TH86655A - ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อม - Google Patents

ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อม

Info

Publication number
TH86655A
TH86655A TH601000443A TH0601000443A TH86655A TH 86655 A TH86655 A TH 86655A TH 601000443 A TH601000443 A TH 601000443A TH 0601000443 A TH0601000443 A TH 0601000443A TH 86655 A TH86655 A TH 86655A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
drive
engine
straddle
stator
shaft
Prior art date
Application number
TH601000443A
Other languages
English (en)
Other versions
TH31739B (th
TH86655B (th
Inventor
เทราดะ จุนจิ
ฮิโน่ ฮารุโยชิ
โอโนะ โทโมฮิโร่
ทาเคชิ ฮิโรเอกิ
Original Assignee
นายสัตยะพล สัจจเดชะ
นายกฤชวัชร์ ชัยนภาศักดิ์
นายอรรถกร เวชานนท์
Filing date
Publication date
Application filed by นายสัตยะพล สัจจเดชะ, นายกฤชวัชร์ ชัยนภาศักดิ์, นายอรรถกร เวชานนท์ filed Critical นายสัตยะพล สัจจเดชะ
Publication of TH86655A publication Critical patent/TH86655A/th
Publication of TH86655B publication Critical patent/TH86655B/th
Publication of TH31739B publication Critical patent/TH31739B/th

Links

Abstract

DC60 เพื่อจัดให้มียานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อมซึ่งสามารถส่งผ่านแรงขับเคลื่อนของ อุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบไปยังยางรถขับเคลื่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่ออุปกรณ์ไฟ ฟ้าแบบหมุนรอบอยู่ระหว่างการทำงาน และสามารถปรับภาระงานในการให้กำเนิดกำลัง จากอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบได้ซึ่งจะใช้ป้อนไปที่เครื่องยนต์เมื่อเครื่องยนต์อยู่ระหว่าง การทำงาน ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อมที่จัดให้มีเครื่องยนต์ 12 และอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบ หมุนรอบ 16 ซึ่งมีกลไกส่งแรงขับเคลื่อน 14 สำหรับส่งผ่านแรงขับเคลื่อนที่ส่งออกจาก เครื่องยนต์ 12 ไปยังยางรถขับเคลื่อน โดยที่กลไกส่งแรงขับเคลื่อน 14 มีส่วนที่เป็นคลัตช์ 26 สำหรับยอมให้มีหรือปลดการส่งผ่านแรงขับเคลื่อนไปยังยางรถขับเคลื่อน และมีกลไก ซึ่งจัดให้มีขึ้นระหว่างคลัตช์ 26 และยางรถขับเคลื่อนสำหรับทำงานร่วมกับเพลาส่งกำลัง ออก 40 ของอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบ 16 โดยที่อุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบ 16 มีส่วน ที่เป็นโรเตอร์ 44, สเตเตอร์ 42 ซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งเพื่อให้หันหน้าเข้าหาโรเตอร์ 44 และ กลไกการปรับ 50 สำหรับปรับขอบเขตการใช้งานของอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบ 16 [รูปเขียนที่เลือก] รูปที่ 2 เพื่อจัดให้มียานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อมซึ่งสามารถส่งผ่านแรงขับเคลื่อนของ อุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบไปยังยางรถขับเคลื่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่ออุปกรณ์ไฟ ฟ้าแบบหมุนรอบอยู่ระหว่างการทำงาน และสามารถปรับภาระงานในการให้กำเนิดกำลัง จากอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบได้ซึ่งจะใช้ป้อนไปที่เครื่องยนต์เมื่อเครื่องยนต์อยู่ระหว่าง การทำงาน ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อมที่จัดให้มีเครื่องยนต์ 12 และอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบ หมุนรอบ 16 ซึ่งมีกลไกส่งแรงขับเคลื่อน 14 สำหรับส่งผ่านแรงขับเคลื่อนที่ส่งออกจาก เครื่องยนต์ 12 ไปยังยางรถขับเคลื่อน โดยที่กลไกส่งแรงขับเคลื่อน 14 มีส่วนที่เป็นคลัตช์ 26 สำหรับยอมให้มีหรือปลดการส่งผ่านแรงขับเคลื่อนไปยังยางรถขับเคลื่อน และมีกลไก ซึ่งจัดให้มีขึ้นระหว่างคลัตช์ 26 และยางรถขับเครื่องสำหรับทำงานร่วมกับเพลาส่งกำลัง ออก 40 ของอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบ 16 โดยที่อุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบ 16 มีส่วน ที่เป็นโรเตอร์ 44, สเตเตอร์ 42 ซึ่งถูกกำหนดตำแหน่งเพื่อให้หันหน้าเข้าหาโรเตอร์ 44 และ กลไกการปรับ 50 สำหรับปรับขอบเขตการใช้งานของอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบ 15 [รูปเขียนที่เลือก] รูปที่ 2

Claims (7)

1.ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อมที่จัดให้มีเครื่องยนต์และอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบ หมุนรอบ ซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ กลไกส่งแรงขับเคลื่อนสำหรับส่งผ่านแรงขับ เคลื่อนที่ส่งออกจากเครื่องยนต์ไปยังล้อรถขับเคลื่อน โดยที่กลไกส่งแรงขับเคลื่อนมีส่วน ที่เป็น คลัตช์สำหรับยอมให้มีหรือปลดการส่งผ่านแรงขับเคลื่อนไปยังล้อรถขับเคลื่อน และกลไกระหว่างกลาง ซึ่งจัดให้มีขึ้นระหว่างคลัตช์กับล้อรถขับเคลื่อนสำหรับทำงาน ร่วมกับเพลาส่งกำลังออกของอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบ มีลักษณะพิเศษคือ กลไกการ ปรับสำหรับปรับขอบเขตการใช้งานของอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบ ที่ซึ่งสเตเตอร์มีส่วนที่ เป็นสเตเตอร์ตัวที่หนึ่งที่ถูกจัดวางเพื่อให้หันหน้าเข้าหาโรเตอร์ และสเตเตอร์ตัว่ที่สองที่ถูก จัดวางเพื่อให้หันหน้าชนกับด้านที่เหลืออีกด้านหนึ่งของหน้าอื่นใดอีกหน้าหนึ่งซึ่งหันหน้า เข้าหาโรเตอร์ สเตเตอร์ตัวที่หนึ่งมีซีฟันหลายซีที่มีผิวหน้ารอบนอกด้านข้างซึ่งมีชุดขดลวด อยู่รอบ ๆ สเตเตอร์ตัวที่สองมีซี่ฟันหลายซี่บนหน้าของมันซึ่งหันหน้าเข้าหาสเตเตอร์ตัวที่ หนึ่ง และกลไกการปรับจะปรับมุมในการหมุนของสเตเตอร์ตัวที่สองรอบเพลาส่งกำลัง ออกโดยสัมพันธ์กับสเตเตอร์ตัวที่หนึ่ง
2.ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อมตามข้อถือสิทธิ 1 มีลักษณะพิเศษคือ อุปกรณ์ ไฟฟ้าแบบหมุนรอบถูกกำหนดตำแหน่งโดยที่ว่าเพลาส่งกำลังออกของมันขนานกับเพลา ขับดันของล้อรถขับเคลื่อน
3.ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อมตามข้อถือสิทธิ 1 มีลักษณะพิเศษคือ อุปกรณ์ ไฟฟ้าแบบหมุนรอบถูกกำหนดตำแหน่งโดยที่ว่าแกนของเพลาส่งกำลังออกของ อุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบเรียงแนวกับแกนเพลาขับดันและล้อรถขับเคลื่อน
4. ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อมตามข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิ 1 ถึง 2 มี ลักษณะพิเศษคือ กลไกระหว่างกลางที่ถูกจัดให้อยู่ระหว่างคลัตช์ และล้อรถขับเคลื่อน จะ ประกอบด้วบกลไกเฟืองสำหรับชิ้นประกอบส่งแรงขับเคลื่อน สำหรับทำงานร่วมกับเพลา ส่งกำลังออกของอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบหมุนรอบ
5. ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อมตามข้อถือสิทธิ 4 มีลักษณะพิเศษคือ เฟืองถูก ติดตั้งเข้ากับเพลาขับเคลื่อน และกลไกส่งแรงขัเบคลื่อนยังมีเพลาระหว่างกลางสำหรับ ส่งผ่านแรงขับเคลื่อนของเครื่องยนต์ และเพลาระหว่างกลางเชื่อมโยงไปยังเพลาขับดัน โดยผ่านเฟืองในขณะที่ถูกกำหนดตำแหน่งโดยที่ว่าระยะทางระหว่างแกนของเพลา ระหว่างกลางกับเพลาขับดันสั้นกว่ามีรัศมีของล้อรถขับเคลื่อน
6. ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อมตามข้อถือสิทธิ 5 มีลักษณะพิเศษคือ เพลา ระหว่างกลางถูกกำหนดตำแนห่งให้อยู่ใกล้เพลาข้อเหวี่ยงของเครื่องยนต์มากกว่าที่เพลา ขับดันอยู่
7.ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อมตามข้อถือสิทธิ 4 หรือ 5 มีลักษณะพิเศษคือ เพลาระหว่างกลางถูกเว้นช่องให้อยู่ห่างจากเพลาข้อเหวียงของเครื่องยนต์ และกลไกส่ง แรงขับเคลื่อน ยังมีกลไกลดอัตราเร็วซึ่งท่อออกไปในทิศทางตามยาวของยานพาหนะ สำหรับส่งผ่านแรงขับเคลื่อนจากเพลาข้อเหวี่ยงไปยังเพลาระหว่างกลาง เพื่อส่งผ่านแรง ขับเคลื่อนของเครื่องยนต์จากเพลาข้อเหวี่ยงไปยังเพลาระหว่างกลาง และอุปกรณ์ไฟฟ้า แบบหมุนรอบจัดให้มีขึ้นบนด้านนอกในแนวด้านข้างของยานพาหนะสอดคล้องกับกลไก ลดอัตราเร็ว
TH601000443A 2006-02-02 ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อม TH31739B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH86655A true TH86655A (th) 2007-09-20
TH86655B TH86655B (th) 2007-09-20
TH31739B TH31739B (th) 2012-01-26

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
KR101158341B1 (ko) 유성기어를 이용한 동력 전달 장치
US7455612B2 (en) Rotatively driving apparatus
JP6573357B2 (ja) 電気機械と差動装置との間にベルト伝動装置を備える自動車用ハイブリッド動力伝動ユニット
JP5034532B2 (ja) 駆動力配分装置
CN103770622B (zh) 用于车辆的混合动力推进系统和用于该推进系统的变速器
US8413547B2 (en) Retrograde torque limit gear train with bidirectional input and one-way output
CA2796373A1 (en) Drive unit for aircraft running gear
CN101992686A (zh) 车辆的驱动装置和用于驱动车辆的方法
US20170190246A1 (en) Speed transmission device for moving a motor vehicle, notably a two-wheeled motor vehicle
EP2230421A2 (en) Planetary gear set and power transmitting apparatus and use of the same
KR20150144692A (ko) 전기 기계의 대향 측부들 상에 결합 장치를 구비한 자동차용 하이브리드 파워트레인 유닛
US9939056B2 (en) Final drive system for a machine
CN201833862U (zh) 电动车电机与后驱动桥连接结构
GB2511085A (en) Electric drive system
US10919377B2 (en) Belt driven continuous variable transmission system for hybrid vehicles
WO2010150081A3 (en) Vehicular engine start control apparatus
KR101467106B1 (ko) 궤도차량용 조향장치의 시험 장치
TH86655A (th) ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อม
TH31739B (th) ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อม
KR20130005407A (ko) 전기자동차의 사륜구동전환장치
TH86655B (th) ยานพาหนะลูกผสมแบบนั่งคร่อม
KR101345856B1 (ko) Bldc모터를 이용한 부변속기의 유압제어장치
EP1988309A3 (en) Transmission apparatus for endotermic-driven machines
CN211231551U (zh) 一种变速发动机
JP3117210U (ja) 回転力発生器の発電装置