TH103552A - วิธีการสำหรับการผลิต แอล-ธีรโอนีน - Google Patents

วิธีการสำหรับการผลิต แอล-ธีรโอนีน

Info

Publication number
TH103552A
TH103552A TH601003060A TH0601003060A TH103552A TH 103552 A TH103552 A TH 103552A TH 601003060 A TH601003060 A TH 601003060A TH 0601003060 A TH0601003060 A TH 0601003060A TH 103552 A TH103552 A TH 103552A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
culture
source
medium
food
sulfur
Prior art date
Application number
TH601003060A
Other languages
English (en)
Other versions
TH69286B (th
Inventor
ทสึจิ นายยูอิชิโร
คาโตะ นายนาโอโตะ
โคยามะ นายนายนาโอโตะ
โจเอะ นายนายยูจิ
Original Assignee
นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง
นางสาวอภิญญา บัณฑิตวุฒิสกุล
นางสาวยิ่งลักษณ์ ไกรฤกษ์
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง, นางสาวอภิญญา บัณฑิตวุฒิสกุล, นางสาวยิ่งลักษณ์ ไกรฤกษ์ filed Critical นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง
Publication of TH103552A publication Critical patent/TH103552A/th
Publication of TH69286B publication Critical patent/TH69286B/th

Links

Abstract

DC60 (06/09/49) วิธีการสำหรับการผลิตแอล-ธีรโอนีนได้ถูกอธิบายซึ่งรวมถึงขั้นตอนของการเพาะเลี้ยงจุล ชีพที่อยู่ในตระกูล Escherichia ที่มีความสามารถในการผลิตแอล-ธีรโอนีน ในตัวกลางที่ใช้ในการ หมักที่ประกอบด้วยแหล่งคาร์บอน, แหล่งไนโตรเจน และแหล่งซัลเฟอร์ และการเก็บแอล-ธีรโอนีน โดยที่ความเข้มข้นซัลเฟอร์ในตัวกลางถูกควบคุมเพื่อที่ว่ามันจะมีค่าอยู่ในระดับที่ได้กำหนดไว้ หรือ ต่ำกว่า วิธีการสำหรับการผลิตแอล-ธีรโอนีนได้ถูกอธิบายซึ่งรวมถึงขั้นตอนของการเพาะเลี้ยงจุล ชีพที่อยู่ในตระกูล Escherichia ที่มีความสามารถในการผลิตแอล-ธีรโอนีน ในตัวกลางที่ใช้ในการ หมักที่ประกอบด้วยแหล่งคาร์บอน, แหล่งไนโตรเจน และแหล่งซัลเฟอร์ และการเก็บแอล-ธีรโอนีน โดยที่ความเข้มข้นซัลเฟอร์ในตัวกลางถูกควบคุมเพื่อที่ว่ามันจะมีค่าอยู่ในระดับที่ได้กำหนดไว้ หรือ ต่ำกว่า

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 12/06/58 1. วิธีการสำหรับการผลิตแอล-ธีรโอนีน ที่ประกอบด้วย: A) การเพาะเลี้ยงจุลชีพที่อยู่ในตระกูล Escherichia ที่มีความสามารถในการผลิตแอล-ธีร โอนีน ซึ่งในตัวกลางที่ใช้ในการหมักประกอบไปด้วยแหล่งคาร์บอน, แหล่งไตรโตรเจน และแหล่ง ซัลเฟอร์ B) การเก็บแอล-ธีรโอนีนจากสารเพาะเลี้ยง โดยที่ความเข้มข้นของซัลเฟอร์ในตัวกลางถูก ควบคุมให้มีค่าอยู่ที่ 0.35 กรัม/ลิตร หรือต่ำกว่า 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 โดยที่จุลชีพคือ Escherichia coli 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อ 1 ถึง 2 โดยที่เอนไซม์ที่ใช้ในการสังเคราะห์ ทางชีวภาพของแอล-ธีรโอนีนโนจุลชีพถูกดัดแปลงเพื่อที่จะให้เอนไซม์ไม่ยอมรับการควบคุม ย้อนกลับโดยแอล-ธีรโอนีน 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 4 โดยที่ เอนไซม์ที่ใช้ในการสังเคราะห์ทางชีวภาพแอล-ธีรโอนีน ถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยแอสพาโทไคเนส, โฮโมเซอรีน ไคเนส, ธีรโอนีน ซินเทส, และการ รวมกันของเอนไซม์เหล่านั้น 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 1 ถึง 5 โดยที่ แหล่งซัลเฟอร์ถูกเลือกจาก กลุ่มที่ประกอบด้วยซัลเฟต, ไธโอซัลเฟต, ซัลไฟต์, ซีสเตอีน, ซีสทีน, กลูตาไธโอน และการรวมกัน ของสิ่งนั้น 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 1 ถึง 6 โดยที่วิธีการเพาะเลี้ยงถูกเลือกจาก กลุ่มที่ประกอบด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงแบบแบทช์, วิธีการเพาะเลี้ยงแบบแบทช์ที่มีการใส่อาหารเพิ่ม ขณะเลี้ยง และวิธีการเพาะเลี้ยงแบบต่อเนื่อง 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่วิธีการเพาะเลี้ยงคือวิธีการเพาะเลี้ยงแบบแบทช์ที่มีการ ใส่อาหารเพิ่มขณะเพาะเลี้ยง หรือวิธีการเพาะเลี้ยงแบบต่อเนื่อง โดยที่ตัวกลางที่เป็นอาหาร ประกอบด้วยแหล่งซัลเฟอร์ซึ่งถูกเติมลงไปในสารเพาะเลี้ยงในถังหมัก 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 8 โดยที่ตัวกลางที่เป็นอาหารดังกล่าวยังประกอบด้วยแหล่ง คาร์บอน และสารอาหารที่มีผลในการส่งเสริมการเจริญเติบโต และโดยที่ตัวกลางที่เป็นอาหารถูก เติมลงในสารเพาะเลี้ยงในถังหมักอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นช่วงๆ เพื่อที่ความเข้มข้นของแหล่ง คาร์บอนในสารเพาะเลี้ยงจะถูกคงรักษาไว้ที่ 30 กรัม/ลิตร หรือต่ำกว่านั้น ภายหลังสิ้นสุดการ เจริญเติบโตในช่วงลอคของจุลชีพ 9. วิธีการเพื่อการผลิตสารเติมแต่งอาหารสัตว์โดยมีพื้นฐานมาจากน้ำเลี้ยงเชื้อที่ใช้ในการ หมักที่ประกอบด้วย: A) การเพาะเลี้ยงจุลชีพที่อยู่ในตระกูล Escherichia ที่มีความสามารถในการผลิตแอล-ธีร โอนีน ในตัวกลางการหมักที่ประกอบด้วยแหล่งคาร์บอน, แหล่งในโตรเจน และแหล่งซัลเฟอร์ B) การดำเนินการหมักโดยที่ความเข้มข้นซัลเฟอร์ในตัวกลางถูกควบคุมไว้เพื่อที่ว่าความ เข้มข้นจะมีค่าอยู่ในระดับที่ได้กำหนดไว้ หรือต่ำกว่า C) การทำอาหารเลี้ยงเชื้อที่ใช้ในการหมักที่ยังไม่ผ่านกระบวนการให้แห้งเพื่อให้มีปริมาณ น้ำ 10% หรือน้อยกว่าโดยน้ำหนัก 1 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 10 หรือ 11 โดยที่จุลชีพคือ Escherichai coli 1 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 9 ถึง 10 โดยที่เอนไซม์ที่ใช้ในการ สังเคราะห์ทางชีวภาพแอล-ธีรโอนีนในจุลชีพถูกดัดแปลงเพื่อที่ว่าเอนไซม์จะไม่เข้าสู่การยับยั้ง ย้อนกลับโดยแอล-ธีโอนีน 1 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 13 โดยที่เอนไซม์ที่ใช้ในการสังเคราะห์ทางชีวภาพแอล-ธีร โอนีนถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยแอสพาโตไคเนส, โฮโมเซอรีนไคเนส, ธีรโอนีน ซินเทส และ การรวมกันของเอนไซม์เหล่านั้น 1 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 10 ถึง 14 โดยที่ แหล่งซับเฟอร์ถูกเลือก จากกลุ่มที่ประกอบด้วยซัลเฟต, ไธโอซัลเฟต, ซัลไฟต์, ซีสเตอีน, ซีสทีน, กลูตาไธโอน และการ รวมกันของสิ่งนั้น 1 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 9 ถึง 13 โดยที่วิธีการเพาะเลี้ยงถูกเลือก จากกลุ่มที่ประกอบด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงแบบแบทช์, วิธีการเพาะเลี้ยงแบบแบทช์ที่มีการใส่อาหาร เพิ่มขณะเลี้ยง และวิธีการเพาะเลี้ยงแบบต่อเนื่อง 1 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่วิธีการเพาะเลี้ยงคือวิธีการเพาะเลี้ยงแบบแบทช์ที่มี การใส่อาหารเพิ่มขณะเพาะเลี้ยง หรือวิธีการเพาะเลี้ยงแบบต่อเนื่อง โดยที่ตัวกลางที่เป็นอาหาร ประกอบด้วยแหล่งซัลเฟอร์ซึ่งถูกเติมลงไปในสารเพาะเลี้ยงในถังหมัก 1 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่ตัวกลางที่เป็นอาหารดังกล่าวยังประกอบด้วยแหล่ง คาร์บอน และสารอาหารที่มีผลในการส่งเสริมการเจริญเติบโต และโดยที่ตัวกลางที่เป็นอาหารถูก เติมลงในสารเพาะเลี้ยงในถังหมักอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นช่วงๆ เพื่อที่ความเข้มข้นของแหล่ง คาร์บอนในสารเพาะเลี้ยงจะถูกคงรักษาไว้ที่ 30 กรัม/ลิตร หรือต่ำกว่านั้น ภายหลังสิ้นสุดการ เจริญเติบโตในช่วงลอคของจุลชีพ 1 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 9 ถึง 16 โดยที่แอล-ธีรโอนีนมากกว่า 95% ถูกรวมไว้ในสารเติมแต่งอาหารดังกล่าว ------------------------------------------------------------- 1. วิธีการสำหรับการผลิตแอล-ธีรโอนีน ที่ประกอบด้วย: A) การเพาะเลี้ยงจุลชีพที่อยู่ในตระกูล Escherichia ที่มีความสามารถในการผลิตแอล-ธีรโอนีน ซึ่ง ในตัวกลางที่ใช้ในการหมักประกอบไปด้วยแหล่งคาร์บอน, แหล่งไตรโตรเจน และแหล่งซัลเฟอร์ B) การเก็บแอล-ธีรโอนีนจากสารเพาะเลี้ยง โดยที่ความเข้มข้นของซัลเฟอร์ในตัวกลางถูกควบคุม ไว้เพื่อที่ว่ามันจะได้อยู่ในระดับที่กำหนดไว้ก่อนแล้วหรือต่ำกว่า 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ความเข้มข้นของซัลเฟอร์ในตัวกลางที่ใช้ในการหมักถูก ควบคุมให้มีค่าอยู่ที่ 0.35 กรัม/ลิตร หรือต่ำกว่า 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 โดยที่จุลชีพคือ Escherichia coli 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อ 1 ถึง 3 โดยที่เอนไซม์ที่ใช้ในการสังเคราะห์ ทางชีวภาพของแอล-ธีรโอนีนโนจุลชีพถูกดัดแปลงเพื่อที่จะให้เอนไซม์ไม่ยอมรับการควบคุมย้อน กลับโดยแอล-ธีรโอนีน 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 4 โดยที่ เอนไซม์ที่ใช้ในการสังเคราะห์ทางชีวภาพแอล-ธีรโอนีน ถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยแอสพาโทไคเนส, โฮโมเซอรีน ไคเนส, ธีรโอนีน ซินเทส, และการ รวมกันของเอนไซม์เหล่านั้น 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 1 ถึง 5 โดยที่ แหล่งซัลเฟอร์ถูกเลือกจาก กลุ่มที่ประกอบด้วยซัลเฟต, ไธโอซัลเฟต, ซัลไฟต์, ซีสเตอีน, ซีสทีน, กลูตาไธโอน และการรวมกัน ของสิ่งนั้น 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 1 ถึง 6 โดยที่วิธีการเพาะเลี้ยงถูกเลือกจาก กลุ่มที่ประกอบด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงแบบแบทช์, วิธีการเพาะเลี้ยงแบบแบทช์ที่มีการใส่อาหารเพิ่ม ขณะเลี้ยง และวิธีการเพาะเลี้ยงแบบต่อเนื่อง 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่วิธีการเพาะเลี้ยงคือวิธีการเพาะเลี้ยงแบบแบทช์ที่มีการ ใส่อาหารเพิ่มขณะเพาะเลี้ยง หรือวิธีการเพาะเลี้ยงแบบต่อเนื่อง โดยที่ตัวกลางที่เป็นอาหาร ประกอบด้วยแหล่งซัลเฟอร์ซึ่งถูกเติมลงไปในสารเพาะเลี้ยงในถังหมัก 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 8 โดยที่ตัวกลางที่เป็นอาหารดังกล่าวยังประกอบด้วยแหล่ง คาร์บอน และสารอาหารที่มีผลในการส่งเสริมการเจริญเติบโต และโดยที่ตัวกลางที่เป็นอาหารถูก เติมลงในสารเพาะเลี้ยงในถังหมักอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นช่วงๆ เพื่อที่ความเข้มข้นของแหล่ง คาร์บอนในสารเพาะเลี้ยงจะถูกคงรักษาไว้ที่ 30 กรัม/ลิตร หรือต่ำกว่านั้น ภายหลังสิ้นสุดการเจริญ เติบโตในช่วงลอคของจุลชีพ 1 0. วิธีการเพื่อการผลิตสารเติมแต่งอาหารสัตว์โดยมีพื้นฐานมาจากน้ำเลี้ยงเชื้อที่ใช้ใน การหมักที่ประกอบด้วย: A) การเพาะเลี้ยงจุลชีพที่อยู่ในตระกูล Escherichia ที่มีความสามารถในการผลิตแอล-ธีร โอนีน ในตัวกลางการหมักที่ประกอบด้วยแหล่งคาร์บอน, แหล่งในโตรเจน และแหล่งซัลเฟอร์ B) การดำเนินการหมักโดยที่ความเข้มข้นซัลเฟอร์ในตัวกลางถูกควบคุมไว้เพื่อที่ว่าความ เข้มข้นจะมีค่าอยู่ในระดับที่ได้กำหนดไว้ หรือต่ำกว่า C) การทำอาหารเลี้ยงเชื้อที่ใช้ในการหมักที่ยังไม่ผ่านกระบวนการให้แห้งเพื่อให้มีปริมาณ น้ำ 10% หรือน้อยกว่าโดยน้ำหนัก 1
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่ความเข้มข้นของซัลเฟอร์ในตัวกลางที่ใช้ในการหมัก ถูกควบคุมเพื่อที่ว่าความเข้มข้นจะมีค่า 0.35 กรัม/ลิตร หรือต่ำกว่า 1
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 10 หรือ 11 โดยที่จุลชีพคือ Escherichai coli 1
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 10 ถึง 12 โดยที่เอนไซม์ที่ใช้ในการ สังเคราะห์ทางชีวภาพแอล-ธีรโอนีนในจุลชีพถูกดัดแปลงเพื่อที่ว่าเอนไซม์จะไม่เข้าสู่การยับยั้งย้อน กลับโดยแอล-ธีโอนีน 1
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 13 โดยที่เอนไซม์ที่ใช้ในการสังเคราะห์ทางชีวภาพแอล-ธีรโอ นีนถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยแอสพาโตไคเนส, โฮโมเซอรีนไคเนส, ธีรโอนีน ซินเทส และการ รวมกันของเอนไซม์เหล่านั้น 1
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 10 ถึง 14 โดยที่ แหล่งซับเฟอร์ถูกเลือก จากกลุ่มที่ประกอบด้วยซัลเฟต, ไธโอซัลเฟต, ซัลไฟต์, ซีสเตอีน, ซีสทีน, กลูตาไธโอน และการรวม กันของสิ่งนั้น 1
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 10 ถึง 15 โดยที่วิธีการเพาะเลี้ยงถูกเลือก จากกลุ่มที่ประกอบด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงแบบแบทช์, วิธีการเพาะเลี้ยงแบบแบทช์ที่มีการใส่อาหาร เพิ่มขณะเลี้ยง และวิธีการเพาะเลี้ยงแบบต่อเนื่อง 1
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่วิธีการเพาะเลี้ยงคือวิธีการเพาะเลี้ยงแบบแบทช์ที่มี การใส่อาหารเพิ่มขณะเพาะเลี้ยง หรือวิธีการเพาะเลี้ยงแบบต่อเนื่อง โดยที่ตัวกลางที่เป็นอาหาร ประกอบด้วยแหล่งซัลเฟอร์ซึ่งถูกเติมลงไปในสารเพาะเลี้ยงในถังหมัก 1
8. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 16 โดยที่ตัวกลางที่เป็นอาหารดังกล่าวยังประกอบด้วยแหล่ง คาร์บอน และสารอาหารที่มีผลในการส่งเสริมการเจริญเติบโต และโดยที่ตัวกลางที่เป็นอาหารถูก เติมลงในสารเพาะเลี้ยงในถังหมักอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นช่วงๆ เพื่อที่ความเข้มข้นของแหล่ง คาร์บอนในสารเพาะเลี้ยงจะถูกคงรักษาไว้ที่ 30 กรัม/ลิตร หรือต่ำกว่านั้น ภายหลังสิ้นสุดการเจริญ เติบโตในช่วงลอคของจุลชีพ 1
9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 10 ถึง 18 โดยที่แอล-ธีรโอนีนมากกว่า 95% ถูกรวมไว้ในสารเติมแต่งอาหารดังกล่าว
TH601003060A 2006-06-29 วิธีการสำหรับการผลิต แอล-ธีรโอนีน TH69286B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH103552A true TH103552A (th) 2010-08-31
TH69286B TH69286B (th) 2019-04-09

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Feng et al. Culture of Spirulina platensis in human urine for biomass production and O 2 evolution
Yang et al. Enhancing protein to extremely high content in photosynthetic bacteria during biogas slurry treatment
RU2008103198A (ru) Способ получения l-треонина
RU2728345C1 (ru) Штамм Methylococcus capsulatus ВКПМ В-13479 - продуцент микробной белковой массы, устойчивый к агрессивной среде
CN103627655B (zh) 室内生物絮团的培养方法
CN102559498B (zh) 一种用于培养微生物的营养剂及微生物培养方法
Cao et al. Photosynthetic bacterial protein production from wastewater: Effects of C/N and light‑oxygen condition
CN106745814A (zh) 用于水产养殖的复合水质改良剂及其制备方法
CN106745813B (zh) 有机酸水体改良剂及其制备方法
CN116426443B (zh) 具有群体感应行为的菌株及其在促进厌氧氨氧化脱氮上的应用
CN107926794A (zh) 一种罗氏沼虾的高效养殖方法
Chiemchaisri et al. Photosynthetic bacteria pond system with infra-red transmitting filter for the treatment and recovery of organic carbon from industrial wastewater
Wu et al. Variable volume fed-batch fermentation for nisin production by Lactococcus lactis subsp. lactis W28
CN103865858A (zh) 一种用于景观水处理的光合细菌简易扩培方法
CN114196546B (zh) DCMU在稳定微藻混养生长pH和提高微藻混养生长速度中的应用
CN103060244A (zh) 一种海洋芽孢杆菌及利用该菌生产过氧化氢酶的方法
TH103552A (th) วิธีการสำหรับการผลิต แอล-ธีรโอนีน
TH69286B (th) วิธีการสำหรับการผลิต แอล-ธีรโอนีน
KR102009554B1 (ko) 배가스 내 이산화탄소를 이용하여 제조된 중탄산 버퍼, 및 무기 인산염 버퍼를 활용한 광합성 미생물의 배양방법
Feng et al. Effects of N source and nitrification pretreatment on growth of Arthrospira platensis in human urine
Imamoglu et al. Semi-continuous cultivation of Haematococcus pluvialis for commercial production
CN103588304B (zh) 一种用于养殖池塘水体微型生物群落调控碳源及其应用
CN1257263C (zh) 一种培养超高细胞浓度光合细菌的方法
TW200506050A (en) Novel microorganisms
CN107603931A (zh) 一种光合细菌富集培养基