TH124961A - เครื่องสำหรับการกำจัดสารระเหยง่ายและกระบวนการ - Google Patents

เครื่องสำหรับการกำจัดสารระเหยง่ายและกระบวนการ

Info

Publication number
TH124961A
TH124961A TH1201004102A TH1201004102A TH124961A TH 124961 A TH124961 A TH 124961A TH 1201004102 A TH1201004102 A TH 1201004102A TH 1201004102 A TH1201004102 A TH 1201004102A TH 124961 A TH124961 A TH 124961A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
heating
zone
volatile
removal
flowable
Prior art date
Application number
TH1201004102A
Other languages
English (en)
Other versions
TH74995B (th
TH124961B (th
Inventor
เทย์เลอร์
เอส. เครก
ดีซิท
เอส. ราวินดรา
ชอร์ทัม
พี. โรเบิร์ต
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายรุทร นพคุณ
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายรุทร นพคุณ filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH124961A publication Critical patent/TH124961A/th
Publication of TH124961B publication Critical patent/TH124961B/th
Publication of TH74995B publication Critical patent/TH74995B/th

Links

Abstract

DC60 (05/11/55) รูปลักษณะของการประดิษฐ์จัดให้มี เครื่องหรือกระบวนการสำหรับการกำจัดสารระเหยง่าย ของวัสดุชนิดไหลได้ (ดังเช่น พอลิเมอร์ที่หลอมเหลวซึ่งมีตัวทำละลาย หรือมอนอเมอร์หรือ โคมอนอเมอร์ที่ไม่ผ่านการทำปฏิกิริยาที่ละลายหรือที่พาไป) โดยการใช้เครื่องให้ความร้อนแบบแผ่น ที่มีช่องเพื่อการให้ความร้อน, แบบหรือการทำงานของช่องเพื่อการให้ความร้อนนั้นคงรักษาวัสดุชนิด ไหลได้ให้สูงกว่าความดันจุดเกิดฟองของวัสดุชนิดไหลได้ในระหว่างการผ่านทั่วเขตบริเวณที่หนึ่งที่ ใหญ่กว่า และต่อมา, เหนี่ยวนำให้เกิดการวาบไฟใน หรือท้ายกระแสของเขตบริเวณที่สองที่เล็กกว่า ของช่องเพื่อการให้ความร้อน เครื่องสามารถมีปริมาณงานที่สูงขึ้นต่อช่องเพื่อการให้ความร้อนใน ขณะที่มีการได้มาซึ่งการกำจัดสารระเหยง่ายเท่าเดิมหรือดีขึ้น เมื่อเทียบกับเครื่องสำหรับการกำจัด สารระเหยง่ายปัจจุบัน รูปลักษณะของการประดิษฐ์จัดให้มี เครื่องหรือกระบวนการสำหรับการกำจัดสารระเหยง่าย ของวัสดุชนิดไหลได้ (ดังเช่น พอลิเมอร์ที่หลอมเหลวซึ่งมีตัวทำละลาย หรือมอนอเมอร์หรือ โคมอนอเมอร์ที่ไม่ผ่านการทำปฏิกิริยาที่ละลายหรือที่พาไป) โดยการใช้เครื่องให้ความร้อนแบบแผ่น ที่มีช่องเพื่อการให้ความร้อน, แบบหรือการทำงานของช่องเพื่อการให้ความร้อนนั้นคงรักษาวัสดุชนิด ไหลได้ให้สูงกว่าความดันจุดเกิดฟองของวัสดุชนิดไหลได้ในระหว่างการผ่านทั่วเขตบริเวณที่หนึ่งที่ ใหญ่กว่า และต่อมา, เหนี่ยวนำให้เกิดการวาบไฟใน หรือท้ายกระแสของเขตบริเวณที่สองที่เล็กกว่า ของช่องเพื่อการให้ความร้อน เครื่องสามารถมีปริมาณงานที่สูงขึ้นต่อช่องเพื่อการให้ความร้อนใน ขณะที่มีการได้มาซึ่งการกำจัดสารระเหยง่ายเท่าเดิมหรือดีขึ้น เมื่อเทียบกับเครื่องสำหรับการกำจัด สารระเหยง่ายปัจจุบัน

Claims (4)

1. เครื่องสำหรับการกำจัดสารระเหยง่ายซึ่งประกอบรวมด้วย: (a) เครื่องสูบสำหรับการจัดส่งวัสดุชนิดไหลได้ที่ผ่านการเพิ่มความดัน ซึ่งประกอบรวมด้วย พอลิเมอร์ที่หลอมเหลวอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิด และส่วนประกอบที่ระเหยง่ายที่ละลายหรือที่พาไป อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิด ซึ่งวัสดุชนิดไหลได้มีลักษณะพิเศษเนื่องโดย ความดันจุดเกิดฟองซึ่งแปรผัน กับอุณหภูมิของวัสดุชนิดไหลได้ (b) เวสเซลสำหรับการเก็บรวบรวมและการแยกสารระเหยง่าย และ (c) แผ่นจำนวนมากซึ่งกำหนดช่องเพื่อการให้ความร้อนจำนวนหนึ่ง, ซึ่งแต่ละช่องมีความสูง ที่สม่ำเสมออย่างเป็นสำคัญ และมีสองเขตบริเวณ ซึ่งประกอบรวมด้วย: เขตบริเวณที่หนึ่งซึ่งมี (1) รัศมีไฮดรอลิกเฉลี่ย และ (2) ทางเข้าที่ได้รับการปรับเพื่อรับ วัสดุชนิดไหลได้จากเครื่องสูบ และ เขตบริเวณที่สองซึ่งประกอบสร้างส่วนที่เหลือของช่องแต่ละช่อง ซึ่งเขตบริเวณที่สอง ได้รับการปรับเพื่อรับวัสดุชนิดไหลได้จากเขตบริเวณที่หนึ่ง และมีทางออกอย่างน้อยที่สุดหนึ่งทางที่ ปรับเพื่อระบายวัสดุชนิดไหลได้ลงในเวสเซลสำหรับการเก็บรวบรวมและการแยกสารระเหยง่าย, ที่ ซึ่ง อย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของเขตบริเวณที่สองมีรัศมีไฮดรอลิกที่เล็กกว่ารัศมีไฮดรอลิกเฉลี่ยของเขต บริเวณที่หนึ่ง และ ที่ซึ่ง แบบหรือการทำงานของช่องเพื่อการให้ความร้อนอย่างน้อยที่สุดบางช่อง เป็น จนกระทั่งความดันของวัสดุชนิดไหลได้ที่ทุกตำแหน่งอย่างเป็นสาระสำคัญภายในเขตบริเวณที่หนึ่ง ของช่องเพื่อการให้ความร้อนเหล่านั้นมากเกินความดันจุดเกิดฟองของวัสดุชนิดไหลได้ และ (d) ชิ้นส่วนเพื่อการให้ความร้อนจำนวนหนึ่งที่ปรับเพื่อให้ความร้อนแผ่นอย่างน้อยที่สุด บางแผ่น เพื่อที่จะเพิ่มอุณหภูมิของวัสดุชนิดไหลได้ เมื่อวัสดุชนิดไหลได้ไหลผ่านช่องเพื่อการให้ ความร้อน 2. เครื่องสำหรับการกำจัดสารระเหยง่ายซึ่งประกอบรวมด้วย: วิถีทางของการจัดส่ง สำหรับการจัดส่งวัสดุชนิดไหลได้ที่ผ่านการเพิ่มความดัน ซึ่งประกอบ รวมด้วยของเหลวหรือของแข็งชนิดไหลได้อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิด, และรวมทั้งส่วนประกอบที่ ระเหยง่ายที่ละลายหรือที่พาไปอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิด ซึ่งวัสดุชนิดไหลได้มีลักษณะพิเศษเนื่องโดย ความดันจุดเกิดฟองซึ่งแปรผันกับอุณหภูมิของวัสดุชนิดไหลได้ แผ่นจำนวนมากซึ่งกำหนดช่องเพื่อการให้ความร้อนจำนวนมาก, ซึ่งแต่ละช่องมีสอง เขตบริเวณ ซึ่งประกอบรวมด้วย: เขตบริเวณที่หนึ่งซึ่งมี (1) รัศมีไฮดรอลิกเฉลี่ย และ (2) ทางเข้าที่ได้รับการปรับเพื่อรับ วัสดุชนิดไหลได้จากวิถีทางของการจัดส่ง และ เขตบริเวณที่สองซึ่งประกอบสร้างส่วนที่เหลือของช่องแต่ละช่อง ซึ่งเขตบริเวณที่สอง ได้รับการปรับเพื่อรับวัสดุชนิดไหลได้จากเขตบริเวณที่หนึ่ง และมีทางออกอย่างน้อยที่สุดหนึ่งทางที่ ปรับเพื่อระบายวัสดุชนิดไหลได้ลงในวิถีทางของการเก็บรวบรวมและการแยกสารระเหยง่าย, ที่ซึ่ง อย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งของเขตบริเวณที่สองมีรัศมีไฮดรอลิกที่เล็กกว่ารัศมีไฮดรอลิกเฉลี่ยของ เขตบริเวณที่หนึ่ง และ ที่ซึ่ง แบบหรือการทำงานของช่องเพื่อการให้ความร้อนอย่างน้อยที่สุดบางช่อง เป็น จนกระทั่งความดันของวัสดุชนิดไหลได้ที่ทุกตำแหน่งอย่างเป็นสาระสำคัญภายในเขตบริเวณที่หนึ่ง ของช่องเพื่อการให้ความร้อนเหล่านั้น จะเป็นสูงกว่าความดันจุดเกิดฟองของวัสดุชนิดไหลได้ 3. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งประกอบรวมต่อไปอีกด้วย ชิ้นส่วนเพื่อการให้ความร้อน จำนวนหนึ่งที่ปรับเพื่อให้ความร้อนแผ่น เพื่อที่จะถ่ายโอนความร้อนลงใน และเพิ่มอุณหภูมิของ วัสดุชนิดไหลได้ เมื่อวัสดุชนิดไหลได้ไหลผ่านช่องเพื่อการให้ความร้อน 4. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง ชิ้นส่วนเพื่อการให้ความร้อนได้รับการติดเชิงตั้งฉากอย่าง เป็นสำคัญใน, ผ่าน หรือติดกันกับแผ่น และที่ซึ่งชิ้นส่วนเพื่อการให้ความร้อนได้รับการคัดเลือกจาก ชิ้นส่วนเพื่อการให้ความร้อนแบบใช้ไฟฟ้า, ชิ้นส่วนเพื่อการให้ความร้อนแบบใช้ของไหลเชิง ความร้อน หรือบางแบบเหล่านี้ประกอบรวมกัน 5. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง ชิ้นส่วนเพื่อการให้ความร้อนได้รับการปรับเพื่อให้ ความร้อนแผ่นอย่างมากเพียงพอที่จะถ่ายโอยความร้อนไปยังวัสดุชนิดไหลได้ เมื่อวัสดุชนิดไหลได้ ไหลผ่านช่องเพื่อการให้ความร้อนแต่ละห้อง, จนกระทั่ง ที่ภาวะของการทำงาน หรือที่ภาวะของ การออกแบบ, อุณหภูมิของวัสดุชนิดไหลได้นั้น จะได้รับการทำให้สูงขึ้นจนถึงค่าซึ่งเป็น : (a) ต่ำกว่า อุณหภูมิที่ต่ำที่สุดที่ซึ่งพอลิเมอร์ที่หลอมเหลวจะกลายเป็นไอ หรือสลายตัวโดยตนเอง อย่างใดอย่าง หนึ่ง และ (b) ไม่น้อยกว่าอุณหภูมิที่จำเป็นเพื่อเป็นสาเหตุของการวาบไฟของส่วนประกอบที่ระเหย ง่ายจากพอลิเมอร์ที่หลอมเหลว ที่จุดท้ายกระแสของเขตบริเวณที่หนึ่ง 6. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง ช่องเพื่อการให้ความร้อนอย่างน้อยที่สุดบางช่องมีทางออก เดียว 7. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง ช่องเพื่อการให้ความร้อนอย่างน้อยที่สุดบางช่องมีทางออก สองทางหรือสามทาง 8. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่ง ทางออกของเขตบริเวณที่สองของช่องเพื่อการให้ความร้อน อย่างน้อยที่สุดบางช่อง ได้รับการมีระยะห่างจากกันอย่างมากเพียงพอ จนกระทั่ง, ภายใต้ภาวะของการ ทำงานหรือภาวะของการออกแบบ, สิ่งไหลออกของของเหลวหรือของแข็งชนิดไหลได้จากทางออกที่ อยู่ติดกัน จะไม่สัมผัสทางกายภาพซึ่งกันและกัน จนกระทั่งหลังจากเกิดการกำจัด สารรระเหยง่ายที่สมบูรณ์อย่างเป็นสำคัญ 9. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง สำหรับช่องเพื่อการให้ความร้อนอย่างน้อยที่สุดบางช่อง รัศมีไฮดรอลิกของเขตบริเวณที่สองของช่องเพื่อการให้ความร้อน เป็นขนาดจนกระทั่ง, ภายใต้ภาวะ ของการทำงานหรือภาวะของการออกแบบ, ความดันของวัสดุชนิดไหลได้ภายในเขตบริเวณที่หนึ่ง เป็นอย่างน้อยที่สุด 5 เปอร์เซ็นต์ที่สูงกว่าความดันจุดเกิดฟองของวัสดุชนิดไหลได้ ที่อุณหภูมิที่สูง ที่สุดของวัสดุชนิดไหลได้ภายในเขตบริเวณที่หนึ่ง 1 0. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง ความยาวรวมของช่องเพื่อการให้ความร้อนอย่างน้อยที่สุด บางช่อง เป็นจาก 15 เซนติเมตร ถึง 31 เซนติเมตร (6 ถึง 12 นิ้ว) และความยาวของเขตบริเวณที่หนึ่ง ของช่องเพื่อการให้ความร้อนเหล่านั้น เป็นจาก 14 เซนติเมตร ถึง 29 เซนติเมตร (5.5 ถึง 11.5 นิ้ว) 1 1. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง ความยาวรวมของช่องเพื่อการให้ความร้อนอย่างน้อยที่สุด บางช่อง เป็นจาก 20 เซนติเมตร ถึง 26 เซนติเมตร (8 ถึง 10 นิ้ว) และความยาวของเขตบริเวณที่หนึ่ง ของช่องเพื่อการให้ความร้อนเหล่านั้น เป็นจาก 17 เซนติเมตร ถึง 25 เซนติเมตร (7 ถึง 9.5 นิ้ว) 1 2. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง ช่องเพื่อการให้ความร้อนอย่างน้อยที่สุดบางช่องมีอัตราส่วน ของความยาวของเขตบริเวณที่หนึ่งต่อความยาวรวมของช่องเพื่อการให้ความร้อนเหล่านั้น เป็นจาก ประมาณ 0.90:1 ถึงประมาณ 0.99:1 1 3. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง อัตราส่วนของ (i) รัศมีไฮดรอลิกเฉลี่ยของเขตบริเวณที่หนึ่ง ต่อ (ii) รัศมีไฮดรอลิกของส่วนนั้นของเขตบริเวณที่สองซึ่งมีพื้นที่ภาคตัดขวางที่เล็กที่สุด เป็นจาก ประมาณ 1.05:1 ถึง 10:1 1 4. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง เขตบริเวณที่หนึ่งของช่องเพื่อการให้ความร้อนอย่างน้อย ที่สุดบางช่องมีรัศมีไฮดรอลิก ซึ่งสม่ำเสมออย่างเป็นสำคัญตามความยาวของเขตบริเวณที่หนึ่งนั้น 1 5. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง เขตบริเวณที่หนึ่งของช่องเพื่อการให้ความร้อนอย่างน้อย ที่สุดบางช่องมีพื้นที่ภาคตัดขวางซึ่งลู่เข้า และ/หรือลู่ออก ตามความยาวของเขตบริเวณที่หนึ่งนั้น หรือ การประกอบรวมกันบางอย่างของการลู่เข้า, สม่ำเสมออย่างเป็นสำคัญ และ/หรือการลู่ออก ตาม ความยาวของเขตบริเวณที่หนึ่งนั้น 1 6. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง ช่องเพื่อการให้ความร้อนและส่วนที่เหลือของเครื่องได้รับ การออกแบบ หรือได้รับการทำงานจนกระทั่ง : (i) ความดันของวัสดุชนิดไหลได้ที่ทุกตำแหน่งอย่าง เป็นสาระสำคัญภายในเขตบริเวณที่หนึ่งของช่องเพื่อการให้ความร้อนแต่ละห้อง เป็นอย่างน้อยที่สุด 5 เปอร์เซ็นต์ที่สูงกว่าความดันจุดเกิดฟองของวัสดุชนิดไหลได้ ที่อุณหภูมิที่สูงที่สุดของวัสดุชนิด ไหลได้ภายในเขตบริเวณที่หนึ่ง, (ii) ปริมาณงานของวัสดุชนิดไหลได้ต่อช่องเพื่อการให้ความร้อนเป็น มากกว่า 1.4 กิโลกรัม/ชั่วโมง และ (iii) การวาบไฟของส่วนประกอบที่ระเหยง่ายที่เหนี่ยวนำภายใน หรือท้ายกระแสของเขตบริเวณที่สอง ผลิตภัณฑ์ของแข็งชนิดไหลได้ หรือของเหลวที่แยกกันซึ่งมี ความเข้มข้นตกค้างของส่วนประกอบที่ระเหยง่ายซึ่งเป็นไม่มากกว่า 2000 ส่วนในล้านส่วนโดย น้ำหนัก 1 7. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง ช่องเพื่อการให้ความร้อนอย่างน้อยที่สุดบางช่องได้รับการทำ ให้มีขนาดจนกระทั่ง, ภายใต้ภาวะของการทำงานหรือภาวะของการออกแบบ, ปริมาณงานของวัสดุ ชนิดไหลได้ต่อช่องเพื่อการให้ความร้อน เป็นจากประมาณ 2 ถึงประมาณ 10 กิโลกรัม/ชั่วโมง 1 8. เครื่องของข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง ช่องเพื่อการให้ความร้อนอย่างน้อยที่สุดบางช่องได้รับการทำ ให้มีขนาดจนกระทั่ง, ภายใต้ภาวะของการทำงานหรือภาวะของการออกแบบ, ความดันลดระหว่าง ทางเข้าและทางออกของเขตบริเวณที่หนึ่งของช่องเพื่อการให้ความร้อนเหล่านั้น จะเป็นอย่างน้อยที่สุด 100 ปอนด์ต่อตารางนิ้วเกจ 1 9. กระบวนการสำหรับการกำจัดสารระเหยง่ายของวัสดุชนิดไหลได้ ซึ่งประกอบรวมด้วย ของแข็งชนิดไหลได้หรือของเหลว, และรวมทั้ง ส่วนประกอบที่ระเหยง่ายที่ละลายหรือที่พาไป อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิด, ซึ่งกระบวนการประกอบรวมด้วยการผ่านวัสดุชนิดไหลได้ทั่วเครื่องสำหรับ การกำจัดสารระเหยง่ายของข้อถือสิทธิข้อ 2 ในขณะที่มีการทำงานภายใต้ภาวะของการกำจัด สารระเหยง่าย 2 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อ 19 ที่ซึ่งกระบวนการแยกส่วนประกอบที่ระเหยง่าย และผลิต ผบิตภัณฑ์ที่มีความเข้มข้นตกค้างของส่วนประกอบที่ระเหยง่ายซึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุด 90 เปอร์เซ็นต์ที่น้อยกว่าความเข้มข้นของส่วนประกอบที่ระเหยง่ายในวัสดุชนิดไหลได้ที่ได้รับการ นำลงในเครื่องสำหรับการกำจัดสารระเหยง่าย 2
1. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อ 19 ที่ซึ่ง ส่วนประกอบของแข็งชนิดไหลได้หรือของเหลว ของวัสดุชนิดไหลได้ที่ได้รับการนำลงในเครื่องสำหรัลการกำจัดสารระเหยง่าย ได้รับการคัดเลือกจาก กลุ่มที่ประกอบด้วยพอลิเมอร์ที่หลอมเหลว, เนยแข็ง, ช็อกโกเลต, กากน้ำตาล, ผลิตภัณฑ์อาหารชนิด ไหลได้ชนิดอื่น, แว็กซ์, น้ำมันหนัก, ทาร์, แอสฟัลต์, วัสดุก่อสร้างชนิดไหลได้ชนิดอื่น, น้ำหล่อเลี้ยง ต้นไม้, เยื่อ, กระดาษ, สบู่, ชีวมวล, สารยึดติด, ยา ของเหลวที่หนืดชนิดอื่น หรือสารเหล่านี้ชนิดใดๆ ประกอบรวมกัน 2
2. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อ 19 ที่ซึ่ง วัสดุชนิดไหลได้ที่ได้รับการนำลงในเครื่องสำหรับ การกำจัดสารระเหยง่ายประกอบรวมด้วยพอลิเมอร์ที่หลอมเหลวอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิดซึ่งมีอัตรา การไหลขณะหลอมเหลว (I2) จากประมาณ 0.3 ถึงประมาณ 200 กรัม/10 นาที และส่วนประกอบที่ ระเหยง่ายหนึ่งชนิดหรือมากกว่านั้นซึ่งได้รับการคัดเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย มอนอเมอร์ที่ไม่ผ่าน การทำปฏิกิริยา, ตัวทำละลาย และโคมอนอเมอร์ที่ไม่ผ่านการทำปฏิกิริยา และสารเหล่านี้ ประกอบ รวมกัน 2
3. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อ 22 ที่ซึ่ง พอลิเมอร์ได้รับการคัดเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย (i) โฮโมพอลิเมอร์ และโคพอลิเมอร์ (ซึ่งรวมถึงโคพอลิเมอร์แบบต่อกิ่ง) ของไวนิลแอโรแมติก มอนอเมอร์หนึ่งชนิดหรือมากกว่านั้น และสารผสมผสานของสารเหล่านี้กับพอลิเมอร์ชนิดอื่น และ (ii) โฮโมพอลิเมอร์ และโคพอลิเมอร์ (ซึ่งรวมถึงโคพอลิเมอร์แบบต่อกิ่ง) ของ C2 ถึง C10 โอเลฟิน หนึ่งชนิดหรือมากกว่านั้น และสารผสมผสานของสารเหล่านี้กับพอลิเมอร์ชนิดอื่น และที่ซึ่ง ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการกำจัดสารรระเหยง่ายอย่างเป็นสำคัญมีปริมาณตกค้างของส่วนประกอบที่ระเหยง่าย น้อยกว่า 2000 ส่วนในล้านส่วนโดยน้ำหนัก 2
4. ในวิธีการสำหรับการผลิตพอลิเมอร์จากมอนอเมอร์อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิด และอาจเลือกให้, โคมอนอเมอร์หนึ่งชนิดหรือมากกว่านั้นในสภาพที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาที่ผ่านการรองรับหรือที่ไม่ผ่านการ รองรับ, ที่ซึ่ง พอลิเมอร์ซึ่งได้รับการผลิตขึ้นมา ได้รับการละลายหรือได้รับการแขวนลอยภายในตัวทำ ละลาย และที่ซึ่ง วัสดุชนิดไหลได้ซึ่งประกอบรวมด้วยพอลิเมอร์ในรูปแบบที่หลอมเหลว, ตัวทำละลาย และมอนอเมอร์หรือโคมอนอเะมอร์ที่ไม่ผ่านการทำปฏิกิริยาหนึ่งชนิดหรือมากกว่านั้น ได้รับการดำเนินกระบวนการเพื่อกำจัดตัวทำละลายและมอนอเมอร์หรือโคมอนอเมอร์ที่ไม่ผ่านการทำ ปฏิกิริยาส่วนใหญ่จากพอลิเมอร์ที่หลอมเหลว, ซึ่งการปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นประกอบรวมด้วยการใช้ เครื่องสำหรับการกำจัดสารระเหยง่ายของข้อถือสิทธิข้อ 1 เพื่อดำเนินกระบวนการวัสดุชนิดไหลได้ เพื่อที่จะผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่ผ่านการกำจัดสารระเหยง่ายอย่างเป็นสำคัญซึ่งมีปริมาณตกค้างของ ตัวทำละลายและมอนอเมอร์หรือโคมอนอเมอร์ที่ไม่ผ่านการทำปฏิกิริยาน้อยกว่า 2000 ส่วนใน ล้านส่วนโดยน้ำหนัก
TH1201004102A 2011-01-28 เครื่องสำหรับการกำจัดสารระเหยง่ายและกระบวนการ TH74995B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH124961A true TH124961A (th) 2013-06-28
TH124961B TH124961B (th) 2013-06-28
TH74995B TH74995B (th) 2020-03-06

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CA2568826C (en) A static devolatilisation apparatus for a liquid containing polymers
JP6207636B2 (ja) 揮発成分除去装置及びその使用のためのプロセス
US8921498B2 (en) Pressure management for slurry polymerization
JP5756130B2 (ja) 揮発性成分除去装置および方法
EP0452093A1 (en) Polymer melt distributor
RU2017132830A (ru) СПОСОБ ДЛЯ ПРОИЗВОДСТВА НИЗКОМОЛЕКУЛЯРНОГО ПОЛИМЕРА a-ОЛЕФИНА
US6761797B2 (en) Apparatus for carrying out mass transfer processes
KR20010072294A (ko) 열가소성 중합체의 중합체 용액 증발법
FI3834913T3 (fi) Monitasoinen kaasupesuri, jossa on useita upotettuja pesupäitä
CA2191684A1 (en) Recycle heat exchange flash treater and process
TH74995B (th) เครื่องสำหรับการกำจัดสารระเหยง่ายและกระบวนการ
TH124961A (th) เครื่องสำหรับการกำจัดสารระเหยง่ายและกระบวนการ
CN107362562B (zh) 在催化蒸馏塔中分布气体和液体的新型装置
RU2410156C2 (ru) Способ эксплуатации барботажного колоночного реактора
DK145733B (da) Afgasningskolonne
JPH02241507A (ja) 気体/液体接触塔用の液体導出装置
CA2773408A1 (en) Multi-layer steam grid for heat and mass transfer in a tailings solvent recovery unit
KR20210035893A (ko) 45도로 배향된 다운커머를 갖는 분별 트레이
US20080264489A1 (en) Method and a Device for Handling a Liquid
US2112805A (en) Process for extracting oils and fats from materials containing the same
CN105440270A (zh) 一种脱除聚合物中残留挥发分的装置和方法
US3356459A (en) Counter-current liquid-liquid extractor with emulsion layer removal
RU2297266C2 (ru) Колонный массообменный аппарат
RU2694845C1 (ru) Способ и аппарат для очистки кремнийорганических соединений от летучих компонентов
JP2016532744A5 (th)