาณ 300 ต่อตารางนิ้ว (ต่อ 6.45 ตารางเซนติเมตร) ซึ่งนูนสูงขึ้นเหนือระนาบของผ้า รอยนูนเหล่านี้ตรงกับรอยนูนในแผ่นวัส ดุที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนซึ่งทำให้แผ่นวัสดุมีการยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องเป็น ปริมาณมาก นอกจากนี้คุณสมบัติอื่น เช่น ปริมาตรรวม ความจุของการดูดซับ อัตราการดูดซับ และการโค้งงอก็โด้รับการปรับปรุงให้ดีขึ้นด้วย

Claims (4)

1. แผ่นทิชชูที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนชนิดที่ไม่ได้ทำให้ย่น ที่จัดว่ามีความ หนาแน่นสม่ำเสมอมีน้ำหนักมาตรฐานตั้งแต่ประมาณ 10 ถึงประมาณ 70 กรัมต่อตารางเมตร ปริมาตร รวมเมื่ออัดในสภาพเปียก (WCB) ประมาณ 4.5 กรัมหรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัมหรือมากกว่า, การยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า และ รอยนูนจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งมีความสูงโดยสัมพันธ์กับระนาบพื้นผิว ของแผ่นเมื่อวัดในสภาพที่ยังไม่ได้รีดด้วยลูกกลิ้งเป็นประมาณ 0.0005 นิ้ว หรือมากกว่า และซึ่งตรงกับ รอยนูนที่เป็นรูปยางในแนวเครื่องบนผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน 2. แผ่นทิชชูที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนชนิดที่ไม่ได้ทำให้ย่นที่จัดว่ามีความ หนาแน่นสม่ำเสมอมีน้ำหนักมาตรฐานตั้งแต่ประมาณ 10 ถึงประมาณ 70 กรัมต่อตารางเมตร ปริมาตร รวมเมื่ออัดในสภาพเปียก (WCB) ประมาณ 4.5 กรัม หรือมากกว่า อัตราการดูดซับเคลื่อนย้ายประมาณ 2.5 ซม. หรือมากว่าต่อ 15 วินาที การยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า และรอยนูนจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งมีความสูงโดยสัมพันธ์กับระนาบพื้นผิว ของแผ่นเมื่อวัดในสภาพที่ยังไม่ได้รีดด้วยลูกกลิ้งเป็นประมาณ 0.0005 นิ้วหรือมากกว่า และซึ่งตรงกับ รอยนูนที่เป็นรูปยางในแนวเครื่องบนผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน 3. แผ่นทิชชูที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนชนิดที่ไม่ได้ทำให้ย่นที่จัดว่ามีความ หนาแน่นสม่ำเสมอมีน้ำหนักมาตรฐานตั้งแต่ประมาณ 10 ถึงประมาณ 70 กรัมต่อตารางเมตร การสปริง ตัวกลับในสภาพเปียก (WS) ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า ความจุดของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัม หรือมากกว่าการยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า และ รอยนูนจากประมาณ 5 ถึง 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งมีความสูงโดยสัมพันธ์กับระนาบพื้นผิวของแผ่น เมื่อวัดในสภาพที่ยังไม่ได้รีดด้วยลูกกลิ้งเป็นประมาณ 0.0005 นิ้วหรือมากกว่า และซึ่งตรงกับรอยนูนที่ เป็นรูปยางในแนวเครื่องบนผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน 4. แผ่นทิชชูที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนชนิดที่ไม่ได้ทำให้ย่นที่จัดว่ามีความ หนาแน่นสม่ำเสมอมีน้ำหนักมาตรฐานตั้งแต่ประมาณ 10 ถึงประมาณ 70 กรัมต่อตารางเมตร การสปริง ตัวกลับในสภาพเปียก (WS) ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า อัตราการดูดซับเคลื่อนย้ายประมาณ 2.5 ซม หรือมากกว่าต่อ 15 วินาที การยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์ หรือมากกว่า และรอยนูนจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งมีความสูงโดยสัมพันธ์กับระนาบพื้นผิว ของแผ่นเมื่อวัดในสภาพที่ยังไม่ได้รีดด้วยลูกกลิ้งเป็นประมาณ 0.0005 นิ้วหรือมากกว่า และซึ่งตรงกับรอย นูนที่เป็นรูปยางในแนวเครื่องบนผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน 5. แผ่นทิชชูที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนชนิดที่ไม่ได้ทำให้ย่นที่จัดว่ามีความ หนาแน่นสม่ำเสมอมีน้ำหนักมาตรฐานตั้งแต่ประมาณ 10 ถึงประมาณ 70 กรัมต่อตารางเมตร อัตรา ส่วนของพลังงานโหลด (LER) ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ9 กรัมต่อกรัมหรือมากกว่า การยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า และ รอยนูนจากประมาณ 5 ถึง 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งมีความสูงโดยสัมพันธ์กับระนาบพื้นผิวของแผ่น เมื่อวัดในสภาพที่ยังไม่ได้รีดด้วยลูกกลิ้งเป็นประมาณ 0.0005 นิ้วหรือมากกว่า และซึ่งตรงกับรอยนูนที่ เป็นรูปยางในแนวเครื่องบนผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน 6. แผ่นทิชชูที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนชนิดที่ไม่ได้ทำให้ย่นที่จัดว่ามีความ หนาแน่นสม่ำเสมอ มีน้ำหนักมาตรฐานตั้งแต่ประมาณ 10 ถึงประมาณ 70 กรัมต่อตารางเมตร อัตรา ส่วนของพลังงานโหลด (LER) ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 2.5 ซม. หรือมากกว่าต่อ 15 วินาที การยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า และรอยนูนจากประมาณ 5 ถึง 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งมีความสูงโดยสัมพันธ์กับระนาบพื้นผิวของแผ่น เมื่อวัดในสภาพที่ยังไม่ได้รีดด้วยลูกกลิ้งเป็นประมาณ 0.0005 นิ้วหรือมากกว่า และซึ่งตรงกับรอยนูนที่ เป็นรูปยางในแนวเครื่องบนผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน 7. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีรอยนูนจากประมาณ 10 ถึง ประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 8. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีรอยนูนจากประมาณ 10 ถึง ประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 9. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ซึ่งความสูงของรอยนูนจากประมาณ 0.005 ถึงประมาณ 0.05 นิ้ว 1 0. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ซึ่งความสูงรอยนูนจากประมาณ 0.005 ถึงประมาณ 0.03 นิ้ว 1 1. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ซึ่งความสูงรอยนูนจากประมาณ 0.01 ถึงประมาณ 0.02 นิ้ว 1 2. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ซึ่งความยาวของรอยนูนในแนวเครื่อง คือจากประมาณ 0.030 ถึงประมาณ 0.425 นิ้ว 1 3. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ซึ่งความยาวของรอยนูนในแนวเครื่อง คือประมาณ 0.05 ถึงประมาณ 0.25 นิ้ว 1 4. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ซึ่งความยาวของรอยนูนในแนวเครื่อง คือจากประมาณ 0.1 ถึงประมาณ 0.2 นิ้ว 1 5. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีการยืดในทิศทางขวางแนวเครื่อง จากประมาณ 10 ถึงประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ 1 6. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีปริมาตรรวมประมาณ 9 ลบ. ซม. ต่อกรัมหรือมากกว่า 1 7. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีปริมาตรรวมประมาณ 12 ลบ. ซม. ต่อกรัมหรือมากกว่า 1 8. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีปริมาตรรวมประมาณ 12 ถึง ประมาณ 25 ลบ. ซม. ต่อกรัมหรือมากกว่า 1 9. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีปริมาตรรวมประมาณ 15 ถึง ประมาณ 20 ลบ. ซม. ต่อกรัมหรือมากกว่า 2 0. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีการโค้งงอตามที่วัดได้ด้วยอัตรา ส่วนของค่าเฉลี่ยเชิงเรขาคณิตของโมดูลัสของแรงดึงเฉลี่ยเชิงเรขาคณิตของความทนแรงตึงคือ ประมาณ 4.25 กม. ต่อกิโลกรัม หรือน้อยกว่า 2 1. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีการโค้งงอตามที่วัดได้ด้วยอัตรา ส่วนของค่าเฉลี่ยเชิงเรขาคณิตของโมดูลัสของแรงตึงต่อค่าเฉลี่ยเชิงเรขาคณิตของความทนแรงตึงคือ ประมาณ 2 ถึงประมาณ 4.25 กม. ต่อกิโลกรัม หรือน้อยกว่า 2 2. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,3, หรือ 5 ที่มีอัตราการดูดซึมเคลื่อนย้ายประมาณ 25 นิ้วต่อ 15 วินาที หรือมากกว่า 2 3. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีอัตราการดูดซึมเคลื่อนย้ายจาก ประมาณ 2.5 ถึงประมาณ 4 นิ้วต่อ 15 วินาที 2 4. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีอัตราการดูดซึมเคลื่อนย้ายจาก ประมาณ 3 ถึงประมาณ 3.5 นิ้วต่อ 15 วินาที 2 5. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีความจุขอการดูดซับประมาณ 12 กรัมต่อกรัมหรือมากกว่า 2 6. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีค่าความกระด้าง MD ประมาณ 100 กิโลกรัม - ไมครอน 1/2 หรือน้อยกว่า 2 7. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีค่าความกระด้าง MD ประมาณ 75 กิโลกรัม - ไมครอน 1/2 หรือน้อยกว่า 2 8. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีค่าความกระด้าง MD ประมาณ 50 กิโลกรัม - ไมครอน 1/2 หรือน้อยกว่า 2 9. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีค่า WCB ประมาณ 5.0 หรือมาก กว่า 3 0. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีค่า LER ประมาณ 55 เปอร์เซ็นต์ หรือมากกว่า 3 1. แผ่นทิชชูตามข้อถือสิทธิที่ 1,2,3,4,5 หรือ 6 ที่มีค่า WS ประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์ หรือมากกว่า 3 2. ผลิตภัณฑ์ทิชชูที่มีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอที่ทำให้แห้งด้วยการผ่าน อากาศร้อนหนึ่งหรือหลายชั้น มีน้ำหนักมาตรฐานตั้งแต่ประมาณ 10 ถึงประมาณ 70 กรัมต่อตาราง เมตร ปริมาตรรวมเมื่ออัดในสภาพเปียก (WCB) ประมาณ 5 หรือมากกว่า การสปริงตัวกลับในสภาพ เปียก (WS) ประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัมหรือ มากกว่า การยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า และปริมาตรรวม ประมาณ 9 ลบ.ซม. ชั้นหนึ่งหรือหลายชั้นที่มีรอยนูนจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอย ต่อตารางนิ้วที่มีความสูงโดยสัมพันธ์กับระนาบพื้นผิวของแผ่นเมื่อวัดในสภาพที่ย่นและยังไม่ได้ รีดด้วยลูกกลิ้งเป็นประมาณ 0.0005 นิ้ว หรือมากกว่า และซึ่งตรงกับรอยนูนที่เป็นรูปยางในแนวเครื่อง บนผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน 3 3. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์. (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีรอย นูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขึ้นอย่าง น้อยประมาณ 0.005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่องของ ผ้าซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าให้เข้ากับรูปกับผิวของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการ ผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่ทำให้ แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ ซึ่งมีปริมาตรรวมเมื่ออัดในสภาพเปียก (WCB) ประมาณ 4.5 หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัมหรือมากกว่า และการ ยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า 3 4. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีรอย นูนที่ทำเป็นรูปยาวในเนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขึ้นอย่าง น้อยประมาณ 0.005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่องของ ผ้าซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าให้เข้ากับรูปกับผิวของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการ ผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่ทำให้ แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ ซึ่งมีปริมาตรรวมเมื่ออัดในสภาพเปียก (WS) ประมาณ 50 หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัมหรือมากกว่า และการ ยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า . 3 5. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีรอย นูนที่ทำเป็นรูปยาวในเนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขึ้นอย่าง น้อยประมาณ 0.005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่องของ ผ้าซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าให้เข้ากับรูปกับผิวของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการ ผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่ทำให้ แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ ซึ่งมีปริมาตรรวมเมื่ออัดในสภาพเปียก (LER) ประมาณ 50 เปอร์เซนต์หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัมหรือมากกว่า และการยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า 3 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34 หรือ 35 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาว ในแนวเครื่องจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 3 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34 หรือ 35 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาว ในแนวเครื่องจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 3 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34 หรือ 35 ซึ่งผ้าถ่ายโอนมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาว ในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกยกขึ้นอย่างน้อยประมาณ 0.005 นิ้ว หรือมากกว่าเหนือระนาบที่เกิดจากสูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่องของผ้าถ่าย โอน 3 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 38 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง คือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 4 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 38 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง คือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 4 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34 หรือ 35 ซึ่งแผ่นเส้นใยที่ถูกทำให้แห้งด้วยการ ผ่านอากาศร้อนจะถูกรีดด้วยลูกกลิ้ง 4 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34 หรือ 35 ซึ่งแผ่นเส้นใยที่ถูกทำให้แห้งด้วยการ ผ่านอากาศร้อนจะถูกทำให้ย่น 4 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34 หรือ 35 ซึ่งแผ่นเส้นใยที่ถูกทำให้แห้งด้วยการ ผ่านอากาศร้อนจะไม่ย่น 4 4. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ผ้าถ่ายโอนดังกล่าว มีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกยกขึ้น อย่างน้อยประมาณ 0.005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่อง ของผ้าผ้าถ่ายถ่ายโอนซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ห้เข้ากับรูปกับผิวหน้าของผ้า ถ่ายโอน และ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และ ทำให้เแผ่นเส้นใยเพื่อผลิตที่มีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอที่มีปริมาตรรวมเมื่ออัด ในสภาพเปียก (WBC) ประมาณ 4.5 หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัม หรือ มากกว่า และการยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า 4 5. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ผ้าถ่ายโอนดังกล่าว มีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกยกขึ้น อย่างน้อยประมาณ 0.005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่อง ของผ้าถ่ายโอนซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าให้เข้ากับรูปกับผิวหน้าของผ้า ถ่ายโอน และ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และ ทำให้แผ่นเส้นใยเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่มีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอที่มีปริมาตรรวมเมื่ออัด ในสภาพเปียก (WS) ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัม หรือมากกว่า และการยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า 4 6. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ผ้าถ่ายโอนดังกล่าว มีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกยกขึ้น อย่างน้อยประมาณ 0.005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่อง ของผ้าถ่ายถ่ายโอนซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าให้เข้ากับรูปกับผิวหน้าของผ้า ถ่ายโอน และ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และ ทำให้เแผ่นเส้นใยแห้งเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่มีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอที่มีอัตราส่วนของพลังงาน โหลด (LER) ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัม หรือ มากกว่า และการยืดในทิศทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า 4 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 44,45 หรือ 46 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาว ในแนวเครื่องจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 4 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 44, 45 หรือ 46 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาว ในแนวเครื่องคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 4 9. วิธีการทำผลิตภัณฑ์ทิชชูที่ถูกทำให้แห้งโดยการผ่านอากาศร้อนที่ไม่ย่น และ นุ่มนวลประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ หรือมากกว่า (b) การดำเนินการเชิงกลรับการสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่อุณหภูมิ ประมาณ 140 ํฟ. หรือมากกว่าโดยที่ได้รับความร้อนจากแหล่งความร้อนภายนอกด้วยพลังงานส่ง เข้าประมาณ 1 แรงม้าต่อวันตันของเส้นใยแห้งหรือมากกว่า (c) การทำให้สารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำของเส้นใยที่ถูกดำเนินการ เชิงกลแล้วเจือจางมีความเข้มข้นประมาณ 0.5 เปอร์เซ็นต์หรือต่ำกว่า และการป้อนสารแขวนลอย ที่เจือจางแล้วไปยังกล่องจ่ายเส้นใยทำทิชชูแบบเป็นชั้นที่ทำให้ มีชั้นวัสดุสองชั้น หรือมากกว่า (d) การรวมสารปรุงแต่งเพื่อความแข็งแรงในสภาพเปียกประเภทชั่วคราว หรือ ถาวรลงไปในชั้นวัสดุดังกล่าวหนึ่งชั้นหรือมากกว่า (e) การสะสมสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่เจือจางแล้วลงบนผ้าทำรูป เพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (f) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นตั้งแต่ประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (g) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (h) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีรอย นูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขึ้นอย่าง น้อยประมาณ 0.005 นิ้ว เหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่องของ ผ้าที่ถูกทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน ดังนั้นแผ่นเส้นใยจะถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นด้วยตาเปล่า ให้เข้ากับรูปกับผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้งโดยการผ่านอากาศร้อน (i) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนจนถึงความแห้งขั้นสุดท้าย โดยมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ และมีปริมาตรรวมเมื่ออัดในสภาพเปียก (WCB) ประมาณ 4.5 หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัมหรือมากกว่า และการยืดในทิศทางขวางแนว เครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า และ (j) การรีดแผ่นเส้นใยที่แห้งด้วยลูกกลิ้ง 5 0. วิธีการทำผลิตภัณฑ์ทิชชูที่ถูกทำให้แห้งโดยการผ่านอากาศร้อนที่ไม่ย่น และ นุ่มนวลประกอบด้วย (a) การทำสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ หรือมากกว่า (b) การดำเนินการเชิงกลรับการสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่อุณหภูมิ ประมาณ 140 ํฟ หรือมากกว่าโดยที่ได้รับความร้อนจากแหล่งความร้อนภายนอกด้วยพลังงานส่งเข้า ประมาณ 1 แรงม้าต่อวันตันของเส้นใยแห้งหรือมากกว่า (c) การทำให้สารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำของเส้นใยที่ถูกดำเนินการ เชิงกลแล้วเจือจางจนมีความเข้มข้นประมาณ 0.5 เปอร์เซ็นต์หรือต่ำกว่า และการป้อนสารแขวนลอย ที่เจือจางแล้วไปยังกล่องจ่ายเส้นใยทำทิชชูแบบเป็นชั้นที่ทำให้มีชั้นวัสดุสองชั้น หรือมากกว่า (d) การรวมสารปรุงแต่งเพื่อความแข็งแรงในสภาพเปียกประเภทชั่วคราว หรือ ถาวรลงไปในชั้นวัสดุดังกล่าวหนึ่งชั้นหรือมากกว่า (e) การสะสมสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่เจือจางแล้วลงบนผ้าทำรูป เพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (f) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (g) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (h) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีรอย นูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขึ้นอย่าง น้อยประมาณ 0.005 นิ้ว เหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่องของ ผ้าที่ถูกทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน ดังนั้นแผ่นเส้นใยจะถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นด้วยตาเปล่า ให้เข้ากับรูปกับผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้ง โดยการผ่านอากาศร้อน (i) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนจนถึงความแห้งขั้นสุดท้าย โดยมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ และมีปริมาตรรวมเมื่ออัดในสภาพเปียก (WS) ประมาณ 50 เปอร์เซนต์หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัมหรือมากกว่า และการยืดในทิศ ทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า และ (j) การรีดแผ่นเส้นใยที่แห้งด้วยลูกกลิ้ง 5 1. วิธีการทำผลิตภัณฑ์ทิชชูที่ถูกทำให้แห้งโดยการผ่านอากาศร้อนที่ไม่ย่นและนุ่มนวล ประกอบด้วย (a) การทำสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ หรือมากกว่า (b) การดำเนินการเชิงกลรับการสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่อุณหภูมิ ประมาณ 140 ํฟ หรือมากกว่าโดยที่ได้รับความร้อนจากแหล่งความร้อนภายนอกด้วยพลังงานส่งเข้า ประมาณ 1 แรงม้าต่อวันตันของเส้นใยแห้งหรือมากกว่า (c) การทำให้สารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำของเส้นใยที่ถูกดำเนินการ เชิงกลแล้วเจือจางจนมีความเข้มข้นประมาณ 0.5 เปอร์เซ็นต์หรือต่ำกว่า และการป้อนสารแขวนลอย ที่เจือจางแล้วไปยังกล่องจ่ายเส้นใยทำทิชชูแบบเป็นชั้นที่ทำให้มีชั้นวัสดุสองชั้น หรือมากกว่า (d) การรวมสารปรุงแต่งเพื่อความแข็งแรงในสภาพเปียกประเภทชั่วคราว หรือ ถาวรลงไปในชั้นวัสดุดังกล่าว หนึ่งชั้นหรือมากกว่า (e) การสะสมสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่เจือจางแล้วลงบนผ้าทำรูป เพื่อแผ่นเส้นใยเปียก (f) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (g) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (h) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีรอย นูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขึ้นอย่าง น้อยประมาณ 0.005 นิ้ว เหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่องของ ผ้าที่ถูกทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน ดังนั้นแผ่นเส้นใยจะถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ให้เข้ากับรูปกับผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้ง โดยผ่านอากาศร้อน (i) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนจนถึงความแห้งขั้นสุดท้าย โดยมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ และมีปริมาตรรวมเมื่ออัดในสภาพเปียก (LER) ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัมหรือมากกว่า และการยืดในทิศ ทางขวางแนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่าและ (j) การรีดแผ่นเส้นใยที่แห้งด้วยลูกกลิ้ง 5 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34,35,44,45,46,49,50 หรือ 51 ซึ่งความยาวของ รอยนูนในแนวเครื่องคือจากประมาณ 0.030 นิ้วถึงประมาณ 0.425 นิ้ว 5 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34,35,44,45,46,49,50 หรือ 51 ซึ่งความยาวของ รอยนูนในแนวเครื่องคือจากประมาณ 0.05 นิ้วถึงประมาณ 0.25 นิ้ว 5 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34,35,44,45,46,49,50 หรือ 51 ซึ่งรอยนูนในแนว เครื่องจะคร่อมด้านบนจากประมาณ 2 ถึงประมาณ 15 ด้ายเส้นขวาง 5 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34,35,44,45,46,49,50 หรือ 51 ซึ่งรอยนูนในแนว เครื่องจะคร่อมด้านบนจากประมาณ 3 ถึงประมาณ 11 ด้ายเส้นขวาง 5 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34,35,44,45,46,49,50 หรือ 51 ซึ่งรอยนูนในแนว เครื่องจะคร่อมด้านบนจากประมาณ 3 ถึงประมาณ 7 ด้ายเส้นขวาง 5 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34,35,44,45,46,49,50 หรือ 51 ซึ่งรอยนูนในแนว เครื่องจะปรากฏในลักษณะซ้อนเหลื่อมเมื่อมองในทิศทางขวางแนวเครื่อง 5 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34,35,44,45,46,49,50 หรือ 51 ซึ่งรอยนูนที่ทำ รูปยาวในแนวเครื่องตามที่วัดโดยความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของ รอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องและระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนของด้ายขวางเป็น จากประมาณ 30 ถึงประมาณ 150 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางของด้วยเส้นยืนที่ทำให้เกิดรอยนูน ที่ทำเป็นรูปยางในแนวเครื่อง 6 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 33,34,35,44,45,46,49,50 หรือ 51 ซึ่งความสูงของ รอยนูนที่ทำรูปยาวในแนวเครื่องตามที่วัดโดยความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากจุด ที่สูงที่สุดของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง และระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนของ ด้ายขวางเป็นจากประมาณ 70 ถึงประมาณ 110 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางของด้ายเส้นยืนที่ทำให้ เกิดรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง 6 1. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีชั้น รับแรง และชั้นรูปสลักสามมิติ ชั้นรูปสลักดังกล่าวมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวตามแนว เครื่องจาก ประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกทำขึ้น โดยส่วนเส้นด้ายที่ถูกอัดซึ่งถูกทอเป็นผ้า ในแนว เครื่องของผ้าซึ่งความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากผิวหน้าด้านบนของชั้นรับ แรงและระนาบที่เกิดจากด้านบนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในในแนว เครื่องในชั้นรูปสลักมีค่าอย่าง น้อย 30เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นด้ายที่ถูกอัด และซึ่งแผ่นเส้น ใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มอง เห็นด้วยตาเปล่าให้เข้ากับรูปกับผิวของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนในลักษณะที่แผ่นเส้นใย จะมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอและปริมาตรรวมเมื่ออัดในสภาพเปียกประมาณ 4.5 หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัมหรือมากกว่า และการยืดในทิศทางขวางแนวเครื่อง ประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า 6 2. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีชั้น รับแรง และชั้นรูปสลักสามมิติ ชั้นรูปสลักดังกล่าวมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวตามแนว เครื่องจาก ประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกทำขึ้นโดยส่วนเส้นด้ายที่ถูกอัดซึ่งถูกทอเป็นผ้า ในแนว เครื่องของผ้าซึ่งความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากผิวหน้าด้านบนของชั้นรับ แรงและระนาบที่เกิดจากด้านบนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในในแนว เครื่องในชั้นรูปสลักมีค่าอย่าง น้อย 30เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นด้ายที่ถูกอัด และซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มอง เห็นด้วยตาเปล่าให้เข้ากับรูปกับผิวของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนในลักษณะที่อแผ่นเส้นใย จะมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ การสปริงตัวกลับในสภาพเปียก (WS) ประมาณ 50 เปอร์เซนต์ หรือมากกว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัมหรือมากกว่า และการยืดในทิศทางขวาง แนวเครื่องประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า 6 3. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีชั้น รับแรง และชั้นรูปสลักสามมิติ ชั้นรูปสลักดังกล่าวมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวตามแนว เครื่องจาก ประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกทำขึ้น โดยส่วนเส้นด้ายที่ถูกอัดซึ่งถูกทอเป็นผ้า ในแนว เครื่องของผ้าซึ่งความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากผิวหน้าด้านบนของชั้นรับ แรงและระนาบที่เกิดจากด้านบนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในในแนว เครื่องในชั้นรูปสลักมีค่าอย่าง น้อย 30 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นด้ายที่ถูกอัด และซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มอง เห็นด้วยตาเปล่า ให้เข้ากับรูปกับผิวของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนในลักษณะที่แผ่นเส้นใย จะมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมออัตราส่วนของพลังงานโหลดประมาณ 50 เปอร์เซนต์หรือมาก กว่า ความจุของการดูดซับประมาณ 9 กรัมต่อกรัมหรือมากกว่า และการยืดในทิศทางขวางแนวเครื่อง ประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า 6 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 61,62 หรือ 63 ซึ่งความแตกต่างของระนาบคือจาก 30 ถึง 150 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัด 6 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 61,62 หรือ 63 ซึ่งความแตกต่างของระนาบคือจาก 70 ถึง 100 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัด 6 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 61,62 หรือ 63 ซึ่งความแตกต่างของระนาบคือประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัด 6 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 61,62 หรือ 63 ซึ่งเส้นผ่าศูนย์กลางเส้นใยที่ถูกอัดคือ จาก 0.005 นิ้ว ถึงประมาณ 0.05 นิ้ว 6 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 61,62 หรือ 63 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาว ในแนวเครื่องคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 6 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 61,62 หรือ 63 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาว ในแนวเครื่องคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 7 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 61,62 หรือ 63 ซึ่งผ้าถ่ายโอนมีชั้นรับแรง และชั้นรูป สลักสามมิติชั้นรูปสลักดังกล่าวมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกทำขึ้น โดยมีส่วนเส้นด้ายที่ถูกอัดทอเป็นผ้าถ่ายโอนในแนว เครื่องของผ้า ซึ่งความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากผิวหน้าด้านบนของชั้นรับแรง และระนาบที่เกิด จากชั้นบนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง ในชั้นรูปสลักเป็นอย่างน้อย 30 เปอร์เซ็นต์ของ เส้นผ่าศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัด 7 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 61,62 หรือ 63 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาว ในแนวเครื่องในผ้าถ่ายโอนคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 7 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 61, 62 หรือ 63 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาว ในแนวเครื่องในถ่ายโอนคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 7 3. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีรอย นูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขึ้นอย่าง น้อยประมาณ 0.005 นิ้ว เหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดขิงริยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่อง ของผ้าซึ่งแผ่นเส้น ใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าให้เข้ารูปกับผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้ง ด้วยการผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่ทำให้ แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ 7 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง คือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 7 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง จากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 7 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 ซึ่งผ้าถ่ายโอนมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง คือจากประมาณ 5ถึง ประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกยกขึ้นอย่างน้อยประมาณ 0.0005 นิ้ว หรือ มากกว่าเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่องของผ้าถ่ายโอน 7 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 ซึ่งผ้าถ่ายโอนมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง ในผ้าถ่ายโอนคือจากประมาณ 10 ถึง ประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 7 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 76 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง จากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 7 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 หรือ 76 ซึ่งแผ่นเส้นใยที่ถูกทำให้แห้งด้วยการผ่าน อากาศร้อนจะถูกรีดด้วยลูกกลิ้ง 8 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 หรือ 76 ซึ่งแผ่นเส้นใยที่ถูกทำให้แห้งด้วยการผ่าน อากาศร้อนจะถูกทำให้ย่น 8 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 หรือ 76 ซึ่งแผ่นเส้นใยที่ถูกทำให้แห้งด้วยการผ่าน อากาศร้อนจะไม่ย่น 8 2. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้ว จากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ผ้าถ่ายโอนดังกล่าว มีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกยกขึ้น อย่างน้อยประมาณ 0.005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนว เครื่องของผ้าถ่ายโอนซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าให้เข้ากับรูปกับผิวหน้าของ ผ้าถ่ายโอน และ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ถูกทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และ ทำให้เแผ่นเส้นใยแห้งเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่มีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ 8 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 82 ซึ่งผ้าถ่ายโอนมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง ในผ้าถ่ายโอนคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 8 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 10 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง ในผ้าถ่ายโอนคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 8 5. วิธีการทำผลิตภัณฑ์ทิชชูที่ถูกทำให้แห้งโดยการผ่านอากาศร้อนที่ไม่ย่น และ นุ่มนวลประกอบด้วย (a) การทำสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า (b) การดำเนินการเชิงกับสารแขงลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่อุณหภูมิ ประมาณ 140 ํฟ. หรือสูงกว่า โดยที่ได้รับความร้อนจากแหล่งความร้อนภายนอกด้วยพลังงานส่งเข้า ประมาณ 1 แรงม้า-วันต่อตันของเส้นใยแห้ง หรือมากกว่า (c) การทำให้สารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำของเส้นใยที่ถูกดำเนินการเชิงกล แล้วเจือจางมีความเข้มข้นประมาณ 0.5 เปอร์เซ็นต์หรือต่ำกว่า และการป้อนสารแขวนลอยที่เจือจาง แล้วไปยังกล่องจ่ายเส้นใยทำทิชชูแบบเป็นชั้นที่ทำให้ มีชั้นวัสดุสองชั้นหรือมากกว่า (d) การรวมสารปรุงแต่งเพื่อความแข็งแรงในสภาพเปียกประเภทชั่วคราวหรือ ถาวรลงไปในชั้นวัสดุดังกล่าวหนึ่งชั้นหรือมากกว่า (e) การสะสมสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่เจือจางแล้วลงบนผ้าทำรูป เพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (f) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ . (g) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (h) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีรอยนูน ที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกยกขึ้นอย่างน้อย ประมาณ 0.005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางเครื่องของผ้าที่ถูก ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน ดังนั้นแผ่นเส้นใยจะถูกเรียงใหม่ที่มองเห็นด้วยตาเปล่าให้เข้า รูปกับผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน (i) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนจนถึงความแห้งขั้นสุดท้าย โดยมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ และ (j) การรีดแผ่นเส้นใยที่แห้งด้วยลูกกลิ้ง 8 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 ,82 หรือ 85 ซึ่งความยาวของรอยนูนในแนวเครื่อง คือประมาณ 0.030 นิ้วถึงประมาณ 0.425 นิ้ว 8 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 ,82 หรือ 85 ซึ่งความยาวของรอยนูนในแนวเครื่อง คือประมาณ 0.05 นิ้วถึงประมาณ 0.25 นิ้ว 8 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 ,82 หรือ 85 ซึ่งความยาวของรอยนูนในแนวเครื่อง คือประมาณ 0.1 นิ้วถึงประมาณ 0.2 นิ้ว 8 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 ,82 หรือ 85 ซึ่งรอยนูนในแนวเครื่องจะคร่อมด้านบน จากประมาณ 2 ถึงประมาณ 15 ด้ายเส้นขวาง 9 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 ,82 หรือ 85 ซึ่งรอยนูนในแนวเครื่องจะคร่อมด้านบน จากประมาณ 3 ถึงประมาณ 11 ด้ายเส้นขวาง 9 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 ,82 หรือ 85 ซึ่งรอยนูนในแนวเครื่องจะคร่อมด้านบน จากประมาณ 3 ถึงประมาณ 7 ด้ายเส้นขวาง 9 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 ,82 หรือ 85 ซึ่งรอยนูนในแนวเครื่องจะปรากฏใน ลักษณะซ้อนเหลื่อมเมื่อมองในทิศทางขวางและเครื่อง 9 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73 ,82 หรือ 85 ซึ่งความสูงของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาว ในแนว เครื่องตามที่วัดโดยความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูน ที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องและระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนของด้ายขวางเป็นจาก ประมาณ 30 ถึงประมาณ 150 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางของด้ายเส้นยืนที่ทำให้เกิดรอยนูนที่ทำ เป็นรูปยาวในแนวเครื่อง 9 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 73,82 หรือ 85 ซึ่งความสูงของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาว ในแนว เครื่องตามที่วัดโดยความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูน ที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องและระนายที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนของด้ายขวางเป็นจาก ประมาณ 70 ถึงประมาณ 110 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นยืนที่ทำให้เกิดรอยนูนที่ทำเป็น รูปยาวในแนวเครื่อง 9 5. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้ว จากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีชั้น รับแรง และชั้นรูปสลักสามมิติ ชั้นรูปสลักดังกล่าวมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวตามแนว เครื่องจาก ประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกทำขึ้นโดยส่วนเส้นด้ายที่ถูกอัดซึ่งถูกทอเป็นผ้า ในแนว เครื่องของผ้าซึ่งความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากผิวหน้าด้านบนของชั้นรับ แรงและระนาบที่เกิดจากด้านบนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในในแนว เครื่องในชั้นรูปสลักมีค่าอย่าง น้อย 30 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นด้ายที่ถูกอัด และซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มอง เห็นด้วยตาเปล่าให้เข้ารูปกับผิวของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน 9 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 95 ซึ่งความแตกต่างของระนาบคือจาก 30 ถึง 150 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัด 9 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 95 ซึ่งความแตกต่างของระนาบคือจาก 70 ถึง 100 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัด 9 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 95 ซึ่งความแตกต่างของระนาบคือจากประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัด. 9 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 95 ซึ่งเส้นผ่าศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัดคือจาก 0.005 นิ้ว ถึงประมาณ 0.05 นิ้ว 10 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 95 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 10 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 95 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 10 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 95 ซึ่งผ้าถ่ายโอนมีชั้นรับแรงและชั้นรูปสลักสามมิติ ชั้นรูปสลักดังกล่าวมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อ ตารางนิ้วซึ่งถูกทำขึ้นโดยมีส่วนเส้นด้ายที่ถูกอัดทอเป็นผ้าถ่ายโอนในทิศทางเครื่องของผ้าซึ่ง ความแตกต่างของของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากผิวหน้าด้านบนของชั้นรับแรงและระนาบที่เกิดจาก ชั้นบนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องในชั้นรูปสลักเป็นอย่างน้อย 30 เปอร์เซนต์ของเส้นผ่า ศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัด 10 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 95 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องในผ้าถ่ายโอนคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 10 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 95 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องในผ้าถ่ายโอนคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 10 5. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มี รอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขั้น อย่างน้อยประมาณ 0.0005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางและเครื่อง ของผ้า ซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าให้เข้ากับรูปผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้ง ด้วยการผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่ทำให้ แห้งด้วยในการผ่านอากาศร้อนที่มีมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ ที่มีปริมาตรรวมเมื่ออัดในสภาพเปียก (WCB) ในประมาณ 4.5 หรือมากกว่า 10 6. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มี รอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขั้น อย่างน้อยประมาณ 0.005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางเครื่อง ของผ้า ซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าให้เข้ากับรูปผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้ง ด้วยการผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่ทำให้ แห้งด้วยในการผ่านอากาศร้อนที่มความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ ที่มีการสปริงตัวกลับในสภาพเปียก (WS) ในประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า 10 7. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มี รอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขั้น อย่างน้อยประมาณ 0.0005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางเครื่อง ของผ้า ซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าให้เข้ากับรูปผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้ง ด้วยการผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่ทำให้ แห้งด้วยในการผ่านอากาศร้อนที่มีมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ ที่มีอัตราส่วนของพลังงานโหลด (LER) ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า 10 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105, 106 หรือ 107 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูป ยาวในแนว เครื่องจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 10 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105, 106 หรือ 107 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูป ยาวในแนว เครื่องจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 11 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105, 106 หรือ 107 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูป ยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขึ้นประมาณ 0.005 นิ้วหรือ มากกว่าเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่องของผ้าถ่ายโอน 11 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 110 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องในเครื่องผ้าถ่ายโอนคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 11 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 110 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องในผ้าถ่ายโอนคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 11 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105, 106 หรือ 107 ซึ่งแผ่นเส้นใยที่ทำให้แห้งด้วยการ ผ่านอากาศร้อนถูกรีดด้วยลูกกลิ้ง 11 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105, 106 หรือ 107 ซึ่งแผ่นเส้นใยที่ทำให้แห้งด้วยการ ผ่านอากาศร้อนถูกทำให้ย่น 11 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105, 106 หรือ 107 ซึ่งแผ่นเส้นใยที่ทำให้แห้งด้วยการ ผ่านอากาศร้อนถูกทำให้ไม่ย่น 11 6. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์. (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ผ้าถ่ายโอนดังกล่าว มีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขึ้น อย่างน้อยประมาณ 0.005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่อง ของผ้าถ่ายโอน ซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าให้เข้ากับรูปกับผิวหน้าของผ้าถ่าย โอน และ . (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และการ ทำให้แผ่นเส้นใยแห้งเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่มีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอที่มีปริมาตรรวมเมื่ออัดใน สภาพเปียก (WCB) ประมาณ 4.5 หรือมากกว่า 11 7. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ผ้าถ่ายโอนดังกล่าว มีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขึ้น อย่างน้อยประมาณ 0.005 นิ้วเหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่อง ของผ้าถ่ายโอน ซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็น ได้ด้วยตาเปล่า ให้เข้ากับรูปกับผิวหน้าของผ้าถ่าย โอน และ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และการ ทำให้แผ่นเส้นใยแห้งเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่มีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอที่มีปริมาตรรวมเมื่ออัดใน สภาพเปียก (WCB) ประมาณ 4.5 หรือมากกว่า 11 8. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ผ้าถ่ายโอนดังกล่าว มีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกยกขึ้น อย่างน้อยประมาณ 0.005 นิ้ว เหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางแนวเครื่อง ของผ้าถ่ายโอน ซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ให้เข้ากับรูปกับผิวหน้าของผ้าถ่าย โอน และ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และการ ทำให้แผ่นเส้นใยแห้งเพื่อผลิตแผ่นเส้นใยที่มีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอที่มีอัตราส่วนของ พลังงานโหลด (LER) ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า 11 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 116, 117 หรือ 118 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูป ยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 12 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 116, 117 หรือ 118 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูป ยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 12 1. วิธีการทำผลิตภัณฑ์ทิชชูที่ถูกทำให้แห้งโดยการผ่านอากาศร้อนที่ไม่ย่นและ นุ่มนวล ที่ประกอบด้วย (a) การทำสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า (b) การดำเนินการเชิงกลรับการสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่อุณหภูมิ ประมาณ 140 ํฟ. หรือมากกว่าโดยที่ได้รับความร้อนจากแหล่งความร้อนภายนอกด้วยพลังงานส่ง เข้าประมาณ 1 แรงม้าต่อวันตันของเส้นใยแห้ง หรือมากกว่า . (c) การทำให้สารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำของเส้นใยที่ถูกดำเนินการ เชิงกลแล้วเจือจางมีความเข้มข้นประมาณ 0.5 เปอร์เซ็นต์ หรือต่ำกว่าและการป้อนสารแขวนลอย ที่เจือจางแล้วไปยังกล่องจ่ายเส้นใยทำทิชชูแบบเป็นชั้นที่ทำให้มีชั้นวัสดุสองชั้น หรือมากกว่า (d) การรวมสารปรุงแต่งเพื่อความแข็งแรงในสภาพเปียกประเภทชั่วคราว หรือ ถาวรลงไปในชั้นวัสดุดังกล่าวหนึ่งชั้นหรือมากกว่า (e) การสะสมสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่เจือจางแล้วลงบนผ้าทำรูป เพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (f) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นตั้งแต่จากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (g) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (h) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีรอยนูน ที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกยกขึ้นอย่างน้อย ประมาณ 0.005 นิ้ว เหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางเครื่องของผ้าที่ถูก ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน ดังนั้นแผ่นเส้นใยจะถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นด้วยตาเปล่าให้เข้า รูปกับผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน (i) การทำให้แผ่นเส้นใยด้วยการผ่านอากาศร้อนจนถึงความแห้งขั้นสุดท้าย โดยมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ และมีปริมาตรรวมเมื่ออัดในสภาพเปียก (WCB) ประมาณ 4.5 หรือมากกว่า และ (j) การรีดแผ่นเส้นใยที่แห้งด้วยลูกกลิ้ง . 12 2. วิธีการทำผลิตภัณฑ์ทิชชูที่ถูกทำให้แห้งโดยการผ่านอากาศร้อนที่ไม่ย่น และ นุ่มนวลประกอบด้วย (a) การทำสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า. (b) การดำเนินการเชิงกลกับสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่อุณหภูมิ ประมาณ 140 ํฟ. หรือมากกว่าโดยที่ได้รับความร้อนจากแหล่งความร้อนภายนอกด้วยพลังงานส่ง เข้าประมาณ 1 แรงม้าต่อวันตันของเส้นใยแห้ง หรือมากกว่า (c) การทำให้สารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำของเส้นใยที่ถูกดำเนินการ เชิงกลแล้วเจือจางจนมีความเข้มข้นประมาณ 0.5 เปอร์เซ็นต์ หรือต่ำกว่าและการป้อนสารแขวนลอย ที่เจือจางแล้วไปยังกล่องจ่ายเส้นใยทำทิชชูแบบเป็นชั้นที่ทำให้ มีชั้นวัสดุสองชั้น หรือมากกว่า (d) การรวมสารปรุงแต่งเพื่อความแข็งแรงในสภาพเปียกประเภทชั่วคราว หรือ ถาวรลงไปในชั้นวัสดุดังกล่าวหนึ่งชั้นหรือมากกว่า (e) การสะสมสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่เจือจางแล้วลงบนผ้าทำรูป เพื่อทำแผ่นเส้นใยที่เปียก (f) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นตั้งแต่ประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (g) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (h) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีรอย นูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกยกขึ้นอย่าง น้อยประมาณ 0.005 นิ้ว เหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนในทิศทางขวางเครื่องของผ้าที่ ถูกทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน ดังนั้นแผ่นเส้นใยจะถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นด้วยตาเปล่าให้เข้า รูปกับผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน (i) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนจนถึงความแห้งขั้นสุดท้าย โดยมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ และมีปริมาตรรวมเมื่ออัดในสภาพเปียก (WS) ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า และ (j) การรีดแผ่นเส้นใยที่แห้งด้วยลูกกลิ้ง 12 3. วิธีการทำผลิตภัณฑ์ที่ทิชชูที่ถูกทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่ไม่ย่น และ นุ่นนวลที่ประกอบด้วย (a) การทำสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์หรือมากกว่า (b) การดำเนินการเชิงกลกับสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่อุณหภูมิ ประมาณ 140 ํฟ. หรือมากกว่าโดยที่ได้รับความร้อนจากแหล่งความร้อนภายนอกด้วยพลังงานส่ง เข้าประมาณ 1 แรงม้าต่อวันต่อตันของเส้นใยแห้ง หรือมากกว่า (c) การทำให้สารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำของเส้นใยที่ถูกดำเนินการ เชิงกลแล้วเจือจางจนมีความเข้มข้นประมาณ 0.5 เปอร์เซ็นต์ หรือต่ำกว่าและการป้อนสารแขวนลอย ที่เจือจางแล้วไปยังกล่องจากเส้นใยทำทิชชูแบบเป็นชั้นที่ทำให้มีชั้นวัสดุสองชั้น หรือมากกว่า (d) การรวมสารปรุงแต่งเพื่อความแข็งแรงในสภาพเปียกประเภทชั่วคราว หรือ ถาวรลงไปในชั้นวัสดุดังกล่าวหนึ่งชั้นหรือมากกว่า (e) การสะสมสารแขวนลอยในตัวกลางที่เป็นน้ำที่เจือจางแล้งลงบนผ้าทำรูป เพื่อทำแผ่นเส้นใยที่เปียก (f) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นตั้งแต่ประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ . (g) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (h) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีรอยนูน ที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกยกขึ้นอย่างน้อย ประมาณ 0.005 นิ้ว เหนือระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงสุดของรอยนูนในทิศทางขวางเครื่องของผ้าที่ถูก ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน ดังนั้นแผ่นเส้นในจะถูกจัดเรียงใหม่ที่มองเห็นด้วยตาเปล่าให้เข้า รูปกับผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน (i) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนจนถึงความแห้งขั้นสุดท้าย โดยมีความหนาแน่นที่จัดสม่ำเสมอ และมีอัตราส่วนของผลังงานโหลด (LER) ประมาณ 50 เปอร์ เซนต์หรือมากกว่า และ (i) การรีดแผ่นเส้นใยที่แห้งด้วยลูกกลิ้ง 12 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105,106,107,116,117,118,121,122 หรือ 123 ซึ่ง ความยาวของรอยนูนในแนวเครื่องคือจากประมาณ 0.030 นิ้วถึงประมาณ 0.425 นิ้ว 12 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105,106,107,116,117,118,121,122, หรือ 123 ซึ่ง ความยาวของรอยนูนในแนวเครื่องคือจากประมาณ 0.05 นิ้วถึงประมาณ 0.25 นิ้ว 12 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105,106,107,116,117,118,121,122, หรือ 123 ซึ่ง ความยาวของรอยนูนในแนวเครื่องคือจากประมาณ 0.1 นิ้วถึงประมาณ 0.2 นิ้ว 12 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105,106,107,116,117,118,121,122, หรือ 123 ซึ่ง รอยนูนในแนวเครื่องคือจะคร่อมด้านบนจากประมาณ 2 ถึงประมาณ 15 ด้ายเส้นขวาง 12 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105,106,107,116,117,118,121,122, หรือ 123 ซึ่ง รอยนูนในแนวเครื่องคือจะคร่อมด้านบนจากประมาณ 3 ถึงประมาณ 11 ด้ายเส้นขวาง 12 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105,106,107,116,117,118,121,122, หรือ 123 ซึ่ง รอยนูนในแนวเครื่องคือจะคร่อมด้านบนจากประมาณ 3 ถึงประมาณ 7 ด้ายเส้นขวาง 13 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105,106,107,116,117,118,121,122, หรือ 123 ซึ่ง รอยนูนในแนวเครื่องจะปรากฏซ้อนเหลี่ยมเมื่อมองในทิศทางขวางเครื่อง 13 1.วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105,106,107,116,117,118,121,122, หรือ 123 ซึ่ง ความสูงของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องตามที่วัดโดยความแตกต่างของระนาบระหว่าง ระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง และระนาบที่เกิดจากจุดที่สูง ที่สุดของรอยนูนของด้ายขวางเป็นจากประมาณ 30 ถึงประมาณ 150 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลาง ของด้ายเส้นยืนที่ทำให้เกิดรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง. 13 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 105,106,107,116,117,118,121,122, หรือ 123 ซึ่ง ความสูงของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องตามที่วัด โดยความแตกต่างของระนาบระหว่าง ระนาบที่เกิดจากจุดที่สูงที่สุดของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง และระนาบที่เกิดจากจุดที่สูง ที่สุดของรอยนูนของด้ายขวางเป็นจากประมาณ 70 ถึงประมาณ 110 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลาง ของด้ายเส้นยื่นที่ทำให้เกิดรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนวเครื่อง 13 3.วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่ความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีชั้น รับแรง และชั้นรูปสลักสามมิติ ชั้นรูปสลักดังกล่าวมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวตามแนว เครื่องจาก ประมาณ 5 ถึงประมาร 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกทำขึ้นโดยส่วนเส้นด้ายที่ถูกอัดซึ่งถูกทอเป็นผ้า ในแนว เครื่องของผ้าซึ่งความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากผิวหน้าด้านบนของชั้นรับ แรงและระนาบที่เกิดจากด้านบนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องในชั้นรูปสลักมีค่าอย่าง น้อย 30 เปอร์เซ็นของเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นด้ายที่ถูกอัด และซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มอง เห็นด้วยตาเปล่าให้เข้ารูปกับผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนในลักษณะที่แผ่นเส้นใย จะมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอและปริมาตรรวมเมื่ออัดในสภาพเปียกประมาณ 4.5 หรือมากกว่า 13 4. วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มข้นจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู่ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีชั้น รับแรง และชั้นรูปสลักสามิติ ชั้นรูปสลักดังกล่าวมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวตามแนว เครื่องจาก ประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกทำขึ้น โดยส่วนเส้นด้ายที่ถูกอัดซึ่งถูกทอเป็นผ้า ในแนวเครื่องของผ้าซึ่งความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากผิวหน้าด้านบนของชั้นรับ แรงและระนายที่เกิดจากด้านบนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องในชั้นรูปสลักมีค่าอย่าง น้อย 30 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้ยด้ายที่ถูกอัด และซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มอง เห็นด้วยตาเปล่าให้เข้ารูปกับผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนในลักษณะที่แผ่นเส้นใย จะมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ และมีการสปริงตัวกลับในสภาพเปียก (WS) ประมาณ 50 เปอร์ เซนต์หรือมากกว่า 13 4.วิธีการทำแผ่นทิชชูที่ประกอบด้วย (a) การสะสมสารแขวนลอยของเส้นใยทำกระดาษในตัวกลางที่เป็นน้ำที่มีความ เข้มข้นประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์หรือน้อยกว่าบนผ้าทำรูปเพื่อทำแผ่นเส้นใยเปียก (b) การกำจัดน้ำจากแผ่นเส้นใยที่เปียกจนมีความเข้มขนจากประมาณ 20 ถึง ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ (c) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยที่กำจัดน้ำแล้วจัดน้ำแล้วจากผ้าทำรูปไปสู้ผ้าถ่ายโอนที่กำลัง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่ช้ากว่าผ้าทำรูปจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ (d) การถ่ายโอนแผ่นเส้นใยไปสู่ผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนที่มีชั้น รับแรง และชั้นรูปสลักสามมิติ ชั้นรูปสลักดังกล่าวมีรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวตามแนว เครื่องจาก ประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้วซึ่งถูกทำขึ้นโดยส่วนเส้นด้ายที่ถูกอัดซึ่งถูกทอเป็นผ้า ในแนว เครื่องของผ้าซึ่งความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากผิวหน้าด้านบนของชั้นรับ แรงและระนาบที่เกิดจากด้านบนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องในชั้นรูปสลักมีค่าอย่าง น้อย 30 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นด้ายที่ถูกอัด และซึ่งแผ่นเส้นใยถูกจัดเรียงใหม่ที่มอง เห็นด้วยตาเปล่าให้เข้ารูปกับผิวหน้าของผ้าที่ทำให้แห้งด้วยการผ่านอากาศร้อน และ (e) การทำให้แผ่นเส้นใยแห้งด้วยการผ่านอากาศร้อนในลักษณะที่แผ่นเส้นใย จะมีความหนาแน่นที่จัดว่าสม่ำเสมอ และมีอัตราส่วนของพลังงานโหลดประมาณ 50 เปอร์เซนต์หรือ มากกว่า 13 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 133 ,134, หรือ 135 ซึ่งความแตกต่างของระนาบคือจาก ประมาณ 30 ถึง 150 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่านศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัด 13 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 133,134 หรือ 135 ซึ่งความแตกต่างของระนาบคือจาก ประมาณ 70 ถึง 100 เปอร์เซ็นเตอร์ของเส้นผ่าศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัด 13 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 133,134 หรือ 135 ซึ่งความแตกต่างของระนาบคือจาก ประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ของเส้นผ่าศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัด . 13 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 133,134 หรือ 135 ซึ่งเส้นผ่าศูนย์กลางเส้นด้ายที่ถูกอัด คือจากประมาณ 0.005 นิ้ว ถึงประมาณ 0.05 นิ้ว 14 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 133,134 หรือ 135 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูป ยาวในแนว เครื่องคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 14
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 133,134 หรือ 135 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูป ยาวในแนว เครื่องคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว 14
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 133,134 หรือ 135 ซึ่งผ้าถ่ายโอนมีชั้นรับแรงและชั้น รูปสลักสามมิติ ชั้นรูปสลักดังกล่าวมีรอยนูนที่ทำเป็นยาวในแนว เครื่องจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 300 รอยต่อตารางนิ้ว ซึ่งถูกทำขึ้นโดยส่วนเส้นด้ายที่ถูกอัดซึ่งถูกทอเป็นผ้าถ่ายโอนในทิศทางเครื่อง ของผ้า ซึ่งความแตกต่างของระนาบระหว่างระนาบที่เกิดจากผิวหน้าด้านบนของชั้นรับแรง และระนาบ ที่เกิดจากด้านบนของรอยนูนที่ทำเป็นรูปยาวในแนว เครื่องในชั้นรูปสลักมีค่าอย่างน้อย 30 เปอร์เซ็นต์ ของเส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นด้ายที่ถูกอัด 14
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 133,134 หรือ 135 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูป ยาวในแนว เครื่องในผ้าถ่ายโอนคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 150 รอยต่อตารางนิ้ว 14
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 133, 134 หรือ 135 ซึ่งจำนวนของรอยนูนที่ทำเป็นรูป ยาวในแนว เครื่องในผ้าถ่ายโอนคือจากประมาณ 10 ถึงประมาณ 75 รอยต่อตารางนิ้ว
TH9501000388A 1995-02-27 "วิธีการทำผลิตภัณฑ์ทิชชูนุ่ม" TH14052B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH17665A TH17665A (th) 1996-02-09
TH17665B TH17665B (th) 1996-02-09
TH14052B true TH14052B (th) 2003-01-03

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
TW440634B (en) Method of producing low density resilient webs
US5851353A (en) Method for wet web molding and drying
AU709187B2 (en) Improved system for making absorbent paper products
US3537954A (en) Papermaking machine
US3230136A (en) Patterned tissue paper containing heavy basis weight ribs and fourdrinier wire for forming same
US3657068A (en) Papermaking felt
US4196045A (en) Method and apparatus for texturizing and softening non-woven webs
JP3900037B2 (ja) 工業用二層織物
GB1073063A (en) Bulky paper product and process for its manufacture
CN102112682B (zh) 结构化成形织物及造纸机
MX2010013970A (es) Tela de formacion con estructura, maquina para fabricar papel y metodo.
JPS642720B2 (th)
US5302443A (en) Crimped fabric and process for preparing the same
RU2006131125A (ru) Устройство и способ получения полотна материала на структурированном материале в бумагоделательной машине
JP2011506779A (ja) 凹凸付け部材、およびティッシュ紙ウエブの製造方法
CN102918201A (zh) 结构化成形织物、造纸机及方法
US8444827B2 (en) Structured fabric
WO2012013773A1 (en) Structured fabric
TWI337213B (en) An industrial process or engineered fabric and a method for processing the same, and a method for smoothing the surface of an industrial process or engineered fabric
JP3900029B2 (ja) 工業用二層織物
CN203715988U (zh) 造纸机、结构化织物和纤维纸幅
US3075274A (en) Method of making and finishing papermaker's felts
SE1550636A1 (en) A method of making a structured fibrous web and a creped fibrous web
CA2773501A1 (en) Single layer through-air dryer fabrics
US2052948A (en) Method and apparatus for shrinking textile fabrics