TH112480A - วิธีการและโครงสร้างสำหรับการหน่วงการเคลื่อนไหวของอาคาร - Google Patents

วิธีการและโครงสร้างสำหรับการหน่วงการเคลื่อนไหวของอาคาร

Info

Publication number
TH112480A
TH112480A TH1001001467A TH1001001467A TH112480A TH 112480 A TH112480 A TH 112480A TH 1001001467 A TH1001001467 A TH 1001001467A TH 1001001467 A TH1001001467 A TH 1001001467A TH 112480 A TH112480 A TH 112480A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
building structure
structural
damping
axis
along
Prior art date
Application number
TH1001001467A
Other languages
English (en)
Other versions
TH66402B (th
TH112480B (th
Inventor
คี ลิม นายคอย
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายรุทร นพคุณ
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายรุทร นพคุณ filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH112480B publication Critical patent/TH112480B/th
Publication of TH112480A publication Critical patent/TH112480A/th
Publication of TH66402B publication Critical patent/TH66402B/th

Links

Abstract

DC60 การจัดการหน่วงสำหรับโครงสร้างอาคารเตี้ย, สูงปานกลางและสูง (1) ซึ่งใช้วิถีทางเพื่อการ หน่วงสองทิศทาง (5) ดังเช่นอุปกรณ์เพื่อการหน่วงชนิดหนืด-ยืดหยุ่น Gensui ที่ได้รับการจัดวางไว้ ระหว่างชิ้นส่วนขนานกันสองชิ้นของโครงสร้าง (1) ดังเช่นเสาแกน (2) และเสารอบนอก (3) หรือ ระหว่างเสาแกนสองต้น การแกว่งกวัดหรือการเปลี่ยนรูปภายใต้แรงดัดหรือแรงเฉือนอื่นๆของ โครงสร้าง (1) นั้นจะได้รับการหน่วงโดยการหน่วงการเคลื่อนไหวตามแกนระหว่างชิ้นส่วน (2,3) สองชิ้น และการหน่วงการเคลื่อนไหวเชิงตั้งฉากระหว่างชิ้นส่วน (2,3) สองชิ้นอย่างพร้อมกัน โครงยื่น (6,7,8) จะได้รับการใช้เพื่อทำให้โมเมนต์เพื่อการหน่วยงานตามแกนดีขึ้น และวิถีทางเพื่อ การหน่วงสองทิศทาง (5) อาจจะได้รับการประกอบติดตั้งในลักษณะที่เป็นคู่ ซึ่งทำงานตรงข้ามกัน และกันเพื่อหน่วงแรงเฉือนหรือแรงดัดพลวัตในระนาบเชิงตั้งฉาก

Claims (7)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :หน้า 1 ของจำนวน 3 หน้า ข้อถือสิทธิ
1.โครงสร้างอาคาร (1) ที่ประกอบรวมด้วย ะ ชินส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) ที่ยื่นขนานกับแกนแนวดิ่งของโครงสร้างอาคาร (1), โดยที่ ชินส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) เป็นแบบรองรับตัวเองได้อย่างเป็นสำคัญและสามารถรับการเปลี่ยน รูปภายใต้แรงเฉือนหเอแรงดัดได้, โดยส่วนประกอบของการเปลี่ยนรูปภายใต้แรงเฉือนหรือแรงดัด นั้นอยู่ตามแนวแกนนอนของโครงสร้างอาคาร, ชินส่วนเชิงโครงสร้างที่สอง (3), ที่อยู่ใกล้กับชิ้นส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) และยื่นขนาน กับแกนแนวดิ่ง, โดยชินส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) และที่สอง (3) จะอยู่ในลักษณะที่ว่าการเปลี่ยน รูปภายใต้แรงเฉือนหรือแรงดัดดังกล่าวจะทำให้เกิดการเคลื่อนไหวตามแกนสัมพัทธ์ระหว่างชิ้นส่วน เชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) และที่สอง (3) ที่ขนานกับแกนที่หนึ่งดังกล่าว ณ ตำแหน่งที่ได้กำหนดไว้ ล่วงหน้าที่หนึ่งไปตามแนวแกนแนวดิ่งดังกล่าว, และ ระยะของการหน่วงที่ถูกเว้นระยะห่างตามแนวดิ่งจำนวนหนึ่ง, ซึ่งแต่ละระยะของการหน่วง ประกอบรวมด้วยชินส่วนโครงยื่นที่แข็งเกร็ง (6,7,8,10) ซึ่งยื่นออกด้านนอกจากชินส่วนเชิงโครงสร้าง ที่หนึ่ง (2) เข้าหาชิ้นส่วนเชิงโครงสร้างที่สอง (3), ตัวหน่วงแบบสองแกน (5a, 5b) จำนวนหนึ่ง, ซึ่งแต่ละดัวมีความสามารถในการหน่วงตาม แนวแกนอย่างน้อยสองแกนที่ต่างกัน, โครงสร้างอาคาร (1) ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่า ะ ตัวหน่วงได้รับการจัดไว้อย่างเป็นคู่, ในลักษณะเป็นคู่ที่ถูกเว้นระ ยะห่างตามแนวแกนดิ่ง (5) ไปตามแนวแกนดิ่งของโครงสร้างอาคาร (1), ระหว่างชินส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) และที่สอง (3), โดยแต่ละคู่ (5) ของตัวหน่วง (5a, 5b) ประกอบรวมด้วยตัวหน่วงที่หนึ่ง (5a) และตัวหน่วงที่ สอง (5b) ซึ่งได้รับการจัดเตรียม, ถูกเว้นระยะห่างตามแนวดิ่ง, ในบริเวณร่วมของโครงสร้างอาคาร (1), ตัวหน่วงที่หนึ่ง (5a) และตัวหน่วงที่สอง (5b) ได้รับการติดตั้งไว้ระหว่างส่วนด้านนอกของ แต่ละโครงยื่นและชินส่วนเชิงโครงสร้างที่สอง (3), เพื่อที่จะจัดให้มีการหน่วงตามแนวแกนไปตาม แนวแกนดิ่งและการหน่วงทางด้านข้างตามแกนแนวนอน, และในลักษณะที่ว่า, ในระหว่างการเปลี่ยน รูปภายใต้แรงเฉือนหรือแรงดัดดังกล่าวของชินส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) ในบริเวณร่วมดังกล่าว ของโครงสร้างอาคาร (1), ตัวหน่วงที่หนึ่ง (5a) จะอยู่ในหนึ่งในแรงดึง (T) หรือแรงอัด (C) ตามหนึ่ง หน้า 2 ของจำนวน 3 หน้า ในแกนการหน่วงของมัน, ในขณะที่ตัวหน่วงที่สอง (5๖) จะอยู่ในอีกแรงหนึ่งของแรงดึง (T) หรือ แรงอัด (C) ตามหนึ่งในแกนการหน่วงของมัน
2.โครงสร้างอาคาร (1) ของข้อถือสิทธิที่ 1, ที่ซึ่งชิ้นส่วนยื่น (6, 7, 8) จะเป็นผนังของ โครงสร้างอาคาร (1)
3.โครงสร้างอาคาร (1) ของข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง, ที่ซึ่งอย่างน้อยที่สุดวิถีทาง หนึ่งของตัวหน่วงที่หนึ่งและที่สอง (5, 5a, 5๖, 32) จะเป็นอุปกรณ์เพื่อการหน่วงชนิดหนืด-ยืดหยุ่น
4. โครงสร้างอาคาร (1) ของข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง, ที่ซึ่งชิ้นส่วนหนึ่งของ ชินส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) และที่สอง (3) จะเป็นเสาแกนที่หนึ่งของโครงสร้างอาคาร (1) และ ชิ้นส่วนอื่นอีกชิ้นหนึ่งของชิ้นส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่ง(2)และที่สอง(3)จะเป็นเสารอบนอกของ โครงสร้างอาคาร (1) หรือเสาแกนที่สองของโครงสร้างอาคาร (1) อย่างใดอย่างหนึ่ง
5. วิธีการของการหน่วงการเคลื่อนไหวในโครงสร้างอาคาร (1) ที่ประกอบรวมด้วยชิ้นส่วน เชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) ที่ยื่นขนานกับแกนแนวดิ่งของโครงสร้างอาคาร (1), โดยที่ชิ้นส่วนเชิง โครงสร้างที่หนึ่ง (2) เป็นแบบรองรับตัวเองได้อย่างเป็นสำคัญและสามารถรับการเปลี่ยนรูปภายใต้ แรงเฉือนหรือแรงดัดได้, โดยส่วนประกอบของการเปลี่ยนรูปภายใต้แรงเฉือนหรือแรงดัดนั้นอยู่ตาม แนวแกนนอนของโครงสร้างอาคาร (1), วิธีการซึ่งประกอบรวมด้วย ะ ขั้นตอนที่หนึ่งจะเป็นการจัดให้มีชิ้นส่วนเชิงโครงสร้างที่สอง (3) อยู่ใกล้กับชิ้นส่วน เชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2), และยื่นขนานกับแกนแนวดิ่ง, โดยชินส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) และ ที่สอง (3) จะอยู่ในลักษณะที่ว่าการเปลี่ยนรูปภายใต้แรงเฉือนหรือแรงดัดดังกล่าวจะทำให้เกิดการ เคลื่อนไหวตามแกนสัมพัทธ์ระหว่างชินส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) และที่สอง (3) ที่ขนานกับ แกนที่หนึ่งดังกล่าว ณ ตำแหน่งที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้าที่หนึ่งตามแนวแกนแนวดิ่งดังกล่าว, ขันตอนที่สองของการจัดเตรียมระยะของการหน่วงที่ถูกเว้นระยะห่างตามแนวดิ่งจำนวน หนึ่ง, ซึ่งแต่ละระยะของการหน่วงประกอบรวมด้วยชิ้นส่วนโครงยื่นที่แข็งเกร็ง (6,7,8,10) ซึ่งยื่นออก ด้านนอกจากชิ้นส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) เข้าหาชิ้นส่วนเชิงโครงสร้างที่สอง (3), โดยที่วิธีการนันมีลักษณะเฉพาะตรงที่ว่า: ขั้นตอนที่สองนั้นรวมถึง การจัดเตรียมตัวหน่วงแบบสองแกนหรือหลายแกนจำนวนหนึ่งไว้ อย่างเป็นคู่, ในลักษณะเป็นคู่ที่ถูกเว้นระยะห่างตามแนวแกนดิ่งไปตามแนวแกนดิ่งของโครงสร้าง อาคาร, ระหว่างชินส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่งและที่สอง, หน้า 3 ของจำนวน 3 หน้า โดยแต่ละคู่ของตัวหน่วงประกอบรวมด้วยตัวหน่วงที่หนึ่งและตัวหน่วงที่สองซึ่งได้รับการ จัดเตรียม, ถูกเว้นระยะห่างตามแนวดิ่ง,ในบริเวณร่วมของโครงสร้างอาคาร, ตัวหน่วงที่หนึ่งและที่สอง (5a, 5b) ได้รับการติดตั้งไว้ระหว่างส่วนด้านนอกของแต่ละโครง ยื่นและชินส่วนเชิงโครงสร้างที่สอง (3), เพื่อที่จะจัดให้มีการหน่วงตามแนวแกนไปตามแนวแกนดิ่ง และการหน่วงทางด้านข้างตามแกนแนวนอน, และในลักษณะที่ว่า, ในระหว่างการเปลี่ยนรูปภายใต้ แรงเฉือนหรือแรงดัดดังกล่าวของชิ้นส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่ง (2) ในบริเวณร่วมดังกล่าวของ โครงสร้างอาคาร (1), ตัวหน่วงที่หนึ่ง (5a) จะอยู่ในหนึ่งในแรงดึง (T) หรือแรงอัด (C) ตามหนึ่งใน แกนการหน่วงของมัน, ในขณะที่ตัวหน่วงที่สอง (5b) จะอยู่ในอีกแรงหนึ่งของแรงดึง (T) หรือแรงอัด (C) ตามหนึ่งในแกนการหน่วงของมัน
6. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 5, ที่ซึ่งวิถีทางเพื่อการหน่วงที่หนึ่งและ/หรือที่สอง (5, 5a, 5b, 32) เป็นอุปกรณ์เพื่อการหน่วงชนิดหนืด-ยืดหยุ่น
7. วิธีการ1ของ1ข้อถือสิทธิที่ 5 หรือ 6, ที่ซึ่งชิ้นส่วนหนึ่งของชิ้นส่วนเชิงโครงสร้างที่หนึ่งและที่ สอง (2) เป็นเสาแกนที่หนึ่งของโครงสร้างอาคารและชิ้นส่วนอื่นอีกชินหนึ่งของชินส่วนเชิง โครงสร้างที่หนึ่งและที่สอง (3) เป็นเสารอบนอกของโครงสร้างอาคาร (1) หรือเสาแกนที่สองของ โครงสร้างอาคาร (1)
TH1001001467A 2010-09-23 วิธีการและโครงสร้างสำหรับการหน่วงการเคลื่อนไหวของอาคาร TH66402B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH112480B TH112480B (th) 2012-02-20
TH112480A true TH112480A (th) 2012-02-20
TH66402B TH66402B (th) 2018-11-16

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Lee et al. Development of box-shaped steel slit dampers for seismic retrofit of building structures
Yau et al. Vibration reduction for cable-stayed bridges traveled by high-speed trains
CN106320560B (zh) 一种装配式结构的阻尼器
Di Matteo et al. Combining TMD and TLCD: analytical and experimental studies
Sarkar et al. Pendulum type liquid column damper (PLCD) for controlling vibrations of a structure–Theoretical and experimental study
JP2014058790A (ja) 制震ダンパ
WO2019029316A1 (zh) 用于消能部件的连接装置及消能减震结构
CN203905194U (zh) 一种球面调谐质量阻尼器减振控制装置
CN109826338A (zh) 一种内藏摩擦和负刚度复合减振装置的冷弯薄壁钢板墙体系
CN106702885A (zh) 一种桥梁减震的变速质量阻尼器系统
CN104018594A (zh) 一种球面调谐质量阻尼器减振控制装置
JP2007046410A (ja) 防震装置
CN103866882A (zh) 一种后张预应力式自定心钢板剪力墙结构
CN108487495B (zh) 减震墙装置及阻尼元件种类数量确定方法
JP5399060B2 (ja) 制震装置
CN207033007U (zh) 用于消能部件的连接装置及消能减震结构
TH112480A (th) วิธีการและโครงสร้างสำหรับการหน่วงการเคลื่อนไหวของอาคาร
TH66402B (th) วิธีการและโครงสร้างสำหรับการหน่วงการเคลื่อนไหวของอาคาร
CN206916549U (zh) 悬挂式空轨轨道梁专用减振器
Gholizad et al. Friction damper dynamic performance in seismically excited knee braced steel frames
JP2011102530A (ja) 制振建物
JP2007285060A (ja) 制振装置付き建物
JP2018199958A (ja) 制震構造
Tada et al. Analytical simulation utilizing collaborative structural analysis system
JP6143058B2 (ja) 制振構造