TH51344B - สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถและวิธีการผลิตสิ่งดังกล่าว - Google Patents

สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถและวิธีการผลิตสิ่งดังกล่าว

Info

Publication number
TH51344B
TH51344B TH301000004A TH0301000004A TH51344B TH 51344 B TH51344 B TH 51344B TH 301000004 A TH301000004 A TH 301000004A TH 0301000004 A TH0301000004 A TH 0301000004A TH 51344 B TH51344 B TH 51344B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
conductor
conductors
stator
radial direction
car
Prior art date
Application number
TH301000004A
Other languages
English (en)
Other versions
TH64172A (th
Inventor
อิชิกาวะ นายมาซาโอะ
คิตาคาโดะ นายยาซูโนริ
มูราฮาชิ นายโมโตฮิโร
ฟูกูดะ นายคาซูฮิโกะ
คาโตะ นายมิทสึรุ
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางสาวสนธยา สังขพงศ์ filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH64172A publication Critical patent/TH64172A/th
Publication of TH51344B publication Critical patent/TH51344B/th

Links

Abstract

DC60 (27/01/46) ในการรับประกันความเป็นฉนวนระหว่างบรรดาตัวนำไฟฟ้าซึ่งอยู่ที่ส่วนปลาย ของขดลวดนั้น ตัวนำไฟฟ้าที่หนึ่งที่ส่วน ปลายของขดลวดดังกล่าวจะถูกจัดเรียงไว้ในลักษณะที่จะ ไขว้กับ ตัวนำไฟฟ้าที่สองที่อยู่ติดกัน ในทิศตามรัศมี ณ จุดใดจุดหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งจุด ตัวนำ - ไฟฟ้าจะมีการจัดทำส่วนเว้าในทิศตามรัศมีในผิวหน้าด้านข้าง ที่เป็นผิวหน้าด้านข้างที่อยู่ตรงข้าม กันในตัวนำไฟฟ้าที่ อยู่ตรงข้ามกันตามบริเวณใด ๆ ที่ไขว้กัน โดยที่ส่วนเว้าดังกล่าวจะมีความลึกที่ เพิ่มขึ้นเมื่อเข้าใกล้กับส่วนปลายที่อยู่ใกล้ของตัวนำไฟฟ้า ดังนั้น จึงเป็นการเว้นระยะห่างที่ เพียงพอไว้อย่างชัดเจน ระหว่างบรรดาตัวนำไฟฟ้าในบริเวณใกล้ส่วนปลายของตัวนำไฟฟ้า เหล่านี้ ซึ่งเป็นบริเวณที่เยื่อที่เป็นฉนวนจะเกิดความเสีย หายได้ง่ายเนื่องจากได้รับความร้อน ดังนั้น จึงทำให้เกิดความแน่นอนในความเป็นฉนวนไฟฟ้าและเป็น การปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ระบายความร้อนที่ส่วนปลายของขด ลวดให้ดีขึ้น ในการรับประกันความเป็นฉนวนระหว่างบรรดาตัวนำไฟฟ้าซึ่งอยู่ที่ส่วนปลาย ของขดลวดนั้น ตัวนำไฟฟ้าที่หนึ่งที่ส่วน ปลายของขดลวดดังกล่าวจะถูกจัดเรียงไว้ในลักษณะที่จะ ไขว้กับ ตัวนำไฟฟ้าที่สองที่อยู่ติดกัน ในทิศตามรัศมี ณ จุดใดจุดหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งจุด ตัวนำ - ไฟฟ้าจะมีการจัดทำส่วนเว้าในทิศตามรัศมีในผิวหน้าด้านข้าง ที่เป็นผิวหน้าด้านข้างที่อยู่ตรงข้าม กันในตัวนำไฟฟ้าที่ อยู่ตรงข้ามกันตามบริเวณใด ๆ ที่ไขว้กัน โดยที่ส่วนเว้าดังกล่าวจะมีความลึกที่ เพิ่มขึ้นเมื่อเข้าใกล้กับส่วนปลายที่อยู่ใกล้ของตัวนำไฟฟ้า ดังนั้น จึงเป็นการเว้นระยะห่างที่ เพียงพอไว้อย่างชัดเจน ระหว่างบรรดาตัวนำไฟฟ้าในบริเวณใกล้ส่วนปลายของตัวนำไฟฟ้า เหล่านี้ ซึ่งเป็นบริเวณที่เยื่อที่เป็นฉนวนจะเกิดความเสีย หายได้ง่ายเนื่องจากได้รับความร้อน ดังนั้น จึงทำให้เกิดความแน่นอนในความเป็นฉนวนไฟฟ้าและเป็น การปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ระบายความร้อนที่ส่วนปลายของขด ลวดให้ดีขึ้น

Claims (3)

1. สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโรคตารีที่ใช้ในรถซึ่งประกอบด้วย - แกนสเตเตอร์ที่มีช่องเสียบมากกว่าหนึ่งช่องและ - ชุดขดลวดสเตเตอร์แบบหลายเฟสซึ่งถูกสร้างขึ้นจากตัวนำ ไฟฟ้ามากกว่า หนึ่งตัวที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยที่ตัว นำไฟฟ้าดังกล่าวถูกบรรจุลงไปในลักษณะเคียงข้างกันใน ทิศตาม รัศมีภายในช่องเสียบและมีการสร้างฉนวน ไฟฟ้ากั้นระหว่างกันและจะมีส่วนปลายที่ยื่นออก ไปยังบริเวณ ด้านนอกของช่องเสียบดังกล่าวและจะถูกนำมาติดเข้าด้วยกัน เพื่อให้กลายเป็นส่วน- ปลายของขดลวด โดยที่ตัวนำไฟฟ้าที่หนึ่งซึ่งอยู่ที่ส่วนปลายของขดลวดดัง กล่าวจะถูกจัดเรียงใน ลักษณะที่ไขว้กับตัวนำไฟฟ้าที่สอง ณ จุดใดจุดหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งจุดในขณะที่ตัวนำไฟฟ้าที่สอง จะอยู่ชิดกับตัวนำไฟฟ้าที่หนึ่ง ในทิศตามรัศมีและส่วนเว้าในทิศตามรัศมีจะถูกจัดทำขึ้นมาใน ผิวหน้า ด้านข้างของตัวนำไฟฟ้าที่หนึ่งซึ่งอยู่ตรงข้ามกันตัวนำ ไฟฟ้าที่สอง ณ จุดที่ไขว้กันอย่างน้อยหนึ่งจุด ซึ่งอยู่ระหว่าง บรรดาตัวนำไฟฟ้าที่อยู่ติดกัน โดยที่ส่วนเว้าดังกล่าวจะมีความลึกซึ่งจะเพิ่มมากขึ้นใน บริเวณที่เข้าใกล้ส่วนปลายข้างหนึ่งของตัวนำไฟฟ้าที่หนึ่ง 2. สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำหนดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถ ซึ่งประกอบด้วย - แกนสเตเตอร์ที่มีช่องเสียบ มากกว่าหนึ่งช่องและ - ชุดขดลวดสเตเตอร์แบบหลายเฟสซึ่งถูกสร้างขึ้นจากตัวนำ ไฟฟ้ามากกว่า หนึ่งตัวที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยที่ตัวนำ ไฟฟ้าดังกล่าวถูกบรรจุลงไปในลักษณะเคียงข้างกันใน ทิศตาม รัศมีภายในช่องเสียบและมีการสร้างฉนวน ไฟฟ้ากั้นระหว่างกันและจะมีส่วนปลายที่ยื่นออก ไปยังบริเวณ ด้านนอกของช่องเสียบดังกล่าวและจะถูกนำมาติดเข้าด้วยกัน เพื่อให้กลายเป็นส่วน- ปลายของขวดลวด โดยที่ตัวนำไฟฟ้าที่หนึ่งซึ่งอยู่ที่ส่วนปลายของขดลวดดัง กล่าวถูกจัดเรียงเพื่อ ให้ถูกติดตั้งเข้าไปในแกนสเตเตอร์ดัง กล่าวในสภาพที่ถูกบิดและไขว้กับตัวนำไฟฟ้าที่สอง ณ จุดใด จุดหนึ่งมากกว่าหนึ่งจุดตามบริ เวณที่ถูกบิดไว้ของมันโดยที่ตัวนำไฟฟ้าที่สองจะอยู่ติดกับ ตัวนำ- ไฟฟ้าที่หนึ่งในทิศตามรัศมีและ ผิวหน้าด้านข้างของตัวนำไฟฟ้าที่หนึ่งจะกำหนดขอบเขตให้กับส่วน เว้าในทิศ ตามรัศมีซึ่งอยู่ตรงข้ามกับตัวนำไฟฟ้าที่สอง ณ จุดใดๆ ที่ไขว้กัน 3. สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถ ตามข้อถือสิทธิที่ 2 โดยที่ผิวหน้าด้านข้างของตัวนำไฟฟ้า ที่หนึ่งและผิวหน้าด้านข้างของตัวนำไฟฟ้าที่สองจะหันเข้าหา กันในลักษณะเยื้องออกไป ณ จุดที่ ไขว้ดังกล่าวโดยจะมีการจัดเตรียมส่วนเว้าในทิศตามรัศมีไว้ ใน ผิวหน้าด้านข้างที่อยู่ตรงข้ามซึ่งถูกทำให้เยี้องออกไปดัง กล่าวของตัวนำไฟฟ้าที่หนึ่ง 4. สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถ ตามข้อถือสิทธิที่ 2 โดยที่บริเวณที่ถูกบิดดังกล่าวจะถูกบิดกลับ ไปในทิศตรงข้าม ณ จุดที่ไขว้ดังกล่าวเพื่อให้ผิวหน้า ด้าน ข้างของตัวนำ ไฟฟ้าที่หนึ่งดังกล่าวขนานหรือเกือบขนานกับผิวหน้าด้านข้าง ของตัวไฟฟ้าที่ สองดังกล่าวโดยจะมีการจัดเตรียมส่วนเว้าในทิศ ตามรัศมีไว้ในผิวหน้าด้านข้างที่ขนานกันดังกล่าว ของบรรดา ตัวนำไฟฟ้า 5. สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำหนดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถ ซึ่งประกอบด้วย - แกนสเตเตอร์ที่มีช่องเสียบ มากกว่าหนึ่งช่องและ - ชุดขดลวดสเตเตอร์แบบหลายเฟสซึ่งถูกสร้างขึ้นจากตัวนำ ไฟฟ้ามากกว่า หนึ่งตัวที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยที่ตัวนำ ไฟฟ้าดังกล่าวถูกบรรจุลงไปในลักษณะเคียงข้างกันใน ทิศตาม รัศมีภายในช่องเสียบและมีการสร้างฉนวน ไฟฟ้ากั้นระหว่างกันและจะมีส่วนปลายที่ยื่นออก ไปยังบริเวณ ด้านนอกของช่องเสียบดังกล่าวและจะถูกนำมาติดเข้าด้วยกัน เพื่อให้กลายเป็นส่วน- ปลายของขดลวด โดยที่ตัวนำไฟฟ้าที่หนึ่งที่ซึ่งอยู่ที่ส่วนปลายของขดลวด จะมีส่วนปลายของพื้น- ที่สำหรับติดเข้าด้วยกันเพื่อให้ถูกติด เข้ากับตัวนำไฟฟ้าที่สองโดยที่ตัวนำไฟฟ้าที่สองดังกล่าวจะ อยู่ ชิดกับตัวนำไฟฟ้าที่หนึ่ง ในทิศตามรัศมีโดยที่พื้นที่สำหรับติดเข้าด้วยกันดังกล่าว ถูกจัดเตรียมให้มี ส่วนที่ยื่นออกซึ่งจะยื่นเข้าหาพื้นที่ สำหรับติดเข้าด้วยกันของตัวนำไฟฟ้าที่สอง 6. สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถ ตามข้อถือสิทธิที่ 5 โดยส่วนที่ยื่นออกดังกล่าวถูกจัดทำ ขึ้นโดยการเยื้องระยะของส่วนปลายดังกล่าวเข้าหาส่วนปลาย ของ พื้นที่สำหรับติดเข้าด้วยกันของตัวนำ ไฟฟ้าที่สอง 7. สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถ ตามข้อถือสิทธิที่ 5 โดยที่ส่วนที่ยื่นออกดังกล่าวถูกจัดทำ ขึ้นโดยการงอส่วนปลายดังกล่าวเข้าหาพื้นที่สำหรับติดเข้า ด้วยกันของตัวนำไฟฟ้าที่สอง 8. สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถ ซึ่งประกอบด้วย - แกนสเตเตอร์ที่มีช่องเสียบ มากกว่าหนึ่งช่องและ - ชุดขดลวดสเตเตอร์แบบหลายเฟสซึ่งถูกสร้างขึ้นจากตัวนำ ไฟฟ้ามากกว่า หนึ่งตัวที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยที่ตัวนำ ไฟฟ้าดังกล่าวถูกบรรจุลงไปในลักษณะเคียงข้างกันใน ทิศตาม รัศมีภายในช่องเสียบและมีการสร้างฉนวน ไฟฟ้ากั้นระหว่างกันและจะมีส่วนปลายที่ยื่นออก ไปยังบริเวณ ด้านนอกของช่องเสียบดังกล่าวและจะถูกนำมาติดเข้าด้วยกัน เพื่อให้กลายเป็นส่วน- ปลายของขดลวด โดยที่ตัวนำไฟฟ้าที่หนึ่งซึ่งถูกบรรจุไว้ในชั้นอย่างน้อย หนึ่งชั้นในบรรดา ช่องเสียบดังกล่าวจะมีการจัดทำส่วนที่ยื่น ออกไว้ที่ส่วนปลายของมันซึ่งจะรวมเข้าไว้ด้วยพื้นที่ สำหรับติด เข้าด้วยกันซึ่งจะถูกติด เข้ากับตัวนำไฟฟ้าที่สองซึ่งอยู่ติดกันในทิศตามรัศมีที่ ส่วนปลาย ของขดลวดและ ตัวนำไฟฟ้าที่สามซึ่งถูกบรรจุไว้ในชั้นอื่น ๆ อีกอย่าง น้อยหนึ่งชั้นในบรรดา ช่องเสียบจะไขว้กับตัวนำไฟฟ้าที่สอง ที่อยู่ติดกันในทิศตามรัศมีที่ส่วนปลายของขดลวดดังกล่าว ณ จุด ใดจุดหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งจุด และมีการจัดทำส่วนเว้าในทิศตามรัศมีในผิวหน้าด้านข้างของมัน ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับตัวนำไฟฟ้าที่สองที่บริเวณใดๆ ที่มีการ ไขว้กันของมัน 9. สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถ ตามข้อถือสิทธิที่ 8 โดยที่ชั้นอย่างน้อยหนึ่งชั้นดังกล่าว คือชั้นในสุดหรือชั้นนอกสุดอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาช่อง- เสียบ ดังกล่าว และชั้นอื่นอีกอย่างน้อยหนึ่งชั้นจะเป็นชั้นที่นอกเหนือ ไปจากชั้นในสุดและชั้นนอกสุด ในบรรดาช่องเสียบดังกล่าว 1 0. วิธีการผลิตสำหรับสเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า แบบโรตารีที่ใช้ในรถซึ่ง ประกอบด้วยแกนสเตเตอร์ที่มีช่องเสียบ มากกว่าหนึ่งช่องและชุดขดลวดสเตเตอร์แบบหลายเฟสซึ่ง ถูกสร้าง ขึ้นจากตัวนำ ไฟฟ้ามากกว่าหนึ่งตัวที่ถูกเชื่อมต่อเข้าด้วยกันโดยที่ตัว นำไฟฟ้าดังกล่าวถูก บรรจุลงไปในลักษณะเคียงข้างกันในทิศตาม รัศมีภายในช่องเสียบดังกล่าวและจะมีการสร้างฉนวน ไฟฟ้ากั้น ระหว่างกันและจะมีส่วนปลายที่ยื่นออก ไปยังบริเวณด้านนอกของช่องเสียบดังกล่าวและ ถูกนำมาติดเข้า ด้วยกันเพื่อให้กลายเป็นส่วนปลายของขดลวดโดยที่วิธีการดัง กล่าวประกอบด้วย ขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้ - การจัดทำส่วนเว้าในทิศตามรัศมีของผิวหน้าด้านข้างของตัว นำไฟฟ้าแต่ละ- ตัวโดยการกด - การสอดตัวนำไฟฟ้ามากกว่าหนึ่งตัวดังกล่าวในลักษณะเคียง ข้างกันในทิศ ตามรัศมีลงไปในบรรดาช่องเสียบดังกล่าว - การงอตัวนำไฟฟ้าแต่ละตัวและตัวนำไฟฟ้าที่อยู่ติดกันใน ทิศตามรัศมีในทิศ ตามเส้นรอบรูปที่แตกต่างกันโดยจะมีระยะ ห่างของขั้วตามที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้าในลักษณะที่ส่วน- เว้าต่างๆ ที่ถูกจัดทำขึ้น ในผิวหน้าด้านข้างแต่ละด้านของตัวนำไฟฟ้าที่อยู่ติดกันจะพาดกันใน ลักษณะที่หันหน้าเข้าหากันและ - การนำส่วนปลายของตัวนำไฟฟ้าแต่ละตัวมาติดเข้ากับส่วนปลาย ข้างหนึ่ง ของตัวนำไฟฟ้าที่อยู่ติดกัน 1
1. วิธีการผลิตของสเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโร ตารีที่ใช้ในรถตาม ข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่ส่วนเว้าดัง กล่าวจะถูกจัดเตรียมขึ้นโดยการกดในลักษณะที่จะมีความลึก เพิ่มขึ้นเมื่อเข้า ใกล้กับส่วนปลายข้างหนึ่งของตัวนำไฟฟ้าดังกล่าว 1
2. วิธีการผลิตของสเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโร ตารีที่ใช้ในรถตาม ข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่ในขั้นตอนการงอ นั้น บรรดาตัวนำไฟฟ้าจะถูกหนีบไว้ที่ส่วนปลายและจะถูก งอ เพื่อให้บิดตัว และขั้นตอนการงอดังกล่าวจะประกอบด้วยขั้นตอนเพิ่มเติมซึ่ง จะเป็นการบิดตัวนำ ไฟฟ้าต่างๆ ดังกล่าวกลับไปในทิศตรงข้าม ณ จุดที่ไขว้กันดังกล่าวระหว่างบรรดาตัวนำไฟฟ้าที่อยู่ ติดกัน ในทิศตามรัศมีเพื่อให้ส่วน เว้าต่างๆ หันเข้าหาส่วนเว้าของตัวนำไฟฟ้าที่อยู่ติดกันใน ทิศตาม รัศมีดังกล่าวในลักษณะที่หันหน้าเข้าหากันโดยจะอยู่ ขนานหรือเกือบจะขนานกัน 1
3. วิธีการผลิตของสเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโร ตารีที่ใช้ในรถตาม ข้อถือสิทธิที่ 11 โดยที่ในขั้นตอนการงอ นั้น บรรดาตัวนำไฟฟ้าจะถูกหนีบไว้ที่ส่วนปลายและจะถูก งอเพื่อ ให้บิดตัว และขั้นตอนการงอดังกล่าวจะประกอบด้วยขั้นตอนเพิ่มเติมซึ่ง จะเป็นการบิดตัวนำ- ไฟฟ้าต่างๆ ดังกล่าวกลับไปในทิศตรงข้าม ณ จุดที่ไขว้กันดังกล่าวระหว่างบรรดาตัวนำไฟฟ้าที่อยู่ ติดกันใน ทิศตามรัศมีเพื่อให้ส่วนเว้าต่างๆ หันเข้าหาส่วนเว้าของตัวนำไฟฟ้าที่อยู่ติดกันในทิศตาม รัศมีดังกล่าวในลักษณะที่หันหน้าเข้าหากันโดยจะอยู่ขนาน หรือเกือบจะขนานกัน
TH301000004A 2003-01-02 สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถและวิธีการผลิตสิ่งดังกล่าว TH51344B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH64172A TH64172A (th) 2004-09-20
TH51344B true TH51344B (th) 2016-09-20

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP3736754B2 (ja) 車両用交流発電機の固定子
US6791227B2 (en) Dynamo electric machine and method of manufacturing the same
US9035523B2 (en) Coil for an electric machine and method for producing a coil
US7598637B2 (en) Stator for an electrical machine
US10447108B2 (en) Distributed connection ring assembly for stator assembly
US9806577B2 (en) Stator with neutral line secured to stator yoke
KR102024972B1 (ko) 고정자
US20130300232A1 (en) Method of binding stator coils of motor
US20220006345A1 (en) Compressed strand, stator or rotor of an electrical machine, and electrical machine
US11581773B2 (en) Flat-angled coil having three-dimensional shape for maximizing space factor and electric motor comprising same
US5144182A (en) Skewed rotor assembly
US20130192057A1 (en) Manufacturing method for coil unit
CN111030331B (zh) 马达定子及其形成方法
CN110445280B (zh) 定子端部连接组件及扁线电机
CN108768033A (zh) 电机的扁线定子绕组结构
EP1100179A1 (en) Winding for a motor or a generator
CN210629223U (zh) 定子端部连接组件及扁线电机
US5274292A (en) Collector ring assembly and method
US20200212749A1 (en) Stator of electric rotating machine, hairpin of stator of electric rotating machine and manufacturing method thereof
CN112186934B (zh) 一种扁线电机的汇流排以及扁线电机
CN1279814A (zh) 电磁装置
CN107124058A (zh) 接线装置、定子及其制作方法
TH51344B (th) สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถและวิธีการผลิตสิ่งดังกล่าว
TH64172A (th) สเตเตอร์สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบโรตารีที่ใช้ในรถและวิธีการผลิตสิ่งดังกล่าว
CN107750417A (zh) 用于制造风能设备的发电机的定子的方法以及成型线圈、绕组结构和定子