TH49125B - วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ - Google Patents
วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์Info
- Publication number
- TH49125B TH49125B TH201000592A TH0201000592A TH49125B TH 49125 B TH49125 B TH 49125B TH 201000592 A TH201000592 A TH 201000592A TH 0201000592 A TH0201000592 A TH 0201000592A TH 49125 B TH49125 B TH 49125B
- Authority
- TH
- Thailand
- Prior art keywords
- phosphate
- chemical
- ions
- conditioning
- electrolyte
- Prior art date
Links
Abstract
DC60 (25/03/45) วัตถุประสงค์ของการประดิษฐ์นี้คือการจัดเตรียมวิธีการปรับสภาพทางเคมีของ ฟอสเฟตที่เป็นอิเล็กโทรไลต์ที่สามารถปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำปฏิกริยาบนพื้นผิวของโลหะ (ส่วนต่อประสาน) ให้ดีขึ้นได้โดยการป้องกันไม่ให้เกิดปฏิกริยาในวัฏภาคที่เป็นสารละลายเพื่อจะ ได้ป้องกันการก่อตัวของตะกอนในระหว่างการปรับสภาพอย่างต่อเนื่องได้ในลักษณะที่เชื่อถือได้. การประดิษฐ์นี้จะเกี่ยวข้องกับวิธีการทำให้เกิดเยื่อที่ประกอบด้วยสารประกอบ ของฟอสเฟตและโลหะที่ถูกรีดิวซ์และถูกทำให้ตกตะกอนจากสภาพที่เป็นไอออนลงบนพื้นผิวของ วัตถุที่เป็นโลหะที่จะนำมาปรับสภาพโดยการปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์บนวัตถุที่จะถูกนำมา ปรับสภาพดังกล่าวในน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตโดยการทำให้วัสดุที่เป็นโลหะดังกล่าว ซึ่งมีสภาพการนำไฟฟ้ามาสัมผัสกับน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวซึ่งมีไอออนของ ฟอสเฟตและกรดฟอสฟอริก, ไอออนของไนเตรต, ไอออนของโลหะที่ทำให้เกิดสารประกอบ เชิงซ้อนกับไอออนของฟอสเฟตในน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวและไอออนของ โลหะซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าของความสมดุลในการละลาย-การตกตะกอนซึ่งไอออนที่ละลายอยู่ในน้ำยา ปรับ สภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวถูกรีดิวซ์และถูกทำให้ตกตะกอนเป็นโลหะที่มีค่าเท่ากับ หรือมากกว่า -830 mV ซึ่งเป็นศักย์ในการย่อยสลายจากการทำปฏิกริยาของแคโทดของตัว ทำละลายในรูปของน้ำเมื่อถูกแสดงออกมาเป็นศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรดมาตรฐานที่เป็น ไฮโดรเจนและโดยส่วนใหญ่แล้วจะไม่มีไอออนของโลหะนอกเหนือไปจากที่เป็นส่วนประกอบของ เยื่อดังกล่าวโดยที่ ORP (ศักย์ไฟฟ้าของออกซิเดชัน-รีดักชัน) ของน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของ ฟอสเฟตดังกล่าว (ตามที่แสดงออกมาเป็นศักย์ที่สัมพันธ์กับอิเล็กโทรดที่เป็นไฮโดรเจนมาตรฐาน) จะถูกคงไว้ให้มีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 700 mV. วัตถุประสงค์ของการประดิษฐ์นี้คือการจัดเตรียมวิธีการปรับสภาพทางเคมีของ ฟอสเฟตที่เป็นอิเล็กโทรไลต์ที่สามารถปรับปรุงประสิทธิภาพในการทำปฏิกิริยาบนพื้นผิวของโลหะ (ส่วนต่อประสาน) ให้ดีขึ้นได้โดยการป้องกันไม่ให้เกิดปฏิกริยาในวัฏภาคที่เป็นสารละลายเพื่อจะ ได้ป้องกันการก่อตัวของตะกอนในระหว่างการปรับสภาพอย่างต่อเนื่องได้ในลักษณะที่เชื่อถือได้. การประดิษฐ์นี้จะเกี่ยวข้องกับวิธีการทำให้เกิดเยื่อที่ประกอบด้วยสารประกอบ ของฟอสเฟตและโลหะที่ถูกรีดิวซ์และถูกทำให้ตกตะกอนจากสภาพที่เป็นไอออนลงบนพื้นผิวของ วัตถุที่เป็นโลหะที่จะนำมาปรับสภาพโดยการปรับสภาพด้วยอิเล็กโทรไลต์บนวัตถุที่จะถูกนำมา ปรับสภาพดังกล่าวในน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตโดยการทำให้วัสดุที่เป็นโลหะดังกล่าว ซึ่งมีสภาพการนำไฟฟ้ามาสัมผัสกับน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวซึ่งมีไอออนของ ฟอสเฟตและกรดฟอสฟอริก, ไอออนของไนเตรด, ไอออนของโลหะที่ทำให้เกิดสารประกอบ เชิงซ้อนกับไอออนของฟอสเฟตในน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟดดังกล่าวและไอ ออนของ โลหะซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าของความสมดุลในการละลาย-การตกตะกอนซึ่งไอออนที่ละลายอยู่ในน้ำยาปรับ สภาพทางเคมีของฟอสเฟตดังกล่าวถูกรีดิวซ์และถูกทำให้ตกตะกอนเป็นโลหะที่มีค่าเท่ากับ หรือมากว่า -830 mV ซึ่งเป็นศักย์ในการย่อยสลายจากการทำปฏิกริยาของแคโทดของตัว ทำละลายในรูปของน้ำเมื่อถูกแสดงออกมาเป็นศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรดมาตรฐานที่เป็น ไฮโดรเจนและโดยส่วนใหญ่แล้วจะไม่มีไอออนของโลหะนอกเหนือไปจากที่เป็นส่วนปรกอบของ เยื่อดังกล่าวโดยที่ ORP (ศักย์ไฟฟ้าของออกซิเดชัน-รีดักชัน) ของน้ำยาปรับสภาพทางเคมีของ ฟอสเฟดดังกล่าว (ตามที่แสดงออกมาเป็นศักย์ที่สัมพันธ์กับอิเล็กโทรดที่เป็นไฮโดรเจนมาตรฐาน) จะถูกคงไว้ให้มีค่าเท่ากับหรือมากกว่า 700 mV.
Claims (5)
1. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่โครงสร้างที่เป็นของแข็งดังกล่าว คือเยื่อ 1
2. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 9 โดยที่เครื่องกรองที่มีกลไกที่จะกอรงของ เหลวสำหรับปรับสภาพจะถูกนำมาใช้กับถังเสริมที่ไม่ทำการ ปรับ สภาพด้วยอิเล็กโทรไลด์. 1
3. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟดด้วยอิเล็กโทรไลด์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 9 ที่มี วงจรในการหมุนเวียนของเหลวที่จะนำ ส่วนหนึ่งของของเหลวสำหรับการปรับสภาพในตำแหน่งหนึ่ง ออกไป ก่อนที่จะถูกนำเข้าไปในวัสดุที่ใช้เป็นตัวกรองที่อยู่ใน เครื่องกรอง จากนั้นก็ปล่อยของเหลว สำหรับการปรับสภาพที่ถูก นำออกมาดังกล่าวให้อยู่ในบรรยากาศและส่งของเหลวดังกล่าว กลับไปยัง ถังแยกด้วยไฟฟ้าหลังจากขจัดก๊าซต่าง ๆ ในรูปของ ไนโตรเจนออกไซด์ที่ปรากฏอยู่ในของเหลว สำหรับการปรับสภาพออก ไปแล้ว. 1
4. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 9 โดยที่ ORP ของน้ำยาปรับสภาพมีค่าเท่ากับ หรือมากกว่า 840 mV. 1
5. วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ตาม ข้อถือสิทธิที่ 9 โดยที่น้ำยาปรับสภาพจะถูกรักษาสภาพให้คง ที่ไว้โดยการวัดค่า ORP ในข้างต้นของน้ำยาปรับสภาพ และการ เปลี่ยนแปลงปริมาณและ/หรือส่วนประกอบของสารเคมีสำหรับเติม ลงไปซึ่งสอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงค่าดังกล่าว.
Publications (2)
Publication Number | Publication Date |
---|---|
TH62977A TH62977A (th) | 2004-07-19 |
TH49125B true TH49125B (th) | 2016-04-12 |
Family
ID=
Similar Documents
Publication | Publication Date | Title |
---|---|---|
US20080128293A1 (en) | Configurations and Methods of Electrochemical Lead Recovery from Contaminated Soil | |
US5478448A (en) | Process and apparatus for regenerating an aqueous solution containing metal ions and sulfuric acid | |
US20190233917A1 (en) | Methods, Materials and Techniques for Precious Metal Recovery | |
CA3068821A1 (en) | Methods, materials and techniques for precious metal recovery | |
JP4019723B2 (ja) | 電解リン酸塩化成処理方法 | |
Gylienė et al. | Recovery of EDTA from complex solution using Cu (II) as precipitant and Cu (II) subsequent removal by electrolysis | |
SK82994A3 (en) | Method of electro-chemical reduction of nitrates | |
Lemos et al. | Copper electrowinning from gold plant waste streams | |
Juang et al. | Simultaneous recovery of EDTA and lead (II) from their chelated solutions using a cation exchange membrane | |
US4243494A (en) | Process for oxidizing a metal of variable valence by controlled potential electrolysis | |
Zhao et al. | Clean and effective removal of Cl (-I) from strongly acidic wastewater by PbO2 | |
Dziewinski et al. | Developing and testing electrochemical methods for treating metal salts, cyanides and organic compounds in waste streams | |
Kenova et al. | Removal of heavy metal ions from aqueous solutions by electrocoagulation using Al and Fe anodes | |
TH49125B (th) | วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ | |
TH62977A (th) | วิธีการปรับสภาพทางเคมีของฟอสเฟตด้วยอิเล็กโทรไลต์ | |
Barros et al. | Membrane electrolysis for recovering Sb and Bi from elution solutions of ion-exchange resins used in copper electrorefining: A cyclic voltammetric study | |
Hatfield et al. | Electrochemical remediation of metal-bearing wastewaters Part II: Corrosion-based inhibition of copper removal by iron (III) | |
FI62810C (fi) | Foerfarande foer rening av avloppsvatten av krom | |
Sadyrbaeva | Membrane Extraction of Ag (I), Co (II), Cu (II), Pb (II), and Zn (II) Ions with Di (2-Ethylhexyl) phosphoric Acid under Conditions of Electrodialysis with Metal Electrodeposition | |
Hassani Sadrabadi et al. | Removal of copper ions from dilute sulfuric acid solutions: Effect of solution composition and applied potential | |
Sadyrbaeva | Electrodialysis Extraction and Electrodeposition of Lead (II) in Systems with Liquid Membranes | |
Kekki et al. | Copper deposition on stainless steel sheets in copper nitrate solution | |
Silva et al. | A simple electrogravimetric experimental setup to determine Cu in alloy samples for teaching purposes | |
RU2709305C1 (ru) | Регенерация солянокислого медно-хлоридного раствора травления меди методом мембранного электролиза | |
Sheya et al. | Selective electrowinning of mercury from gold cyanide solutions |