TH10092C3 - กรรมวิธีการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส - Google Patents

กรรมวิธีการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส

Info

Publication number
TH10092C3
TH10092C3 TH1203000054U TH1203000054U TH10092C3 TH 10092 C3 TH10092 C3 TH 10092C3 TH 1203000054 U TH1203000054 U TH 1203000054U TH 1203000054 U TH1203000054 U TH 1203000054U TH 10092 C3 TH10092 C3 TH 10092C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
concentration
beta
production
invertase
inulinase
Prior art date
Application number
TH1203000054U
Other languages
English (en)
Other versions
TH10092A3 (th
Inventor
ศิริศันสนียกุล นายสาโรจน์
สงพิมพ์ นางสาวมลนพรรษ
ไวถนอมสัตย์ นางสาวพิลาณี
Original Assignee
นางสาวปุณนมาส ธรรมรรัตน์
นางธิดารัตน์ ทวาเรศเรืองคาม
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปุณนมาส ธรรมรรัตน์, นางธิดารัตน์ ทวาเรศเรืองคาม filed Critical นางสาวปุณนมาส ธรรมรรัตน์
Publication of TH10092A3 publication Critical patent/TH10092A3/th
Publication of TH10092C3 publication Critical patent/TH10092C3/th

Links

Abstract

DC60 (22/05/58) กรรมวิธีการผลิตอินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส โดยวิธีการหมักที่ อาศัยเชื้อรา Aspergillus niger ในระดับฟลาสก์ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของการเตรียมกล้าเชื้อรา การหา สภาวะที่เหมาะสมที่สุดต่อการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดสด้วยวิธี ทะกุจิ ทำให้ได้มาซึ่งความเข้มข้น ผลได้และอัตราการผลิตเชิงปริมาตรของเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และ บีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ที่สูงขึ้น ภายใต้สภาวะเหมาะสมที่สุดของการผลิตอย่างเฉพาะเจาะจง เพื่อ นำไปใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม แก้ไข 22/05/2558 กรรมวิธีการผลิตอินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส โดยวิธีการหมักที่ อาศัยเชื้อรา Aspergillus niger ในระดับฟลาสก์ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของการเตรียมกล้าเชื้อรา การหา สภาวะที่เหมือาะที่ต่อการผลิตเอนไซม์อิมนูเลส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดสด้วยวิธี ทะกุจิ ทำให้ได้มาซึ่งความเข้มข้น ผลได้และอัตราการผลิตเชิงปริมาตรของเอนไซม์อินูลิเนา อินเวอร์เทส และ บีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ที่สูงขึ้ ภายใต้สภาะวะเหมาะสมที่สุดของการผลิตอย่างเฉพาะเจาจง เพื่อ นำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตอาหารและเครื่องดื่ม ------------------------------------------------------------------- กรรมวิธีการผลิตอินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรุกโทฟูราโนซิเดส โดยวิธีการหมักที่ อาศัยเชื้อรา Aspergillus niger ในระดับฟลาสก์ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของการเตรียมกล้าเชื้อรา การหา สภาวะที่เหมาะสมที่สุดต่อการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรุกโทฟูรา-โนซิเดสด้วยวิธี ทะกุจิ ทำให้ได้มาซึ่งความเข้มข้น ผลได้และอัตราการผลิตเชิงปริมาตรของเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และ บีตา-ฟรักโทฟูราโนซิเดส ที่สูงขึ้น ภายใต้สภาวะเหมาะสมที่สุดของการผลิตอย่างเฉพาะเจาะจง เพื่อ นำไปใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม

Claims (4)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 22/05/2558 1. กรรมวิธีการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเทอร์เทส บีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ ก. เตรียมกล้าเชื้อรา Aspergillus niger บนอาหารวุ้นเอียง จากนั้นเจือจางสปอร์ด้วยน้ำกลั่นฆ่าเชื้อ นับจำนวนสปอร์ โดยกำหนดสปอร์เริ่มต้นสำหรับการเตรียมกล้าเชื้อเริ่มต้นเท่ากับ 10 6-10 7 สปอร์มิลลิลิตร นำ สารละลายสปอร์เจือจางปริมาตร 5-10 เปอร์เซ็นต์ ถ่ายลงในอาหารเพาะเลี้ยงเหลว บ่มบนเครื่องเขย่า ความเร็ว 200 รอบ/นาที ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นถ่ายกล้าเชื้อรา A. niger ปริมาตร 5-10 เปอร์เซ็นต์ลงในอาหารเพาะเลี้ยงเหลว บ่มบนเครื่องเขย่าความเร็วรอบ 200 รอบ/นาที ที่ อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ข. ผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส โดยนำกล้าเชื้อรา ปริมาตร 5-10 เปอร์เซ็นต์ ลงเพาะเลี้ยงในอาหารเหลว ที่ความเข้มข้นของอินูลิน 10-50 กรัม/ลิตร ความเข้มข้น ของยีสต์สกัด 12-36 กรัม ความเข้มข้นของ MgSO4.7H2O 2-6 กรัม/ลิตร และค่าพีเอชเริ่มต้น 6.0 บ่มที่ อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส บนเครื่องเขย่าความเร็วรอบ 200รอบ /นาที เป็นเวลา 48 ชั่วโมง 2.กรรมวิธีการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส คือ ความเข้มข้นอินูลิน 50 กรัม/ลิตร ความเข้มข้นยีสต์ สกัด 12 กรัม/ลิตร ความเข้มข้น MgSO4.7HO 6กรัม/ลิตร และพีเอชเริ่มต้น 6.0 บ่มที่อุณหภูมิ 30 องศา เซลเซียส บนเครื่องเขย่าความเร็วรอบ 200 รอบ/นาที เป็นเวลา 48 ชั่วโมง 3.กรรมวิธีการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์อินเวอร์เทส คือ ความเข้มข้นอินูลิน 10-30 กรัม/ลิตร ความ เข้มข้นยีสต์สกัด 36 กรัม/ลิตร ความเข้มข้น MgSO4.7HO 2-6กรัม/ลิตร และพีเอชเริ่มต้น 6.0 บ่มที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส บนเครื่องเขย่าความเร็วรอบ 200 รอบ/นาที เป็นเวลา 48 ชั่วโมง 4. กรรมวิธีการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์บีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ได้แก่ ความเข้มข้นอินูลิน 10 กรัม/ลิตร ความเข้มข้นยีสต์สกัด 36 กรัม/ลิตร ความเข้มข้น MgSO4.7HO 2-6กรัม/ลิตร และพีเอชเริ่มต้น 6.0 บ่มที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส บนเครื่องเขย่าความเร็วรอบ 200 รอบ/นาที เป็นเวลา 48 ชั่วโมง -------------------------------------------------------------------
1. กรรมวิธีการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส บีตา-ฟรักโทฟูราโนซิเดส ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ ก. เตรียมกล้าเชื้อรา Aspergillus niger บนอาหารวุ้นเอียง จากนั้นเจือจางสปอร์ด้วยน้ำกลั่นฆ่าเชื้อ นับจำนวนสปอร์ โดยกำหนดสปอร์เริ่มต้นษาหรับการเตรียมกล้าเชื้อเริ่มต้นเท่ากับ 10-10 สปอร์/มิลลิลิตร นำ สารละลายสปอร์เจือจางปริมาตร 5-10 เปอร์เซ็นต์ ถ่ายลงในอาหารเพาะเลี้ยงเหลว บ่มบนเครื่องเขย่า ความเร็ว 200 รอบ/นาที ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นถ่ายกล้าเชื้อรา A. niger ปริมาตร 5-10 เปอร์เซ็นต์ลงในอาหารเพาะเลี้ยงเหลว บ่มบนเครื่องเขย่าความเร็วรอบ 200 รอบ/นาที ที่ อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ข. ผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส โดยนำกล้าเชื้อรา ปริมาตร 5-10 เปอร์เซ็นต์ ลงเพาะเลี้ยงในอาหารเหลว ที่ความเข้มข้นของอินูลิน 10-50 กรัม/ลิตร ความเข้มข้น ของยีสต์สกัด 12-36 กรัม/ลิตร ความเข้มข้นของ MgSO4.7H 2.O 2-6 กรัม/ลิตร และค่าพีเอชเริ่มต้น 6.0 บ่มที่ อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส บนเครื่องเขย่าความเร็วรอบ 200 รอบ/นาที เป็นเวลา 48 ชั่วโมง
2. กรรมว่าการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์อินลิเนส คือ ความเข้มข้นอินูลิน 50 กรัม/ลิตร ความเข้มข้นยีสต์ สกัด 12 กรัม/ลิตร ความเข้มข้น MgSO4.7H2 O 6 กรัม/ลิตร และพีเอชเริ่มต้น 6.0 บ่มที่อุณหภูมิ 30 องศา เซลเซียส บนเครื่องเขย่าความเร็วรอบ 200 รอบ/นาที เป็นเวลา 48 ชั่วโมง
3. กรรมวิธีการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์อินเวอร์เทส คือ ความเข้มข้นอินูลิน 10-30 กรัม/ลิตร ความ เข้มข้นยีสต์สกัด 36 กรัม/ลิตร ความเข้มข้น MgSO4.7H2 O 2-6 กรัม/ลิตร และพีเอชเริ่มต้น 6.0 บ่มที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส บนเครื่องเขย่าความเร็วรอบ 200 รอบ/นาที เป็นเวลา 48 ชั่วโมง
4. กรรมวิธีการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตเอนไซม์บีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส ได้แก่ ความเข้มข้นอินูลิน 10 กรัม/ลิตร ความเข้มข้นยีสต์สกัด 36 กรัม/ลิตร ความเข้มข้น MgSO4.7H2 O 2-6 กรัม/ลิตร และพีเอชเริ่มต้น 6.0 บ่มที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส บนเครื่องเขย่าความเร็วรอบ 200 รอบ/นาที เป็นเวลา 48 ชั่วโมง ก. กรรมวิธีการเตรียมกล้าเชื้อราเริ่มต้น Aspergillus nige
TH1203000054U 2012-01-20 กรรมวิธีการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส TH10092C3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH10092A3 TH10092A3 (th) 2015-07-17
TH10092C3 true TH10092C3 (th) 2015-07-17

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP2016540516A5 (th)
EA201290533A1 (ru) Способ получения гомополисахаридов
MX2013011929A (es) Procedimiento de fermentacion.
CN104988077B (zh) 一种产高温纤维素酶及木聚糖酶的微细正青霉及应用
JP2016500267A5 (th)
MY176473A (en) Method of producing sugar liquid
JP2012525831A5 (th)
MX352602B (es) Método para optimizar la eficiencia de la producción, la calidad organoléptica y la estabilidad con el transcurso del tiempo de una biomasa microalgácea rica en proteínas.
MX2016016227A (es) Método para la producción de membranas de celulosa bacteriana, útil en aplicaciones biomédicas.
TH10092C3 (th) กรรมวิธีการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส
TH10092A3 (th) กรรมวิธีการผลิตเอนไซม์อินูลิเนส อินเวอร์เทส และบีตา-ฟรักโทฟิวราโนซิเดส
Shen et al. Purification and enzymatic identification of an acid stable and thermostable α‐amylase from Rhizopus microsporus
CN102392003B (zh) Edta在提高大肠杆菌重组蛋白胞外分泌量和表达量中的应用
MD4158C1 (ro) Mediu nutritiv pentru cultivarea tulpinii de fungi Penicillium funiculosum CNMN FD 11
RU2015151483A (ru) Новые рекомбинантные штаммы (варианты) мицелиального гриба penicillium verruculosum и ферментные препараты, предназначенные для гидролиза инулосодержащего сырья, и способы их получения
MD4121C1 (ro) Procedeu de obţinere a complexului celulazo-amilazic
유아영 et al. A Novel Chitinolytic Bacterial Strain: Characterization of an Extracellular Chitinase
MD3945C2 (ro) Procedeu de cultivare submersă a tulpinii de fungi Aspergillus niger 33-19 CNMN FD 02
TH14070A3 (th) กระบวนการผลิตไบโอเอทานอลโดยใช้เชื้อราโมนาสคัสจากสาหร่ายกลุ่มแมคโครอัลจี
TH14070C3 (th) กระบวนการผลิตไบโอเอทานอลโดยใช้เชื้อราโมนาสคัสจากสาหร่ายกลุ่มแมคโครอัลจี
Wu et al. Improving protoplast production and purity for modification of Aspergillus niger for enzyme production
RU2012126273A (ru) Способ получения глюкозо-мальтозной патоки из картофельного крахмала
TH169786A (th) วิธีการสำหรับการเตรียมซิทรูลีน
TH146004A (th) สิ่งมีชีวิตดัดแปลงทางกระบวนการสันดาปสำหรับการผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพมูลค่าเพิ่ม
TH128678A (th) การผลิตไอโซมอลโทโอลิโกแซ็กคาไรด์และการใช้ของมัน