TH56129B - ระบบและกรรมวิธีสำหรับกันน้ำและระบายน้ำที่แทรกซึมอยู่ในบรรดาโครงสร้างไฮดรอลิก - Google Patents

ระบบและกรรมวิธีสำหรับกันน้ำและระบายน้ำที่แทรกซึมอยู่ในบรรดาโครงสร้างไฮดรอลิก

Info

Publication number
TH56129B
TH56129B TH601005716A TH0601005716A TH56129B TH 56129 B TH56129 B TH 56129B TH 601005716 A TH601005716 A TH 601005716A TH 0601005716 A TH0601005716 A TH 0601005716A TH 56129 B TH56129 B TH 56129B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
waterproofing
waterproof
seepage
opening
membrane
Prior art date
Application number
TH601005716A
Other languages
English (en)
Other versions
TH91064B (th
TH91064A (th
Inventor
โจเซฟัส มาเรีย ไวร์เอนส์ นายไวห์เอลมุส
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางวรนุช เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางวรนุช เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางวรนุช เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางวรนุช เปเรร่า filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH91064B publication Critical patent/TH91064B/th
Publication of TH91064A publication Critical patent/TH91064A/th
Publication of TH56129B publication Critical patent/TH56129B/th

Links

Abstract

DC60 วัสดุที่ใช้หุ้มของวัสดุแผ่นบางที่ใช้กันน้ำเปลี่ยนรูปได้โดยการยืด (11) ถูกนำไปใช้และถูกทำให้ มั่นคงโดยการเชื่อมกันรั่วเข้ากับพื้นที่ผิวของโครงสร้างไฮดรอลิก (10; 31; 36; 39) ที่จะถูกคุ้มครอง น้ำที่ ซึมเข้าซึ่งสะสมไว้หลังวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำ (11) ถูกปล่อยออกโดยแรงโน้มถ่วงผ่านบรรดาวาล์วระบาย ทางเดียว (13) ถูกจัดหาไว้ในตำแหน่งต่างๆ ที่ก่อตั้งไว้ล่วงหน้าของวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำ (11); บรรดาวาล์ว ระบาย (13) ถูกเปิดและปิดอัตโนมัติโดยความดันผลต่างเชิงอนุพันธ์ของน้ำที่ทำหน้าที่บนบรรดาผิวด้าน ตรงข้ามขององค์ประกอบการเปิดปิดแบบแบนราบเฉกเช่นแผ่นบางที่ปรับได้ (M) ของวาล์วระบายนั้น (13) วัสดุที่ใช้หุ้มของวัสดุแผ่นบางที่ใช้กันน้ำเปลี่ยนรูปได้โดยการยืด (11) ถูกนำไปใช้และถูกทำให้ มั่นคงโดยการเชื่อมกันรั่วเข้ากับพื้นที่ผิวของโครงสร้างไฮดรอลิก (10; 31; 36; 39) ที่จะถูกคุ้มครอง น้ำที่ ซึมเข้าซึ่งสะสมไว้หลังวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำ (11) ถูกปล่อยออกโดยแรงโน้มถ่วงผ่านบรรดาวาล์วระบาย ทางเดียว (13) ถูกจัดหาไว้ในตำแหน่งต่างๆ ที่ก่อตั้งไว้ล่วงหน้าของวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำ (11); บรรดาวาล์ว ระบาย (13) ถูกเปิดและปิดอัตโนมัติโดยความดันผลต่างเชิงอนุพันธ์ของน้ำที่ทำหน้าที่บนบรรดาผิวด้าน ตรงข้ามขององค์ประกอบการเปิดปิดแบบแบนราบเฉกเช่นแผ่นบางที่ปรับได้ (M) ของวาล์วระบายนั้น (13)

Claims (2)

1. กรรมวิธีสำหรับกันน้ำและระบายน้ำที่ซึมเข้าไปในบรรดาโครงสร้างไฮดรอลิกออก (10, 31, 41, 52) ตามที่วัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำซึ่งประกอบด้วยบรรดาแผ่นจีโอเมมเบรนเปลี่ยนรูปโดยยืดหยุ่นได้ (11) ถูกนำไปใช้และถูกทำให้มั่นคงเข้ากับพื้นที่ผิวของโครงสร้างไฮดรอลิก (10, 31, 41, 52) โดยจัดหาให้กับ วัสดุที่ใช้หุ้มดังกล่าวด้วยวิธีการระบายน้ำ (13) สำหรับระบายน้ำที่ซึมเข้าไปซึ่งสะสมอยู่หลังวัสดุที่ใช้หุ้ม กันน้ำออก โดยถูกทำให้มีคุณลักษณะเฉพาะด้วยขั้นตอนต่างๆ ของ: การกำหนดจุดระบายต่างๆ สำหรับระบายน้ำออกในตำแหน่างต่างๆ ที่ก่อตั้งไว้ก่อนของวัสดุที่ใช้ หุ้มกันน้ำ; การจัดหาในแต่ละจุดระบายที่ก่อตั้งไว้ก่อน อุปกรณ์วาล์วทางเดียว (13) ที่มีรูเปิดสำหรับปล่อย น้ำออก หรือรูเปิดในวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำดังกล่าว; การกำหนดตำแหน่งรูเปิดสำหรับปล่อยน้ำออกดังกล่าวของอุปกรณ์วาล์ว 13 ในทิศทางการไหล ลงที่ต่ำของน้ำ และการจัดหาอุปกรณ์วาล์วทางเดียวดังกล่าว (13) โดยมีองค์ประกอบการเปิดปิดที่ปรับได้ แบบแบนราบ (M) ที่เหลื่อมซ้อนรูเปิดการปล่อยออก; การต้องนำองค์ประกอบการเปิดปิดที่ปรับได้แบบแบนราบ (M) ไปผ่านความดันผลต่างเชิง อนุพันธ์ของน้ำที่ทำหน้าที่อยู่บรรดาผิวของวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำ; และ การเป็นเหตุให้มีการเปิดและปิดอัตโนมัติของอุปกรณ์วาล์ว (13) โดยความแตกต่างทาง ความดันของน้ำที่สูงขึ้นบนบรรดาผิวตรงข้ามขององค์ประกอบการเปิดปิดแบบแบนราบ (M) ของ อุปกรณ์วาล์วนั้น (13) 2. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ วัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำนั้นประกอบด้วยบรรดาแผ่นบางกันน้ำ (11) จำนวนหลายๆ แผ่น ที่ถูกขันให้แน่นใน เชิงกลเข้ากับโครงสร้างไฮดรอลิก (10) ที่เชื่อมกันรั่วตามบรรดาขอบด้านข้าง ซึ่งถูกทำให้มีคุณลักษณะ เฉพาะด้วยการใช้งานอุปกรณ์วาล์วระบาย (13) ในระหว่างการติดตั้งวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำ ด้วยการเสริม บรรดาขอบตามขวางของแผ่นบางกันน้ำที่อยู่ติดกันสองแผ่น (11.1, 11.2) ปล่อยให้ขอบตามขวางของ แผ่นบนนั้น (11.1) งอได้โดยอิสระภายใต้ความดันผลต่างเชิงอนุพันธ์ของน้ำ 3. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 2 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะเฉพาะด้วยการเสริมบรรดาของขอบตามขวางของแผ่นบางทั้งสอง (11.1, 11.2) เหนือความ ยาว (d) ที่อยู่ในช่วงตั้งแต่ 5 ถึง 300 ซม. ตามที่พึงประสงค์นั้นตั้งแต่ 20 ถึง 150 ซม. 4. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะเฉพาะด้วยการจัดหาอุปกรณ์วาล์วระบาย (13) โดยการทำรอยตัด (20) ในแผ่นบางกันน้ำ (11); การกำหนดตำแหน่งเยื่อบางคลุมที่ปรับได้ (M) บนรอยตัดดังกล่าว (20) และการเชื่อมกันรั่วขอบ รอบนอกเยื่อบางดังกล่าว (M) ปล่อยให้ขอบด้านหน้าเป็นอิสระ (22) ขนานไปกับรอยตัวดังกล่าว (20) เพื่อกำหนดองค์ประกอบการเปิดปิดแนวราบของอุปกรณ์วาล์วระบาย (13) 5. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 4 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะเฉพาะด้วยการจัดหาองค์ประกอบการหนุนแข็งเกร็งแบบแบนราบใต้วัสดุที่ใช้หุ้มโดย สมนัยกับเยื่อบางคลุม (M) ของอุปกรณ์วาล์วระบาย (13) 6. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 4 ซึ่งถูกทำให้มีคุณลักษณะเฉพาะด้วยการใช้งานอุปกรณ์วาล์วระบาย (13) ที่ประกอบด้วยแผ่นจีโอ- เมมเบรนซึ่งถูกเลือกมาจากวัสดุต่างๆ ดังต่อไปนี้: บรรดาวัสดุเทอร์โมพลาสติก บรรดายางเทอร์โม- พลาสติก บรรดาวัสดุเทอร์โรเซ็ต บรรดาวัสดุที่มาจากบิทูเมน 7. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 6 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะโดยที่เฉพาะอุปกรณ์วาล์วระบาย (13) ประกอบด้วยจีโอเมมเบรนของวัสดุเทอร์โม- พลาสติกถูกเลือกมาจากพอลิเอธิลีนความหนาแน่นสูง พอลิเอธิลีนความหนาแน่นเชิงเส้นตรง พอลิเอธิลีนที่รวมตัวกับคลอรีน เอธิลีน-ไวนิลอะซีเตดโคพอลิเมอร์ พอลิเอธิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิไวนิลคลอไรด์ หรือการรวมกันของสารเหล่านี้ 8. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 6 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะโดยที่เฉพาะอุปกรณ์วาล์วระบาย (13) ประกอบด้วยแผ่นจีโอเมมเบรน (11) ของวัสดุที่มี พื้นฐานมาจากยางเทอร์โมพลาสติกซึ่งถูกเลือกมาจากบรรดาสารต่อไปนี้: พอลิเอธิลีนที่รวมตัวกับ คลอโรซัลโฟเนต, เอธิลีน-โพรพิลีนโคพอลิเมอร์ หรือการรวมกันของสารเหล่านี้ 9. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 6 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะโดยที่เฉพาะอุปกรณ์วาล์วระบาย (13) ประกอบด้วยแผ่นจีโอเมมเบรน (11) ของวัสดุ สังเคราะห์มาจากเทอร์โมเซ็ตซึ่งถูกเลือกมาจาก: พอลิไอโซบิวทิลีน ยางคลอโรพรีน เอธิลีน-โพรพิลีน- ไดอีนมอนอเมอร์ ยางบิวทิล ยางไนไตรล์ หรือการรวมกันของสารเหล่านี้ 1 0. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 6 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะโดยที่เฉพาะอุปกรณ์วาล์วระบาย (13) ประกอบด้วยแผ่นจีโอเมมเบรนของวัสดุจาก บิทูเมนซึ่งถูกเลือกมาจาก: บิทูเมนที่ถูกออกซิไดส์ บิทูเมนซึ่งมีลักษณะพอลิเมอร์ หรือการรวมกันของ สารเหล่านี้ 1 1. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 2 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะเฉพาะด้วยการต่อเชื่อมแบบกันรั่วบรรดาขอบตามขวางที่เหลื่อมซ้อนกันของบรรดาแผ่น บางในการกันน้ำ (11) ตามเส้นการแตกหักที่ถูกทำให้อ่อน (S) 1 2. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 4 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะเฉพาะด้วยการต่อเชื่อมแบบกันรั่วขอบด้านหน้าขององค์ประกอบการเปิดปิดแบบแบน ราบ (M) เข้ากับวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำตามเส้นการแตกหักที่ถูกทำให้อ่อน (S) 1 3. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะเฉพาะด้วยการสร้างรอยตัด (20) ในวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำ; การกำหนดตำแหน่งและการ เชื่อมกันรั่วตามขอบรอบนอกจีโอเมมเบรนที่ปิดการแตกได้เหนือรอยตัดดังกล่าว จีโอเมมเบรนที่ปิดการ แตกได้รอยตัดดังกล่าวที่มีความหนาต่ำกว่าบรรดาแผ่นบางวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำ (11) 1 4. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำในเขื่อน อุโมงค์น้ำ คลอง หรือที่เหมือนกันนี้ และสำหรับการ ระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกตามข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งถูกทำให้มีคุณลักษณะเฉพาะด้วย: การประกอบขึ้นเป็นวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำด้วยการใส่บรรดาแผ่นวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำ (11) จำนวน หลายๆ แผ่น ของวัสดุจากการสังเคราะห์ต้านพื้นที่ผิวของโครงสร้างไฮดรอลิก; การเหลื่อมซ้อนและการขันบรรดาขอบด้านข้างของบรรดาแผ่นบางชิดกัน (11) ให้แน่น การใส่ สลักในทางกลแผ่นบางเหล่านั้นเข้ากับลำตัว (10, 31, 41, 52) ของโครงสร้างไฮดรอลิก; และ การจัดหาบรรดาวาล์วระบายทางเดียว (13) ในตำแหน่งต่างๆ ที่ก่อตั้งไว้ล่วงหน้าของวัสดุที่ใช้ หุ้มกันน้ำ 1 5. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาในข้อต่อ (51) ระหว่าง บรรดาผนัง (52, 52b) ของโครงสร้างไฮดรอลิก ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งถูกทำให้มีคุณลักษณะเฉพาะโดย การประกอบขึ้นด้วยข้นตอนต่างๆ ของ: การนำบรรดาแผ่นบางกันน้ำ (11.1; 11.2) หลายๆ แผ่นของวัสดุในการกันน้ำจากการสังเคราะห์ ตามข้อต่อดังกล่าว (51); การขันโดยการเชื่อมกันรั่วกับบรรดาขอบด้านข้างของบรรดาแผ่นบางในการกันน้ำ (11.1; 11.2) ตามยาวเข้ากับข้อต่อ (51) ดังกล่าว; และ การจัดหาวาล์วระบายทางเดียวอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้น (13) ด้ยการให้เหลื่อมซ้อนโดยอิสระกับ บรรดาขอบตามขวางชิดกันของบรรดาแผ่นบางในการกันน้ำสองชิ้นที่อยู่ติดกัน (11.1; 11.2) 1 6. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะเฉพาะด้วยการกำหนดตำแหน่งชั้นของวัสดุระบายระหว่างผิวที่หันเข้าหากันของ โครงสร้างไฮดรอลิก (10, 31, 41, 52) และวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำ (11) 1 7. กรรมวิธีสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 16 ซึ่งถูก ทำให้มีคุณลักษณะเฉพาะโดยที่ชั้นของวัสดุระบายถูกเลือกมาจากจีโอเน็ต จีโอสเปสเซอร์ ทรายและ/ หรือกรวด หรือการรวมกันของสิ่งเหล่านั้น 1 8. ระบบสำหรับกันน้ำและระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาในบรรดาโครงสร้างไฮดรอลิก (10, 31, 41, 52) ที่ประกอบขึ้นด้วย: วัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำ (11) ที่จัดไว้ให้โดยจีโอเมมเบรนของวัสดุเปลี่ยนรูปโดยการยืดหยุ่น; วิธีการขันให้แน่น (14) เพื่อทำให้จีโอเมมเบรนมั่นคงเข้ากับพื้นที่ผิวของโครงสร้างไฮดรอลิก (10, 31, 41, 52) และ วิธีการระบายสำหรับระบายน้ำที่ซึมเข้าไปสะสมระหว่างพื้นที่ผิวของโครงสร้างไฮดรอลิก (10, 31, 41, 52) ออกมา และวัสดุที่ใช้หุ้มกันน้ำ (11) ซึ่งถูกทำให้มีคุณลักษณะเฉพาะโดยที่วิธีการระบาย ดังกล่าวประกอบด้วย: บรรดาวาล์วระบายทางเดียว (13) จำนวนหลายๆ อันบนจีโอเมมเบรนกันน้ำ; วาล์วระบายแต่ละ อันประกอบด้วย: รูเปิดในการปล่อยน้ำออก (20) ในจีโอเมมเบรนกันน้ำ รูเปิดในการปล่อยน้ำออกดังกล่าว (20) ในทิศทางตามขวางกับทิศทางการไหลลงที่ต่ำตามธรรมชาติของน้ำ; และ องค์ประกอบการเปิดปิดแบบแบนราบที่ปรับได้ (M) ที่ถูกขันเข้าโดยการเชื่อมกันรั่วกับเยื่อบาง ในการกันน้ำ องค์ประกอบการเปิดปิดแบบแบนราบ (M) ดังกล่าวมีขอบอิสระซึ่งยื่นออกไปเกินรูเปิดใน การปล่อยน้ำออก (20) ดังกล่าว 1 9. ระบบสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 18 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะเฉพาะโดยที่ขอบด้านหน้าขององค์ประกอบการเปิดปิดแบบแบนราบ (M) ยื่นออกไป ขนานกับรูเปิดในการปล่อยน้ำออก (20) 2 0. ระบบสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 19 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะเฉพาะโดยที่ขอบด้านหน้าขององค์ประกอบการเปิดปิดแบบแบนราบ (M) ยื่นออกไป เกินรูเปิดในการปล่อยน้ำออก (20) เป็นระยะที่อยู่ในช่วงตั้งแต่ 5 ถึง 300 ซม. ตามที่พึงประสงค์นั้นตั้งแต่ 20 ถึง 150 ซม. 2
1. ระบบสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 19 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะเฉพาะโดยที่ขอบด้านหน้าขององค์ประกอบการเปิดปิดแบบแบนราบ (M) อยู่ในรูปของ วัสดุแผ่นบางที่ปรับได้ซึ่งถูกเลือกมาจาก: พอลิเอธิลีนที่รวมตัวกับคลอรีน เอธิลีน- ไวนิลอะซีเตต- โคพอลิเมอร์ พอลิเอธิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิไวนิลคลอไรด์ พอลิเอธิลีนความหนาแน่นสูง พอลิเอธิลีน- ความหนาแน่นเชิงเส้นตรง คลอโรซัลโฟเนตพอลิเอธิลีน เอธิลีน-โพรพิลีนโคพอลิเมอร์ พอลิไอโซ- บิวทิลีน ยางคลอโรพรีน เอธิลีน-โพรพิลีนไดอีนมอนอเมอร์ ยางบิวทิล ยางไนไตรล์ บิทูเมนที่ถูก ออกซิไดส์ บิทูเมนซึ่งมีลักษณะพอลิเมอร์ โดยนำมาเพียงอย่างเดียวหรือรวมกัน 2
2. ระบบสำหรับการกันน้ำและการระบายน้ำที่ซึมเข้าไปออกมาตามข้อถือสิทธิที่ 21 ซึ่งถูกทำ ให้มีคุณลักษณะเฉพาะโดยที่ความหนาของวัสดุแผ่นบางนั้นอยู่ในช่วงตั้งแต่ 0, 2 ถึง 20 มม.
TH601005716A 2006-11-17 ระบบและกรรมวิธีสำหรับกันน้ำและระบายน้ำที่แทรกซึมอยู่ในบรรดาโครงสร้างไฮดรอลิก TH56129B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH91064B TH91064B (th) 2008-08-20
TH91064A TH91064A (th) 2008-08-20
TH56129B true TH56129B (th) 2017-07-21

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US7614826B2 (en) Method and device for waterproofing and draining off infiltrated water in hydraulic structures
CN109577569B (zh) 开放式防水系统
KR100416570B1 (ko) 수압구조물에대한불투과성보호막제작방법
EP2331753B1 (en) Method for punctual fastening a waterproofing membrane to hydraulic works
DE60019103D1 (de) Ein Notwasserwehr
CA2956485C (en) Method, waterproof liner and waterproof panels for installation in basins and canals
CN212641850U (zh) 具有防水功能的石材幕墙
JP2009007899A (ja) 目地止水用可とう継手及びその使用
TH91064A (th) ระบบและกรรมวิธีสำหรับกันน้ำและระบายน้ำที่แทรกซึมอยู่ในบรรดาโครงสร้างไฮดรอลิก
TH56129B (th) ระบบและกรรมวิธีสำหรับกันน้ำและระบายน้ำที่แทรกซึมอยู่ในบรรดาโครงสร้างไฮดรอลิก
WO2012049269A1 (en) Method and device for draining off water seeped in a soil underlying hydraulic structures
JP2008002195A (ja) 水害防止装置
JP5109581B2 (ja) 水利構造物の逆流防止水抜き構造
FR2882076A1 (fr) Revetement pour toiture plate ou inclinee de batiment
CN110905137A (zh) 一种堵引式防水系统
CN110905133A (zh) 一种分区堵引式防水系统
TH91064B (th) ระบบและกรรมวิธีสำหรับกันน้ำและระบายน้ำที่แทรกซึมอยู่ในบรรดาโครงสร้างไฮดรอลิก
JP2015166539A (ja) 用水路被覆構造体及び用水路の被覆工法
CN211873595U (zh) 一种堵引式防水系统
KR20180003229A (ko) 바탕콘크리트의 동해예방이 가능한 통기노출방수공법
CN209538242U (zh) 一种地下室侧墙变形缝防水结构
JPH1096398A (ja) 止水シートに対するレリーフバルブの取付構造
JP3152993U (ja) コンクリート製品の接続構造
JPS62129408A (ja) アスフアルトマツトの接合工法
JPH0868067A (ja) 蓄熱槽における浸入地下水の排除装置