TH63643B - กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารกลั่นระยะกลางโดยไฮโดรไอโซเมอไรเซชันและไฮโดรแครกกิ้งของวัสดุป้อนซึ่งได้มาจากกรรมวิธี Fischer-Tropsch - Google Patents

กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารกลั่นระยะกลางโดยไฮโดรไอโซเมอไรเซชันและไฮโดรแครกกิ้งของวัสดุป้อนซึ่งได้มาจากกรรมวิธี Fischer-Tropsch

Info

Publication number
TH63643B
TH63643B TH401000192A TH0401000192A TH63643B TH 63643 B TH63643 B TH 63643B TH 401000192 A TH401000192 A TH 401000192A TH 0401000192 A TH0401000192 A TH 0401000192A TH 63643 B TH63643 B TH 63643B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
catalyst
hydrocracking
less
measured
medium
Prior art date
Application number
TH401000192A
Other languages
English (en)
Other versions
TH71817A (th
Inventor
เบนาซซี นายเอริค
เออซอง นายปาทริค
Original Assignee
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายบุญมา เตชะวณิช
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายบุญมา เตชะวณิช filed Critical นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
Publication of TH71817A publication Critical patent/TH71817A/th
Publication of TH63643B publication Critical patent/TH63643B/th

Links

Abstract

DC60 (16/04/47) การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับกรรมวิธีสำหรับเตรียมสารกลั่นระยะกลางจากวัสดุป้อนชนิด พาราฟิน (paraffinic feedstock) ที่ผลิตได้จากการสังเคราะห์แบบ Fischer-Tropsch โดยใช้ตัว เร่ง ปฏิกิริยาไฮโดรแครกกิ้ง (hydrocracking) /ไฮโดรไอโซเมอ ไรเซชัน (hydroisomerization) ซึ่งประกอบ รวมด้วยธาตุชนิด ไฮโดร-ดีไฮโดรจีเนตติ้งอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่เลือกมาจากกลุ่ม ที่เตรียมได้จากธาตุมี สกุลของหมู่ VIII ของตารางธาตุ, วัสดุรองรับแบบไม่ใช่ซีโอไลต์ชนิดฐานซิลิกา-อลูมินาที่มี ปริมาณ ของซิลิกา (SiO2) มากกว่า 5% โดยน้ำหนักและน้อยกว่าหรือ เท่ากับ 95% โดยน้ำหนัก เส้นผ่าศูนย์กลางของรูโดยเฉลี่ย ซึ่งวัดโดยเมอร์คิวรี่โพโรซิเมทรี (mercury porosimetry) ประกอบรวม อยู่ระหว่าง 20 และ 140 อังสตรอม ปริมาตร รูโดยรวม ซึ่งวัดโดยเมอร์คิวรี่โพโรซิเมทรี ประกอบรวมอยู่ ระหว่าง 0.1 มล./ก. และ 0.6 มล./ก., ปริมาตรของรูโดยรวม ซึ่งวัดโดยไนโตรเจนโพโรซิเมทรี ประกอบรวมอยู่ระหว่าง 0.1 มล./ก. และ 0.6 มล./ก. พื้นผิวจำเพาะ BET ประกอบรวมอยู่ ระหว่าง 100 และ 550 ตารางเมตร/ก., ปริมาตรของรูที่วัดโดยเมอร์ คิวรี่โพโรซิเมทรี ที่ประกอบรวมอยู่ในรูที่มี เส้นผ่าศูนย์ กลางใหญ่กว่า 140 อังสตรอม, น้อยกว่า 0.1 มล./ก., ปริมาตรของรู ซึ่งวัดโดยเมอร์คิวรี่โพโรซิเมทรี ที่ประกอบรวมอยู่ในรูที่ มีเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า 160 อังสตรอม, น้อยกว่า 0.1 มล./ก., ปริมาตรของรู ซึ่งวัด โดยเมอร์คิวรี่โพโรซิเมทรี ที่ประกอบรวมอยู่ในรูที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่กว่า 200 อังสตรอม, น้อยกว่า 0.01 มล./ก., ปริมาตรของรู ซึ่งวัดโดยเมอร์คิว รี่โพโรซิเมทรี ที่ประกอบรวมอยู่ในรูที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ใหญ่กว่า 500 อังสตรอม, น้อยกว่า 0.01 มล./ก. และแผนภาพการเลี้ยวเบน ของรังสีเอ็กซ์ (X-ray diffraction) ซึ่ง มีคุณลักษณะเฉพาะ ของไลน์ (lines) หลักอย่างน้อยของทรานสิชันอลูมินาอย่าง น้อยหนึ่งชนิดที่ ประกอบรวมอยู่ในกลุ่มที่ประกอบด้วย แอลฟา, โร, ไค, เอต้า, แกมมา, แคปป้า, เธต้าและเดลต้าอลูมินา

Claims (8)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------29/11/2560------(OCR) หน้า 6 ของจำนวน 6 หน้า นี้โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอไรเซชัน/ไฮโดรแครกอิงอยู่ เพื่อที่จะเปลี่ยน ส่วนที่มีจุดเดือดสูงดังกล่าวอย่างน้อย 40% ไปเป็นส่วนของไฮโดรคาร์บอนที่ สามารถกลั่นออกมาได้ที่อุณหภูมิตํ่ากว่า 370?ซ.; d) การแยกไฮโดรคาร์บอนอย่างน้อยหนึ่งส่วนออกจากผลิตภัณฑ์ที่เตรียมได้ในขั้นตอน (c) ซึ่งมีอุณหภูมิของการกลั่นอยู่ภายในช่วงของสารกลั่นระยะกลาง กรรมวิธีซึ่ง กรรมวิธีไฮโดรแครกอิ้งของขั้นตอน c) เป็นกรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 11 ข้อใดข้อหนึ่ง 1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรแครกกิ้ง/ ไฮโดรไอโซเมอไรเซชันนีมีพื้นฐานของแพลทินัม/พัลลาเดียม 1 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้ ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรแครกอิง/ ไฮโดรไอโซเมอไรเซชันนี้มีโลหะมีสกุลหมู่ VIII จาก 0.05 ถึง 10% โดยน้ำหนัก ------------ 1. กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารกลั่นระยะกลางจากวัสดุป้อนชนิดพาราฟินที่เตรียมได้จากการ สังเคราะห์แบบ Fischer-Tropsch โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรแครกกิ้ง/ไฮโดรไอโซเมอไรเซชันซึ่ง ประกอบรวมด้วย: - ธาตุชนิดไฮโดร-ดีไฮโดรจีเนตติ้งอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่เลือกมาจากกลุ่มที่เตรียมได้จากธาตุ มีสกุลหมู่ VIII ของตารางธาตุ - วัสดุรองรับชนิดฐานซิลิกา-อลูมินาแบบไม่ใช่ซีโอไลต์ที่มีปริมาณของซิลิกา(SiO2)มากกว่า 5% โดยน้ำหนักและน้อยกว่าหรือเท่ากับ 95% โดยน้ำหนัก - เส้นผ่าศูนย์กลางของรูโดยเฉลี่ย ซึ่งวัดโดยเมอร์คิวรี่โพโรซิเมทรี ประกอบรวมอยู่ระหว่าง 20 และ 140(สูตร) - ปริมาตรของรูโดยรวม ซึ่งวัดโดยเมอร์คิวรี่โพโรซิเมทรี ประกอบรวมอยู่ระหว่าง 0.1 มล./ก. และ 0.6 มล./ก. - ปริมาตรของรูโดยรวม ซึ่งวัดโดยไนโตรเจนโพโรซิเมทรีประกอบรวมอยู่ระหว่าง 0.1 มล./ก. และ 0.6 มล./ก. - พื้นผิวจำเพาะ BET ประกอบรวมอยู่ระหว่าง 100 และ 550 ม.2/ก. - ปริมาตรของรูที่วัดโดยเมอร์คิวรี่โพโรซิเมทรี ที่ประกอบรวมอยู่ในรูที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่ กว่า 140(สูตร),น้อยกว่า 0.1 มล./ก. - ปริมาตรของรู ซึ่งวัดโดยเมอร์คิวรี่โพโรซิเมทรี ที่ประกอบรวมอยู่ในรูที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ใหญ่กว่าํ 500(สูตร),น้อยกว่า 0.01 มล./ก. - แผนภาพการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ซึ่งมีคุณลักษณะเฉพาะของไลน์หลักอย่างน้อยของ ทรานสิชันอลูมินาอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่ประกอบรวมอยู่ในกลุ่มที่ประกอบด้วยแอลฟา,โร, ไค,เอต้า,แกมมา,แคปป้า,เธต้าและเดลต้าอลูมินา 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งมีสัดส่วนของอะตอม AlVl ออกตะฮีดรัลที่วัดโดยการ วิเคราะห์ของ MAS NMR สเปกตราของของแข็ง 27Al มากกว่า 50% 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 2 ข้อใดข้อหนึ่งที่ ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาซึ่งประกอบรวมด้วย ธาตุเจืออย่างน้อย หนึ่งธาตุที่เลือกมาจากกลุ่มที่ประกอบด้วยฟอสฟอรัส, โบรอน และซิลิคอนและตก สะสมอยู่บนตัวเร่งปฏิกิริยานี้ 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้ซึ่ง ตัวเร่งปฏิกิริยานี้มีปริมาณแคทไอออน ปนเปื้อนน้อยกว่า 0.1% โดยน้ำหนัก 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้ซึ่งตัว เร่งปฏิกิริยานี้มีปริมาณแอนไอออน ปนเปื้อนน้อยกว่า 0.5% โดยน้ำหนัก 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้ซึ่ง ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาในลักษณะที่ แผนภาพการเลี้ยวเบนของรังสี เอ็กซ์ของวัสดุรองรับนี้มีคุณลักษณะเฉพาะของไลน์หลักอย่าง น้อย ของทรานสิชันอลูมินาอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่ประกอบรวม อยู่ในกลุ่มที่ประกอบด้วเอต้า,เธต้า,เดลต้า และแกมมาอลูมิ นา 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้ซึ่งใช้ ตัวเร่งปฏิกิริยาในลักษณะที่ แผนภาพการเลี้ยวเบนของรังสี เอ็กซ์ของวัสดุรองรับนี้มีคุณลักษณะเฉพาะของไลน์หลักอย่าง น้อย ของทรานสิชันอลูมินาอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่ประกอบรวม อยู่ในกลุ่มที่ประกอบด้วยเอต้าและ แกมมาอลูมินา 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้ซึ่ง ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาในลักษณะที่ : - อัตราส่วนระหว่างปริมาตร V2, ที่วัดโยเมอร์คิวรี่โพโรซิเมทรี ซึ่งประกอบรวมอยู่ระหว่าง D average-30 A ํ และ D average + 30 A ํ ต่อปริมาตรของเมอร์คิวรี่ทั้งหมดเท่ากับ 0.6 - ปริมาตร V3 ซึ่งวัดโดยเมอร์คิวรี่โพโรซีเมทรี ที่ประกอบรวมอยู่ในรูซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง มากกว่า D average + 30 A ํ, น้อยกว่า 0.1 มล./ก. - ปริมาตร V6 ซึ่งวัดโดยเมอร์คิวรี่โพโรซีเมทรี ที่ประกอบรวมอยู่ในรูซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง มากกว่า D average + 15 A ํ, น้อยกว่า 0.2 มล./ก. 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้ ใน ลักษณะที่เส้นผ่าศูนย์กลางของรูโดย เฉลี่ยของตัวเร่ง ปฏิกิริยานี้ประกอบรวมอยู่ระหว่าง 40 และ 120 A ํ 1 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้ ใน ลักษณะที่ความหนาแน่นของการ บรรจุแบบอัดแน่นของตัวเร่ง ปฏิกิริยานี้มีค่ามากกว่า 0.85 ก./ซม3. 1
1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้ ใน ลักษณะที่สภาพความเป็นกรดของ วัสดุรองรับตัวเร่งปฏิกิริยา นี้ซึ่งวัดโดยการตรวจวัด IR ของการคายด้วยความร้อนของไพริ ดีนเป็นใน ลักษณะที่อัตราส่วน B/L (อัตราส่วนของจำนวน ตำแหน่ง Bronsted/จำนวนตำแหน่ง Lewis) ประกอบ รวมอยู่ ระหว่าง 0.05 และ 1 1
2. กรรมวิธีสำหรับผลิตสารกลั่นระยะกลางจากวัสดุป้อนชนิด พาราฟินที่ผลิตได้จากการ สังเคราะห์แบบ Fischer-Tropsch ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอนต่อเนื่องตามลำดับดังต่อไปนี้: การแยก ส่วน "หนัก" แบบเดี่ยวที่มีจุดเดือดเริ่มต้นประกอบ รวมอยู่ระหว่าง 120 และ 200 ํซ. a) ไฮโดรทรีทเมนท์ของส่วนหนักดังกล่าวอย่างน้อยบางส่วน b) การแยกลำดับส่วนเป็นอย่างน้อยสามส่วน : ส่วนระหว่าง กลางอย่างน้อยหนึ่งส่วนซึ่ง มีจุดเดือดเริ่มต้น T1 ประกอบ รวมอยู่ระหว่าง 120 และ 200 ํซ. และจุดเดือดสุด ท้าย T2 มากกว่า 300 ํซ. และน้อยกว่า 410 ํซ. ส่วนเบาอย่างน้อยหนึ่งส่วนซึ่งเดือดที่ ต่ำกว่า ส่วนระหว่างกลาง, ส่วนหนักอย่างน้อยหนึ่งส่วนซึ่งเดือดที่ สูงกว่าส่วน ระหว่างกลาง c) การผ่านส่วนระหว่างกลางดังกล่าวอย่างน้อยบางส่วนเข้าไป ในกรรมวิธีตาม ข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 11 ข้อใดข้อหนึ่งบนตัว เร่งปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอไรเซชัน/ ไฮโดรแครกกิ้งแบบไม่ใช่ ซีโอไลต์ d) การผ่านส่วนหนักดังกล่าวอย่างน้อยบางส่วน เข้าไปในกรรม วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 9 ข้อใดข้อหนึ่งบนตัวเร่ง ปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอไรเซชัน/ไฮโดรแครกกิ้งแบบ ไม่ใช่ซี โอไลต์ e) การกลั่นส่วนที่ทำไฮโดรแครก/ไฮโดรไอโซเมอไรซ์มาแล้ว เพื่อเตรียมสารกลั่นระยะ กลาง และนำส่วนตกค้างซึ่งเดือดที่ สูงกว่าสารกลั่นระยะกลางดังกล่าวกลับมาใช้ใหม่ ในขั้นตอน (e) บนตัวเร่งปฏิกิริยาที่ทำกรรมวิธีกับส่วนหนัก 1
3. กรรมวิธีสำหรับผลิตสารกลั่นระยะกลางจากวัสดุป้อนชนิด พาราฟินที่ผลิตได้จากการ สังเคราะห์แบบ Fischer-Tropsch ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอนต่อเนื่องตามลำดับดังต่อไปนี้ : a) การแยกส่วนเบาอย่างน้อยหนึ่งส่วนจากวัสดุป้อนนี้เพื่อ ให้ได้ส่วน "หนัก" แบบเดี่ยว ที่มีจุดเดือดเริ่มต้นประกอบรวม อยู่ระหว่าง 120 และ 200 ํซ. b) อาจเลือกทำไฮโดรทรีทเมนท์ของส่วนหนักดังกล่าว โดยอาจ เลือกให้ตามมาด้วย ขั้นตอน c) ของการแยกน้ำออกอย่างน้อยบางส่วน d) การผ่านส่วนดังกล่าวอย่างน้อยบางส่วนที่อาจเลือกให้ถูก ไฮโดรทรีทเข้าไปใน กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 11 ข้อ ใดข้อหนึ่ง การเปลี่ยนแปลงบนตัวเร่ง ปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอ ไรเซชัน/ไฮโดรแครกกิ้งของผลิตภัณฑ์ที่มีจุดเดือนสูงกว่า หรือเท่ากับ 370 ํซ. ไปเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีจุด เดือดต่ำกว่า 370 ํซ. มีค่ามากกว่า 80% โดยน้ำ หนัก e) การกลั่นส่วนที่ผ่านการทำไฮโดรแครก/ไฮโดรไอโซเมอไรซ์ เพื่อให้ได้สารกลั่นระยะ กลาง และนำกลับมาใช้ใหม่ในขั้นตอน (d) ของส่วนตกค้างที่เดือดที่สูงกว่าสารกลั่น ระยะกลางดัง กล่าว 1
4. กรรมวิธีสำหรับผลิตสารกลั่นระยะกลางจากวัสดุป้อนชนิดพา ราฟินที่ผลิตได้จากการ สังเคราะห์แบบ Fischer-Tropsch ซึ่ง ประกอบรวมด้วยขั้นตอนต่อเนื่องตามลำดับดังต่อไปนี้ : a) การแยกลำดับส่วน (ขั้นตอน a) วัสดุป้อนเป็นอย่างน้อย 3 ส่วน : - ส่วนระหว่างกลางอย่างน้อยหนึ่งส่วนซึ่งมีจุดเดือดเริ่ม ต้น T1 ประกอบรวมอยู่ ระหว่าง 120 และ 200 ํซ. และ จุดเดือดสุดท้าย T2 มากกว่า 300 ํซ. และน้อยกว่า 410 ํซ. - ส่วนเบาอย่างน้อยหนึ่งส่วนซึ่งเดือดที่ต่ำกว่าส่วน ระหว่างกลาง - ส่วนหนักอย่างน้อยหนึ่งส่วนซึ่งเดือดที่สูงกว่าส่วน ระหว่างกลาง b) ไฮโดรทรีทเมนท์ (ขั้นตอน b) ของส่วนระหว่าง กลางดังกล่าวอย่างน้อยบางส่วน จากนั้นทำการผ่าน (ขั้นตอน d) เข้าไปในกรรมวิธีของการทำทรีทเมนท์ของส่วนที่ทำไฮโดรทรีท แล้ว อย่างน้อยบางส่วนบนตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอไรเซ ชัน/ไฮโดรแครกกิ้ง f) การผ่าน (ขั้นตอน f) เข้าไปในกรรมวิธีของการทำทรีทเ มนท์ของส่วนหนักดังกล่าว อย่างน้อยบางส่วนบนตัวเร่ง ปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอไรเซชัน/ไฮโดรแครกกิ้ง โดยมีการ เปลี่ยนแปลง ของผลิตภัณฑ์ที่มีจุดเดือดสูงกว่าหรือเท่ากับ 370 ํซ. ไปเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีจุดเดือดต่ำกว่า 370 ํซ., มากกว่า 80% โดยน้ำหนัก e และ g) การกลั่น (ข้นตอน e และ g ) ส่วนที่ทำไฮโดร แครก/ไฮโดรไอโซเมอไรซ์แล้ว อย่างน้อยบางส่วนเพื่อให้ได้สาร กลั่นระยะกลาง และกรรมวิธีการทำทรีทเมนท์ดังกล่าวอย่างน้อยหนึ่งอย่าง เป็นกรรมวิธีตามตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 11 ข้อใดข้อหนึ่ง 1
5. กรรมวิธีสำหรับผลิตสารกลั่นระยะกลางจากวัสดุป้อนชนิด พาราฟินที่ผลิตได้จากการ สังเคราะห์แบบ Fischer-Tropsch ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอนต่อเนื่องตามลำดับดังต่อไปนี้ : a) การแยกลำดับส่วนของวัสดุป้อนที่อาจเลือกใช้ให้เป็นส่วน หนักอย่างน้อยหนึ่งส่วนที่ มีจุดเดือดเริ่มต้นประกอบรวมอยู่ ระหว่าง 120 และ 200 ํซ. และส่วนเบาอย่างน้อย หนึ่งส่วนที่เดือดต่ำกว่าส่วนหนักดังกล่าว b) อาจเลือกทำไฮโดรทรีทเมนท์กับอย่างน้อยบางส่วนของวัสดุ ป้อนหรือของส่วนหนัก นี้ โดยอาจเลือกให้ตามมาด้วยขั้นตอน c) c) การแยกน้ำออกอย่างน้อยบางส่วน d) การผ่านน้ำทิ้งหรือส่วนที่อาจเลือกให้ถูกไฮโดรทรีทอ ย่างน้อยบางส่วนเข้าไปใน กรรมวิธีทรีทเมนท์บนตัวเร่ง ปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอไรเซชัน/ไฮโดรแครกกิ้งชนิด แรกที่มี โลหะมีสกุลของหมู่ VII I อย่างน้อยหนึ่งธาตุ e) การกลั่นน้ำทิ้งที่ผ่านการทำไฮโดรไอโซเมอไรซ์/ไฮโดรแครก แล้วเพื่อให้ได้สารกลั่น ระยะกลาง (น้ำมันก๊าด, น้ำมัน ดีเซล) และส่วนตกค้างที่เดือดที่สูงกว่าสารกลั่นระยะ กลาง f) การผ่านเข้าไปในกรรมวิธีทรีทเมนท์ของอย่างน้อยบางส่วน ของส่วนหนักตกค้าง ดังกล่าวและ/หรือบางส่วนของสารกลั่นระยะ กลางดังกล่าว บนตัวเร่งปฏิกิริยา ไฮโดรไอโซเมอไรเซขัน/ไฮโดร แครกกิ้งชนิดที่สองที่มีโลหะมีสกุลของหมู่ VIII อย่างน้อย หนึ่งธาตุ และการกลั่นน้ำทิ้งที่เกิดขึ้นนี้เพื่อให้ได้สาร กลั่นระยะกลาง และ กรรมวิธีทรีทเมนท์ดังกล่าวอย่างน้อยหนึ่ง อย่างเป็นกรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 11 ข้อใดข้อ หนึ่ง 1
6. กรรมวิธีสำหรับผลิตสารกลั่นระยะกลางจากวัสดุป้อนชนิด พาราฟินที่ผลิตได้จากการ สังเคราะห์แบบ Fischer-Tropsch ซึ่ง ประกอบรวมด้วยขั้นตอนต่อเนื่องตามลำดับดังต่อไปนี้ : a) การแยกวัสดุป้อนนี้ไปเป็นอย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มี อุณหภูมิในการเดือดต่ำ (B) ซึ่งมี สารประกอบออกซิเจนเนตเตด มากกว่า และอย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีอุณหภูมิของการ เดือดสูง (A) ซึ่งมีสารประกอบออกซิเจนเนตเตดน้อยกว่า b) การให้ส่วนดังกล่าว (B) ผ่านกรรมวิธีไฮโดรจีเนตติ้งภาย ใต้สภาวะธรรมชาติเพื่อ หลีกเลี่ยงความผันแปรส่วนใหญ่ของน้ำ หนักโมเลกุลเฉลี่ยของสารนี้เพื่อที่จะเตรียม ของผสมชนิด ไฮโดรจีเนตเตดของไฮโดรคาร์บอนชนิดนอน-ออกซิเจนเนตเตดเป็น ส่วนใหญ่ c) การผสมรวมใหม่อีกครั้งของอย่างน้อยบางส่วนของของผสม ชนิดไฮโดรจีเนตเตด ดังกล่าวตามขั้นตอน (b) กับส่วนดังกล่าว (A) เพื่อเตรียมของผสม (C) ของ ไฮโดรคาร์บอนชนิดโซ่ตรงที่มี ปริมาณของไฮโดรคาร์บอนชนิดออกซิเจนเนตเตด ลดลงและการให้ของ ผสมดังกล่าว (C) ผ่านกรรมวิธีไฮโดรแครกกิ้งตามการประดิษฐ์ นี้โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรไอโซเมอไรเซชัน/ไฮโดแครกกิ้ งอยู่ เพื่อที่จะเปลี่ยน ส่วนที่มีจุดเดือดสูงดังกล่าวอย่าง น้อย 40% ไปเป็นส่วนของไฮโดรคาร์บอนที่ สามารถกลั่นออกมาได้ ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 370 ํซ.; d) การแยกไฮโดรคาร์บอนอย่างน้อยหนึ่งส่วนออกจากผลิตภัณฑ์ ที่เตรียมได้ในขั้นตอน (c) ซึ่งมีอุณหภูมิของการกลั่นอยู่ ภายในช่วงของสารกลั่นระยะกลาง กรรมวิธีซึ่ง กรรมวิธีไฮโดรแค รกกิ้งของขั้นตอน c) เป็นกรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 11 ข้อใดข้อหนึ่ง 1
7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้ ซึ่ง ตัวเร่งปฏิกิริยาไฮโดรแครกกิ้ง/ ไฮโดรไอโซเมอไรเซชันนี้มี พื้นฐานของแพลทินัม/พัลลาเดียม 1
8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้านี้ ซึ่งตัว เร่งปฏิกิริยาไฮโดรแครกกิ้ง/ ไฮโดรไอโซเมอไรเซชันนี้มีโลหะมี สกุลหมู่ VIII จาก 0.05 ถึง 10%
TH401000192A 2004-01-23 กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารกลั่นระยะกลางโดยไฮโดรไอโซเมอไรเซชันและไฮโดรแครกกิ้งของวัสดุป้อนซึ่งได้มาจากกรรมวิธี Fischer-Tropsch TH63643B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH71817A TH71817A (th) 2005-11-07
TH63643B true TH63643B (th) 2018-07-12

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
RU2005127078A (ru) Способ получения средних дистилляторов гидроизомеризацией и гидрокрекингом загрузок, полученных по способу фишера-тропша
US20060016722A1 (en) Synthetic hydrocarbon products
US20020189972A1 (en) Flexible method for producing oil bases with a zsm-48 zeolite
US7345211B2 (en) Synthetic hydrocarbon products
EP3071673B1 (en) Use of a low-sulphur blended feed in a process for the production of hydrocarbon fluids having a low aromatic and sulfur content
US9453169B2 (en) Process for converting fischer-tropsch liquids and waxes into lubricant base stock and/or transportation fuels
CN103773450B (zh) 一种加工劣质原料的加氢裂化方法
US20050145544A1 (en) Methods for treating organic compounds and treated organic compounds
AU2005318135B2 (en) Process to prepare two iso paraffinic products from a Fisher-Tropsch derived feed
US20150322351A1 (en) Integrated gas-to-liquid condensate process
CN103773473A (zh) 一种生产优质喷气燃料的两段加氢裂化方法
US20240309281A1 (en) Method of treating waste plastic
AU2005305799B2 (en) Process to prepare a gas oil
TH63643B (th) กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารกลั่นระยะกลางโดยไฮโดรไอโซเมอไรเซชันและไฮโดรแครกกิ้งของวัสดุป้อนซึ่งได้มาจากกรรมวิธี Fischer-Tropsch
TH71817A (th) กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารกลั่นระยะกลางโดยไฮโดรไอโซเมอไรเซชันและไฮโดรแครกกิ้งของวัสดุป้อนซึ่งได้มาจากกรรมวิธี Fischer-Tropsch
CN103773463A (zh) 一种两段加氢裂化方法
WO2014095815A1 (en) Integrated gas-to-liquid condensate process
WO2012133326A1 (ja) 灯油基材の製造方法及び灯油基材
WO2013087942A1 (en) Integrated gas-to-liquid condensate process and apparatus
JP4543033B2 (ja) 低級オレフィンの調製のため使用可能な供給原料の調製方法および組成
EP3298109A1 (en) Process for the production of biodegradable hydrocarbon fluids based on syngas
CA2981556A1 (en) A method for producing oil-based components
EP3565875B1 (en) Dewaxing and dearomatization process of hydrocarbon in a slurry reactor
WO2024003469A1 (en) A process for producing a liquid transportation fuel component