TH62977A - วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ - Google Patents

วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์

Info

Publication number
TH62977A
TH62977A TH201000592A TH0201000592A TH62977A TH 62977 A TH62977 A TH 62977A TH 201000592 A TH201000592 A TH 201000592A TH 0201000592 A TH0201000592 A TH 0201000592A TH 62977 A TH62977 A TH 62977A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
phosphate
chemical
ions
conditioning
electrolyte
Prior art date
Application number
TH201000592A
Other languages
English (en)
Other versions
TH49125B (th
Inventor
มัทสึดะ นายชิเกกิ
นิชิยะ นายชิน
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางสาวสนธยา สังขพงศ์ filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH62977A publication Critical patent/TH62977A/th
Publication of TH49125B publication Critical patent/TH49125B/th

Links

Abstract

DC60 (25/03/45) วัตถุประสงค์ของการประดิษฐ์นี้คือการจัดเตรียมวิธีการปรับสภาพทางเคมีของ ฟอสเฟตที่เป็นอิเล็กโทรไลต์ที่สามารถปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำปฏิกริยาบนพื้นผิวของโลหะ (ส่วนต่อประสาน) ให้ดีขึ้นได้โดยการป้องกันไม่ให้เกิดปฏิกริยาในวัฏภาคที่เป็นสารละลายเพื่อจะ ได้ป้องกันการก่อตัวของตะกอนในระหว่างการปรับสภาพอย่างต่อเนื่องได้ในลักษณะที่เชื่อถือได้. การประดิษฐ์นี้จะเกี่ยวข้องกับวิธีการทำให้เกิดเยื่อที่ประกอบด้วยสารประกอบ ของฟอสเฟตและโลหะที่ถูกรีดิวซ์และถูกทำให้ตกตะกอนจากสภาพที่เป็นไอออนลงบนพื้นผิวของ วัตถุที่เป็นโลหะที่จะนำมาปรับสภาพโดยการปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์บนวัตถุที่จะถูกนำมา ปรับสภาพดังกล่าวในน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตโดยการทำให้วัสดุที่เป็นโลหะดังกล่าว ซึ่งมีสภาพการนำไฟฟ้ามาสัมผัสกับน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวซึ่งมีไอออนของ ฟอสเฟตและกรดฟอสฟอริก, ไอออนของไนเตรต, ไอออนของโลหะที่ทำให้เกิดสารประกอบ เชิงซ้อนกับไอออนของฟอสเฟตในน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวและไอออนของ โลหะซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าของความสมดุลในการละลาย-การตกตะกอนซึ่งไอออนที่ละลายอยู่ในน้ำยา ปรับ สภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวถูกรีดิวซ์และถูกทำให้ตกตะกอนเป็นโลหะที่มีค่าเท่ากับ หรือมากกว่า -830 mV ซึ่งเป็นศักย์ในการย่อยสลายจากการทำปฏิกริยาของแคโทดของตัว ทำละลายในรูปของน้ำเมื่อถูกแสดงออกมาเป็นศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรดมาตรฐานที่เป็น ไฮโดรเจนและโดยส่วนใหญ่แล้วจะไม่มีไอออนของโลหะนอกเหนือไปจากที่เป็นส่วนประกอบของ เยื่อดังกล่าวโดยที่ ORP (ศักย์ไฟฟ้าของออกซิเดชัน-รีดักชัน) ของน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของ ฟอสเฟตดังกล่าว (ตามที่แสดงออกมาเป็นศักย์ที่สัมพันธ์กับอิเล็กโทรดที่เป็นไฮโดรเจนมาตรฐาน) จะถูกคงไว้ให้มีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 700 mV. วัตถุประสงค์ของการประดิษฐ์นี้คือการจัดเตรียมวิธีการปรับสภาพทางเคมีของ ฟอสเฟตที่เป็นอิเล็กโทรไลต์ที่สามารถปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำปฏิกิริยาบนพื้นผิวของโลหะ (ส่วนต่อประสาน) ให้ดีขึ้นได้โดยการป้องกันไม่ให้เกิดปฏิกริยาในวัฏภาคที่เป็นสารละลายเพื่อจะ ได้ป้องกันการก่อตัวของตะกอนในระหว่างการปรับสภาพอย่างต่อเนื่องได้ในลักษณะที่เชื่อถือได้. การประดิษฐ์นี้จะเกี่ยวข้องกับวิธีการทำให้เกิดเยื่อที่ประกอบด้วยสารประกอบ ของฟอสเฟตและโลหะที่ถูกรีดิวซ์และถูกทำให้ตกตะกอนจากสภาพที่เป็นไอออนลงบนพื้นผิวของ วัตถุที่เป็นโลหะที่จะนำมาปรับสภาพโดยการปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์บนวัตถุที่จะถูกนำมา ปรับสภาพดังกล่าวในน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตโดยการทำให้วัสดุที่เป็นโลหะดังกล่าว ซึ่งมีสภาพการนำไฟฟ้ามาสัมผัสกับน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวซึ่งมีไอออนของ ฟอสเฟตและกรดฟอสฟอริก, ไอออนของไนเตรด, ไอออนของโลหะที่ทำให้เกิดสารประกอบ เชิงซ้อนกับไอออนของฟอสเฟตในน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟดดังกล่าวและไอ ออนของ โลหะซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าของความสมดุลในการละลาย-การตกตะกอนซึ่งไอออนที่ละลายอยู่ในน้ำยาปรับ สภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวถูกรีดิวซ์และถูกทำให้ตกตะกอนเป็นโลหะที่มีค่าเท่ากับ หรือมากว่า -830 mV ซึ่งเป็นศักย์ในการย่อยสลายจากการทำปฏิกริยาของแคโทดของตัว ทำละลายในรูปของน้ำเมื่อถูกแสดงออกมาเป็นศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรดมาตรฐานที่เป็น ไฮโดรเจนและโดยส่วนใหญ่แล้วจะไม่มีไอออนของโลหะนอกเหนือไปจากที่เป็นส่วนปรกอบของ เยื่อดังกล่าวโดยที่ ORP (ศักย์ไฟฟ้าของออกซิเดชัน-รีดักชัน) ของน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของ ฟอสเฟดดังกล่าว (ตามที่แสดงออกมาเป็นศักย์ที่สัมพันธ์กับอิเล็กโทรดที่เป็นไฮโดรเจนมาตรฐาน) จะถูกคงไว้ให้มีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 700 mV.

Claims (5)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 26/01/2559 1. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลด์ของการทำให้เกิดเยื่อที่ประกอบด้วย สารประกอบของฟอสเฟตและโลหะที่ถูกรีดิวซ์และถูกทำให้ตกตะกอนจากสภาพที่เป็นไอออนลงบนพื้นผิว ของวัตถุที่เป็นโลหะที่จะนำปรับสภาพโดยการปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์บนวัตถุที่จะถูกนำมาปรับสภาพ ดังกล่าวในนํ้ายาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตโดยการทำใหัวัสดุที่เป็นโลหะดังกล่าว ซึ่งมีสภาพการนำ ไฟฟ้ามาสัมผัสกับนํ้ายาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวซึ่งมีไอออนของฟอสเฟตและกรดฟอสฟอ ริก, ไอออนของไนเตรต, ไอออนของโลหะที่ทำให้เกิดสารประกอบเชิงซ้อนกับไอออนของฟอสเฟตในนํ้ายา ปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวและไอออนของโลหะซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าของความสมดุลในการละลาย- การตกตะกอนซึ่งไอออนที่ละลายอยู่ในนํ้ายาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวถูกรีดิวซ์และถูกทำให้ ตกตะกอนเป็นโลหะที่มีค่าเท่ากับหรือมากกว่า -830 mV ซึ่งเป็นศักย์ในการย่อยสลายจากการทำปฏิกิริยา ของแคโทดของตัวทำละลายในรูปของนํ้าเมื่อถูกแสดงออกมาเป็นศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรดมาตรฐานทีเป็น ไฮโดรเจนและโดยส่วนใหญ่แล้วจะไม่มีไอออนของโลหะนอกเหนือไปจากที่เป็นส่วนประกอบของเยื่อดังกล่าว โดยที่ (a) วัสดุที่จะถูกนำมาปรับสภาพเป็นวัสดุที่เป็นเหล็กกล้า และ/หรือ อิเล็กโทรดซึ่งละลายอยู่ในนํ้ายา ปรับสภาพเป็นอิเล็กโทรดที่เป็น Fe (b) ปริมาณของไอออนของ Fe จากวัสดุที่จะถูกนำมาปรับสภาพและ/หรือ อิเล็กโทรดที่เป็น Fe ใน นํ้ายาปรับสภาพจะถูกควบคุม ; และ/หรือปริมาณของสารเคมีสำหรับเติมลงไป ซึ่งประกอบด้วยสารประกอบ เชิงซ้อนของ Fe-ฟอสเฟตจะถูกควบคุม ; และกลไกแยกก๊าซ NO2, N2O4 และ/หรือ NO ที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยา รีดักชันของไอออนของไนเตรทในนํ้ายาปรับสภาพจะถูกจัดไว้ ดังนั้น ORP (ศักย์ไฟฟ้าของออกซิเดชัน-รีดักชัน) ของนํ้ายาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟต ดังกล่าว (ตามที่แสดงออกมาเป็นศักย์ที่สัมพ้นธ์กับอิเล็กโทรดที่เป็นไฮโดรเจนมาตรฐาน) จะถูกคงไว้ที่ 770 mV ถึง 960 mV 2. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่สำหรับวัสดุที่ นำมาเป็นอิเล็กโทรดที่ละลายอยู่ในนํ้ายาปรับสภาพนั้น ในสักษณะที่พึงประสงค์แล้ว การปรับสภาพด้วยอิ เล็กโทรไลค์ดังกล่าวจะใช้โลหะที่ทำให้เกิดสารประกอบเชิงซ้อนขึ้นมาพร้อมกับกรดฟอสฟอริกและไอออน ของฟอสเฟตในนํ้ายาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตและ/หรือวัสดุที่เป็นโลหะซึ่งศักย์ไฟฟ้าของความสมดุล ในการละลาย-การตกตะกอนซึ่งไอออนที่ละลายอยู่ในนํ้ายาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวจะถูก รีดิวซ์และตกตะกอนเป็นโลหะที่มีค่าเท่ากับหรือมากกว่า -830 mV ซึ่งเป็นศักย์ไฟฟ้าในการย่อยสลายจาก การทำปฏิกิริยาของแคโทดของตัวทำละลายในรูปของนํ้าเมื่อถูกแสดงออกมาเป็นศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรด มาตรฐานที่เป็นไฮโดรเจนและวัสดุที่เป็นโลหะที่ไม่สามารถละลายได้ในระหว่างการแยกธาตุด้วยไฟฟ้า 3. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 โดยที่ปริมาณ ไอออนของ Fe ที่ละลายเข้าไปในนํ้ายาปรับสภาพจากอิเล็กโทรดที่เป็น Fe เมื่อทำการปรับสภาพของแคโทด ของวัตถุที่จะนำมาปรับสภาพดังกล่าว และในกรณีที่นำอิเล็กโทรดที่เป็น Fe มาใช้เป็นอิเล็กโทรดที่ละลายใน นํ้ายาปรับสภาพจะถูกควบคุมไว้เพื่อให้ ORP ในข้างต้นของนํ้ายาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตมีค่า เท่ากับ 770 mV - 960 mV 4. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 โดยในกรณีที่ วัตถุที่จะนำมาปรับสภาพเป็นวัสดุที่เป็นเหล็กกล้านั้น ปริมาณไอออนของ Fe ที่ละลายเข้าไปในนํ้ายาปรับ สภาพในการปรับสภาพของแอโนดซึ่งวัสดุที่เป็นเหล็กกล้าในรูปของวัตถุที่จะนำมาปรับสภาพดังกล่าวจะถูก ละลายในฐานะเป็นแอโนดและปริมาณไอออนของ Fe ที่ละลายในน้ำยาปรับสภาพจากอิเล็กโทรดที่เป็น Fe ในการปรับสภาพของแคโทดจะถูกควบคุมไว้เพื่อให้ ORP ของนํ้ายาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตมีค่า เท่ากับ 770 mV - 960 mV 5. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่อิเล็กโทรดที่ใช้ในการแยกธาตุด้วยไฟฟ้าเพื่อให้ ORP ของนํ้ายาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตมีค่า เท่ากับ 770 mV - 960 mV นั้น คือวัสดุที่เป็นโลหะที่ไม่ละลาย 6. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 5 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ไอออนของโลหะที่ก่อตัวเป็นสารประกอบเชิงซ้อนพร้อมด้วยกรดฟอสฟอริกและไอออนของฟอสเฟตใน นํ้ายาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตคือไอออนของธาตุต่อไปนี้อย่างน้อยหนึ่งชนิดคือ Zn, Fe, Mn หรือ Ca 7. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 6 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ก๊าซ NO, NO2 และ/หรือ N2O4 ที่เกิดขึ้นและถูกละลายในถังปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์จะถูกขจัด ออกไปจากนํ้ายาปรับสภาพดังกล่าวโดยการแบ่งถังปรับสภาพออกเป็นถังปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์ ที่ทำ การปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์ละถังเสริมที่ไม่ทำการปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์, ท่าการหมุนเวียน นํ้ายาปรับสภาพระหว่างถังทั้งสองและจัดเตรียมกลไกที่จะเปิดของเหลวสำหรับปรับสภาพออกสู่บรรยากาศ ที่อยู่ระหว่างถังทั้งสองตามที่ได้กล่าวถึงไปในข้างต้นหรือบรรยากาศภายในถังทั้งสองซึ่งเป็นวิถีทางในการ แยกก๊าซ NO2, N2O4 และ/หรือ NO ที่เกิดขึ้นในนํ้ายาปรับสภาพที่เกิดขึ้นพร้อมรับการปรับสภาพด้วยอิเล็ก โทรไลต์จากนํ้ายาปรับสภาพดังกล่าว 8. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตามข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่ถังเสริมที่ไม่ได้ ทำการปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์นั้น จะมีกลไกที่ของเหลวสำหรับปรับสภาพจะถูกส่งผ่านโครงสร้างที่เป็น ของแข็งซึ่งลามารถซึมผ่านได้ 9. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตามข้อถือสิทธิที่ 8 โดยที่โครงสร้างที่เป็น ของแข็งดังกล่าวคือเยื่อ 1 0. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตามข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่เครื่องกรองที่มี กลไกที่จะกรองของเหลวสำหรับปรับสภาพจะถูกนำมาใช้กับถังเสริมที่ไม่ทำการปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์ 1 1. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตามข้อถือสิทธิที่ 7 ถึง 10 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ มีวงจรในการหมุนเวียนของเหลวที่จะนำส่วนหนึ่งของของเหลวสำหรับการปรับสภาพในตำแหน่งหนึ่ง ก่อนที่ จะถูกนำเข้าไปในวัสดุที่ใช้เป็นตัวกรองที่อยู่ในเครื่องกรองออกไป จากนั้นก็เปิดของเหลวสำหรับการปรับ สภาพที่ถูกนำออกมาดังกล่าวให้อยู่ในบรรยากาศและส่งของเหลวดังกล่าวกลับไปยังถังปรับสภาพด้วยอิเล็ก โทรไลต์หลังจากขจัดก๊าซต่างๆ ในรูปของไนโตรเจนออกไซด์ที่ปรากฏอยู่ในของเหลวสำหรับการปรับสภาพ ออกไปแล้ว 1 2. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลด์ตามข้อถือสิทธิที่ 7 ถึง 11 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ ORP ของนํ้ายาปรับสภาพมีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 840 mV 1 3. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลด์ตามข้อถีอสิทธิที่ 7 ถึง 12 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่นํ้ายาปรับสภาพจะถูกรักษาสภาพให้คงที่ไว้โดยการวัดค่า ORP ในข้างต้นของนํ้ายาปรับสภาพและ การเปลี่ยนแปลงปริมาณและ/หรือส่วนประกอบของสารเคมีสำหรับเติมลงไปซึ่งสอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงค่าดังกล่าว ----------------------------------------- 1. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลด์ของการทำให้เกิดเยื่อที่ ประกอบด้วยสารประกอบของฟอสเฟตและโลหะ ที่ถูกรีดิวซ์และถูกทำให้ตกตะกอนจากสภาพที่เป็น ไอออนลงบน พื้นผิวของวัตถุที่เป็นโลหะที่จะนำมาปรับสภาพโดยการปรับ สภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์บน วัตถุที่จะถูกนำมาปรับสภาพดังกล่าว ในน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตโดยการทำให้วัสดุที่เป็น โลหะดังกล่าวซึ่งมีสภาพการนำไฟฟ้ามาสัมผัสกับน้ำยาปรับสภาพ ทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวซึ่งมี ไอออนของฟอสเฟตและกรดฟอสฟ อริก, ไอออนของไนเตรต, ไอออนของโลหะที่ทให้เกิดสารประกอบ เชิงซ้อนกับไอออนของฟอสเฟตในน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟต ดังกล่าวและไอออนของ โลหะซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าของความสมดุล ในการละลาย-การตกตะกอนซึ่งไออนที่ละลายอยู่ในน้ำยาปรับ สภาพ ทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวถูกรีดิวซ์และถูกทำให้ตกตะกอนเป็น โลหะที่มีค่าเท่ากับหรือมาก กว่า -830 mV ซึ่งเป็นศักย์ในการ ย่อยสลายจากการทำปฏิกริยาของแคโทดของตัวทำละลายในรูป ของน้ำ เมื่อถูกแสดงออกมาเป็นศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรดมาตรฐานที่ เป็นไฮโดรเจนและโดยส่วนใหญ่ แล้วจะไม่มีไอออนของโลหะนอก เหนือไปจากที่เป็นส่วนประกอบของเยื่อดังกล่าวโดยที่ ORP (ศักย์ไฟฟ้าของออกซิเดซัน-รีดักซัน) ของน้ำยาปรับสภาพ ทางเคมีของ ฟอสเฟตดังกล่าว (ตามที่แสดงออกมาเป็นศักย์ที่ สัมพันธ์กับอิเล็กโทรดที่เป็นไฮโดรเจนมาตรฐาน) จะ ถูกคงไว้ ให้มีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 700 mV. 2. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่สำหรับวัสดุที่นำมาเป็นอิเล็กโทรด ที่ละลายอยู่ในน้ำยาปรับสภาพนั้น ในลักษณะที่พึงประสงค์ แล้ว การปรับสภาพ้ดวยอิเล็กโทรไลต์ดังกล่าวจะใช้โลหะที่ทำ ให้เกิดสารประกอบเชิงซ้อนขึ้นมาพร้อม กับกรดฟอสฟอริกและ ไอออนของฟอสเฟตในน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตและ/หรือ วัสดุที่ เป็นโลหะซึ่งศักย์ไฟฟ้าของความสมดุลในการละลาย-การ ตกตะกอนซึ่งไอออนที่ละลายอยู่ในน้ำยา ปรับสภาพเคมีของฟอสเฟต ดังกล่าวจะถูกรีดิวซ์และตกตะกอนเป็นโลหะที่มีค่าเท่ากับ หรือมาก กว่า -830 mV ซึ่งเป็นศักย์ไฟฟ้าในการย่อยสลายจาก การทำปฏิกิริยาของแคโทดของตัวทำละลายใน รูปของน้ำเมื่อถูก แสดงออกมาเป็นศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรดมาตรฐานที่เป็น ไฮโดรเจนและไม่สามารถ ละลายได้ในระหว่างการแยกธาตุด้วยไฟฟ้า 3. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ปริมาณไอออนของ Fe ที่ละลายเข้าไป ในน้ำยาปรับสภาพจากอิเล็กโทรดที่เป็น Fe ในกรณีที่นำ อิเล็ก โทรดที่เป็น Fe มาใช้เป็นอิเล็กโทรดที่ละลายในน้ำยาปรับ สภาพจะถูกควบคุมไว้เพื่อให้ ORP ในข้างต้นของน้ำยาปรับสภาพ ทางเคมีของฟอสเฟตมีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 700 mV. 4. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 1 โดยในกรณีที่วัตถุที่จะนำมาปรับสภาพเป็น วัสดุที่เป็นเหล็กกล้านั้น ปริมาณไอออนของ Fe ที่ละลาย เข้า ไปในน้ำยาปรับสภาพในการปรับสภาพของแอโนดซึ่งวัสดุที่เป็น เหล็กกล้าในรูปของวัตถุที่จะนำมา ปรับสภาพดังกล่าวจะถูกละ ลายในฐานเป็นแอโนดและปริมาณไอออนของ Fe ที่ละลายในน้ำยา ปรับ สภาพจากอิเล็กโทรดที่เป็น Fe ในการปรับสภาพของแคโทดจะ ถูกควบคุมไว้เพื่อให้ ORP ของน้ำยา ปรับสภาพทางเคมีของ ฟอสเฟตมีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 700 mV. 5. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลด์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่อิเล็กโทรดที่ใช้ในการแยกธาตุด้วย ไฟฟ้าเพื่อให้ ORP ของน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของ ฟอสเฟตมีค่า เท่ากับหรือมากกว่า 700 mV นั้น คือวัสดุที่เป็นโลหะที่ไม่ ละลาย 6. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่สารเคมีที่มีไอออนของ Fe ที่นำมา เติมลงไปในน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตคือสาร ประกอบเชิง ซ้อนของ Fe-ฟอสเฟตเพื่อให้ ORP ของน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของ ฟอสเฟตดังกล่าวมี ค่าเท่ากับหรือมากกว่า 700 mV. 7. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ ORP ของน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของ ฟอสเฟตดังกล่าวมีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 700 mV. 8. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ไอออนของโลหะที่ก่อตัวเป็นสาร ประกอบเชิงซ้อนพร้อมด้วยกรดฟอสฟอริกและไออนของ ฟอสเฟตในน้ำ ยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตคือไอออนของธาตุต่อไปนี้อย่าง น้อยหนึ่งชนิดคือ Zn, Fe, Mn หรือ Ca. 9. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ก๊าซ NO, NO2 และ/หรือ N2O4 ที่ เกิดขึ้นและถูกละลายในถังปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์จะถูก ขจัดออกไปจากน้ำยาปรับสภาพดังกล่าวโดยการแบ่งถังปรับสภาพ ออกเป็นถังปรับสภาพที่ทำการ ปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์และ ถังเสริมที่ไม่ทำการปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์ ทำการหมุน เวียน น้ำยาปรับสภาพระหว่างถังที่สองและจัดเตรีรยมกลไกที่จะ ปล่อยของเหลวสำหรับปรับสภาพออกสู่ บรรยากาศที่อยู่ระหว่าง ถังที่สองตามที่ได้กล่าวถึงไปในข้างต้นหรือบรรยากาศภายใน ถังที่สองซึ่ง เป็นวิถีทางในการแยกก๊าซ NO2, N2O4 และ/หรือ NO ที่เกิดขึ้นในน้ำยาปรับสภาพที่ เกิดขึ้นพร้อมกับ การปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์จากน้ำยาปรับ สภาพดังกล่าว 1 0. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 9 โดยที่ถังเสริมที่ไม่ได้ทำการปรับสภาพ ด้วยอิเล็กโทรไลด์นั้น จะมีกลไกที่ของเหลวสำหรับปรับสภาพ จะ ถูกส่งผ่านโครงสร้างที่เป็นของแข็งซึ่งสามารถซึมผ่านได้ 1
1. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่โครงสร้างที่เป็นของแข็งดังกล่าว คือเยื่อ 1
2. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 9 โดยที่เครื่องกรองที่มีกลไกที่จะกอรงของ เหลวสำหรับปรับสภาพจะถูกนำมาใช้กับถังเสริมที่ไม่ทำการ ปรับ สภาพด้วยอิเล็กโทรไลด์. 1
3. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟดด้วยอิเล็กโทรไลด์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 9 ที่มี วงจรในการหมุนเวียนของเหลวที่จะนำ ส่วนหนึ่งของของเหลวสำหรับการปรับสภาพในตำแหน่งหนึ่ง ออกไป ก่อนที่จะถูกนำเข้าไปในวัสดุที่ใช้เป็นตัวกรองที่อยู่ใน เครื่องกรอง จากนั้นก็ปล่อยของเหลว สำหรับการปรับสภาพที่ถูก นำออกมาดังกล่าวให้อยู่ในบรรยากาศและส่งของเหลวดังกล่าว กลับไปยัง ถังแยกด้วยไฟฟ้าหลังจากขจัดก๊าซต่าง ๆ ในรูปของ ไนโตรเจนออกไซด์ที่ปรากฏอยู่ในของเหลว สำหรับการปรับสภาพออก ไปแล้ว. 1
4. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 9 โดยที่ ORP ของน้ำยาปรับสภาพมีค่าเท่ากับ หรือมากกว่า 840 mV. 1
5. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 9 โดยที่น้ำยาปรับสภาพจะถูกรักษาสภาพให้คง ที่ไว้โดยการวัดค่า ORP ในข้างต้นของน้ำยาปรับสภาพ และการ เปลี่ยนแปลงปริมาณและ/หรือส่วนประกอบของสารเคมีสำหรับเติม ลงไปซึ่งสอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงค่าดังกล่าว.
TH201000592A 2002-02-21 วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ TH49125B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH62977A true TH62977A (th) 2004-07-19
TH49125B TH49125B (th) 2016-04-12

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US4159309A (en) Process for the catalytic reduction of reducible compounds in solution
US20080128293A1 (en) Configurations and Methods of Electrochemical Lead Recovery from Contaminated Soil
US5478448A (en) Process and apparatus for regenerating an aqueous solution containing metal ions and sulfuric acid
US11111595B2 (en) Apparatus for electrolytic etching and dissolution and method for extracting metal compound particles
WO2019150198A1 (en) Methods, materials and techniques for precious metal recovery
CA3068821A1 (en) Methods, materials and techniques for precious metal recovery
JP4019723B2 (ja) 電解リン酸塩化成処理方法
Gylienė et al. Recovery of EDTA from complex solution using Cu (II) as precipitant and Cu (II) subsequent removal by electrolysis
SK82994A3 (en) Method of electro-chemical reduction of nitrates
US20060175204A1 (en) Mehtod for regenerating etching solutions containing iron for the use in etching or pickling copper or copper alloys and an apparatus for carrying out said method
CA1121301A (en) Selective removal of bismuth and antimony from copper electrolyte by salt addition
Juang et al. Simultaneous recovery of EDTA and lead (II) from their chelated solutions using a cation exchange membrane
Zhao et al. Clean and effective removal of Cl (-I) from strongly acidic wastewater by PbO2
Dziewinski et al. Developing and testing electrochemical methods for treating metal salts, cyanides and organic compounds in waste streams
SU1058511A3 (ru) Способ извлечени шестивалентного урана
JP2007245047A (ja) 排水処理システム
TH62977A (th) วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์
Kenova et al. Removal of heavy metal ions from aqueous solutions by electrocoagulation using Al and Fe anodes
TH49125B (th) วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์
RU2194802C2 (ru) Способ выделения технеция из азотнокислого раствора
FI62810B (fi) Foerfarande foer rening av avloppsvatten av krom
Sadyrbaeva Membrane Extraction of Ag (I), Co (II), Cu (II), Pb (II), and Zn (II) Ions with Di (2-Ethylhexyl) phosphoric Acid under Conditions of Electrodialysis with Metal Electrodeposition
Hassani Sadrabadi et al. Removal of copper ions from dilute sulfuric acid solutions: Effect of solution composition and applied potential
Sadyrbaeva Electrodialysis Extraction and Electrodeposition of Lead (II) in Systems with Liquid Membranes
RU2709305C1 (ru) Регенерация солянокислого медно-хлоридного раствора травления меди методом мембранного электролиза