TH48699A - - Google Patents

Info

Publication number
TH48699A
TH48699A TH1003942A TH0001003942A TH48699A TH 48699 A TH48699 A TH 48699A TH 1003942 A TH1003942 A TH 1003942A TH 0001003942 A TH0001003942 A TH 0001003942A TH 48699 A TH48699 A TH 48699A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
catalyst
group
oxides
characterizes
metals
Prior art date
Application number
TH1003942A
Other languages
English (en)
Other versions
TH23956B (th
TH48699B (th
Original Assignee
นายธเนศ เปเรร่า นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางวรนุช เปเรร่า นางสาวสนธยา สังขพงศ์ นายณัฐพล อร่ามเมือง
Filing date
Publication date
Application filed by นายธเนศ เปเรร่า นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางวรนุช เปเรร่า นางสาวสนธยา สังขพงศ์ นายณัฐพล อร่ามเมือง filed Critical นายธเนศ เปเรร่า นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางวรนุช เปเรร่า นางสาวสนธยา สังขพงศ์ นายณัฐพล อร่ามเมือง
Publication of TH48699A publication Critical patent/TH48699A/th
Publication of TH48699B publication Critical patent/TH48699B/th
Publication of TH23956B publication Critical patent/TH23956B/th

Links

Abstract

DC60 ตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับใช้กับน้ำมันส่วนกลั่นแยกย่อยที่ได้จากการทำไฮโดรีฟายนิ่งนั้น ประกอบด้วยสารตัวพาอลูมินาและอย่างน้อยที่สุดโลหะ และ/หรือออกไซด์ของโลหะเหล่านั้นของ หมู่ VIB หนึ่งชนิด และอย่างน้อยที่สุดโลหะและ/หรือออกไซด์ของโลหะเหล่านั้นของหมู่ VIII หนึ่ง ชนิดที่ได้หนุนพยุงอยู่บนสารตัวพาอลูมินาดังกล่าว ปริมาตรรูพรุนของสารตัวพาอลูมินาดังกล่าว จะไม่น้อยกว่า 0.35 มิลลิลิตร/กรัม โดยที่ปริมาตรรูพรุนของรูพรุนที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 40 ถึง 100 อังสทรอมนั้นจะนับได้ในจำนวนมากกว่าร้อยละ 80 ของปริมาตรรูพรุนรวมทั้งหมด, สารตัวพาอลูมินาได้เตรียมโดยกรรมวิธีการทำแบบพิเศษเฉพาะ ตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวจะมี ลักษณะที่ไวต่อปฏิกิริยาการทำไฮโดรจีเนชั่นค่อนข้างสูงมาก ตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับใช้กับน้ำมันส่วนกลั่นแยกย่อยที่ได้จากการทำไฮโดรีฟายนิ่งนั้น ประกอบด้วยสารตัวพาอลูมินาและอย่างน้อยที่สุดโลหะ และ/หรือออกไซด์ของโลหะเหล่านั้นของ หมู่ VIB หนึ่งชนิด และอย่างน้อยที่สุดโลหะและ/หรือออกไซด์ของโลหะเหล่านั้นของหมู่ VIII หนึ่ง ชนิดที่ได้หนุนพยุงอยู่บนสารตัวพาอลูมินาดังกล่าว ปริมาตรรูพรุนของสารตัวพาอลูมินาดังกล่าว จะไม่น้อยกว่า 0.35 มิลลิลิตร/กรัม โดยที่ปริมาตรรูพรุนของรูพรุนที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 40 ถึง 100 อังสทรอมนั้นจะนับได้ในจำนวนมากกว่าร้อยละ 80 ของปริมาตรรูพรุนรวมทั้งหมด, สารตัวพาอลูมินาได้เตรียมโดยกรรมวิธีการทำแบบพิเศษเฉพาะ ตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวจะมี ลักษณะที่ไวต่อปฏิกิริยาการทำไฮโดรจีเนชั่นค่อนข้างสูงมาก

Claims (6)

1.1. การสัมผัสทำปฏิกิริยากันระหว่างสารละลายของโซเดียม เมททา-อลูมิเนียม หรือ โซเดียม อลูมิเนทกับก๊าซที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ประกอบอยู่เพื่อทำให้เกิดการตกตะกอน โดยที่ค่า pH ในช่วงระหว่างการทำให้ได้การตกตะกอนดังกล่าวที่ได้ควบคุมไว้ในช่วง ตั้งแต่ 6 ถึง 9.5, ระยะเวลาของปฏิกิริยาการทำให้ตกตะกอนดังกล่าวจะน้อยกว่า 40 นาที, อุณหภูมิของ ปฏิกิริยาทำให้ตกตะกอนดังกล่าวจะอยู่ในช่วงตั้งแต่ 10 ถึง 100 องศาเซลเซียส; 2) ทันทีที่ปฏิกิริยาทำให้ตกตะกอนดังกล่าวสิ้นสุดลงจึงเติมสารที่เป็นต่างไปทันทีเพื่อ ทำให้ค่า pH ของสเลอรีนั้นสูงขึ้นเกินกว่า 9.5 หรือทำการแยกเอาสารของแข็งออกจากของเหลว อย่างรวดเร็วและจึงทำการล้าง; และ 3) การเก็บบ่มอลูมิเนียม ไฮเดรทที่ทำได้จากขั้นตอน 2); แล้วจึงทำการแยกเอาสาร ของแข็งออกจากของเหลวและทำการล้าง, ทำสารดังกล่าวให้แห้งและจึงเผาที่อุณหภูมิสูงก็จะได้ สารของแข็ง 2. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่าใน กรรมวิธีการทำที่ 1 นั้นความเข้มข้นของสารละลายโซเดียม เมททา-อลูมิเนท หรือโซเดียม อลูมิเนทดังกล่าวคือ 30 ถึง 300 กรัมอลูมินา/ลิตร; ความเข้มข้นของอลูมิเนียม ซัลเฟท, อลูมเนียม ไนเตรท และอลูมิเนียม คลอไรค์คือ 10 ถึง 120 กรัมอลูมินา/ลิตร; และความเข้มข้น ของสารละลายกรดไนตริกและกรดซัลฟูริกคือร้อยละ 5 ถึง 15 โดยน้ำหนัก 3. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่าใน กรรมวิธีการทำที่ 1 นั้นปฏิกิริยาการทำให้ตกตะกอนเบื้องต้นได้ดำเนินไปที่ค่า pH ตั้งแต่ 6 ถึง 9 และที่อุณหภูมิตั้งแต่ 30 ถึง 90 องศาเซลเซียส; และค่า pH ของการทำให้ตกตะกอนขั้นที่สองอยู่ ระหว่าง 9.5 ถึง 10.5 4. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่าเมื่อ สารตัวพาอลูมินาที่เตรียมได้ในกรรมวิธีการทำที่ 1 หรือที่ 2 นั้นจะมีขั้นตอนการทำขึ้นรูปก่อนที่จะ ทำให้แห้ง 5. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า ความเข้มข้นของสารละลายโซเดียม เมททา-อลูมิเนท หรือโซเดียม อลูมิเนทดังกล่าวที่ใช้ใน กรรมวิธีการทำที่ 2 นั้นคือ 5 ถึง 200 กรัมอลูมินา/ลิตร 6. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 5 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า ความเข้มข้นของสารละลายโซเดียม เมททา-อลูมิเนท หรือโซเดียม อลูมิเนทดังกล่าวคือ 5 ถึง 120 กรัมอลูมินา/ลิตร 7. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่าก๊าซ ที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ประกอบอยู่ที่ใช้ในกรรมวิธีการทำที่ 2 นั้นเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ชนิดบริสุทธิ์ หรือเป็นก๊าซผสมของคาร์บอนไดออกไซด์กับก๊าซเฉื่อยที่ซึ่งไม่ส่งผลกระทบต่อ ปฏิกิริยา 8. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในก๊าซดังกล่าวที่มีคาร์บอนไดออกโซด์ประกอบอยู่ที่ใช้ในกรรมวิธี การทำที่ 2 นั้นจะไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 โดยปริมาตร 9. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 8 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในก๊าซดังกล่าวที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ประกอบอยู่นั้นจะไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 โดยปริมาตร 1 0. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่าใน กรรมวิธีการทำที่ 2 นั้นหลังจากที่ได้เติมสารที่เป็นต่างไปแล้วค่า pH ของสเลอรีจะเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็วเป็นที่ 9.5 ถึง 11.5 1 1. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า สารที่เป็นด่างดังกล่าวที่ใช้ในกรรมวิธีการทำที่ 2 นั้นจะเป็นสารหนึ่งชนิดหรือมากกว่านั้นที่ได้ เลือกสรรจากหมู่ซึ่งประกอบด้วยต่างอนินทรีย์, ด่างอินทรีย์ และสารละลายชนิดน้ำของสารดัง กล่าวเหล่านั้น 1 2. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 11 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า ด่างอนินทรีย์ดังกล่าวคือสารหนึ่งชนิดหรือมากกว่านั้นที่ได้เลือกสรรจากหมู่ซึ่งประกอบด้วย ไฮดรอกไซต์, เมททา-อลูมิเนท, คาร์บอเนทและไบคาร์บอเนทของโลหะอัลคาไล, แอมโมเนียม คาร์บอเนท, แอมโมเนียชนิดน้ำ และสารละลายชนิดน้ำดังกล่าวเหล่านั้น; และด่างอินทรีย์ดังกล่าว คือสารหนึ่งชนิดหรือมากกว่านั้นที่ได้เลือกสรรจากหมู่ซึ่งประกอบด้วยอัมมีนชนิดละลายได้ในน้ำ, คาร์บาไมค์, เพอริดีนและสารละลายชนิดน้ำของสารดังกล่าวเหล่านั้น 1 3. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 12 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า ด่างอินทรีย์ดังกล่าวคือสารหนึ่งชนิดหรือมากกว่านั้นที่ได้เลือกสรรจากหมู่ซึ่งประกอบด้วย อะลิฟาติก อัมมีนชนิดละลายได้ในน้ำ, ไฮโดรคาร์บิล-แอมโมเนียม ไฮดรอกไซด์, ยูเรีย, เพอริ- ดีนและสารละลายชนิดน้ำของสารดังกล่าวเหล่านั้น 1 4. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 13 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า ด่างอินทรีย์ดังกล่าวคือสารหนึ่งชนิดหรือมากกว่านั้นที่ได้เลือกสรรจากหมู่ซึ่งประกอบเมท- ธิลามีน, เอทธิลามีน, โพรพิลามีน, โพรเพนไดอัมมีน, ไอโซเมอร์ของบิวทิลามีน, ไอโซเมอร์ของ เพนทิลามีน, เตตร้าเอทธิลแอมโมเนียม ไฮดรอกไซด์, ยูเรีย, เพอริดีนและสารละลายชนิดน้ำของ สารดังกล่าวเหล่านั้น 1 5. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า โลหะ และ/หรือโหละออกไซด์เหล่านั้นของหมู่ VIB ดังกล่าวคือโลหะชนิดหนึ่งหรือมากกว่านั้นที่ ได้เลือกสรรจากหมู่ซึ่งประกอบด้วยโครเนียม, โมลิปดีนั่ม, ทังสเตนและออกไซด์ของโลหะเหล่า นั้น; และโลหะ และ/หรือโลหะออกไซด์เหล่านั้นของหมู่ VIII ดังกล่าวคือโลหะชนิดหนึ่งหรือมาก กว่านั้นที่ได้เลือกสรรจากหมู่ซึ่งประกอบด้วยโคบอลท์, นิเกิ้ลและออกไซด์ของโลหะเหล่านั้น 1 6. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 15 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า โลหะ และ/หรือโลหะออกไซด์เหล่านั้นของหมู่ VIB ดังกล่าวคือโลหะทังสเตน และ/หรือออกไซด์ ของมัน, โลหะ และ/หรือโลหะออกไซด์เหล่านั้นของหมู่ VIII ดังกล่าวคือนิเกิ้ล และ/หรือออกไซด์ ของมัน; โลหะของหมู่ VIB ดังกล่าวจะมีอยู่ในปริมาณตั้งแต่ร้อยละ 12 ถึง 35 โดยน้ำหนักและ โลหะของหมู่ VIII ดังกล่าวจะมีอยู่ในปริมาณตั้งแต่ร้อยละ 1 ถึง 5 โดยน้ำหนัก, ซึ่งคำนวณเป็น ออกไซด์และเทียบกับปริมาณรวมทั้งหมดของตัวเร่งปฏิกิริยา 1 7. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่าตัว เร่งปฏิกิริยาก็มีฟลูออรีนประกอบอยู่ด้วยในปริมาณตั้งแต่ร้อยละ 1 ถึง 9 โดยน้ำหนักเมื่อเทียบกับ ปริมาณรวมทั้งหมดของตัวเร่งปฏิกิริยา 1 8. กรรมวิธีสำหรับการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่ง ประกอบรวมด้วยการจุ่มแช่สารตัวพาอลูมินาให้เปียกชุ่มไปด้วยสารละลายชนิดน้ำที่มีโลหะของ หมู่ VIB และหมู่ VIII ประกอบอยู่, แล้วจึงทำให้แห้งและเผาที่อุณหภูมิสูงหลังจากการจุ่มแช่ให้ เปียกชุ่มแล้ว โดยที่สารตัวพาเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวนั้นคือสารตัวพาอลูมินาที่เตรียมได้โดยกรรมวิธี การทำที่ 1 และ/หรือที่ 2 ตามที่ได้อธิบายในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 1 9. กรรมวิธีการทำที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 18 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า สารตัวพาเร่งปฏิกิริยานั้นได้ถูกจุ่มแช่ให้เปียกชุ่มด้วยสารละลายชนิดน้ำที่มีฟลูออรีนประกอบอยู่, แล้วจึงทำให้แห้งและเผาที่อุณหภูมิสูงก่อนที่สารตัวพาเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวได้ถูกจุ่มแช่ให้เปียกชุ่ม ด้วยสารละลายชนิดน้ำที่มีโลหะของหมู่ VIB และหมู่ VIII 2 0. กรรมวิธีการทำที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อทื่ 18 หรือ 19 ซึ่งบ่งคุณลักษณะ เฉพาะที่ว่าหลังจากที่มีการจุ่มแช่สารตัวพาเร่งปฏิกิริยาให้เปียกชุ่มด้วยสารละลายชนิดน้ำที่มี โลหะของหมู่ VIB และหมู่ VIII ประกอบอยู่ หรือหลังจากที่มีการจุ่มแช่สารตัวพาเร่งปฏิกิริยาให้ เปียกชุ่มด้วยสารละลายชนิดน้ำที่มีฟลูออรีนประกอบอยู่แล้ว จึงให้อุณหภูมิในการเผาตั้งแต่ 400 ถึง 600 องศาเซลเซียสและระยะเวลาที่ใช้เผาตั้งแต่ 1 ถึง 8 ชั่วโมง 2
1. การสัมผัสปฏิกิริยวกันระหว่างสารละลายของโซเดียม เมททา-อลูมิเนท หรือ โซเดียม อลูมิเนทกับก๊าซที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ประกอบอยู่เพื่อทำให้เกิดการตกตะกอน โดยที่ค่า pH ในช่วงที่ทำให้เกิดการตกตะกอนดังกล่าวที่ได้ถูกควบคุมไว้ให้อยู่ที่ค่าตั้งแต่ 6 ถึง 9.5, ระยะเวลาของปฏิกิริยาการทำให้ตกตะกอนดังกล่าวจะน้อยกว่า 40 นาที และอุณหภูมิของ ปฏิกิริยาการทำให้ตกตะกอนดังกล่าวจะอยู่ในช่วงตั้งแต่ 10 ถึง 100 องศสเซลเซียส; 2) ทันทีที่ปฏิกิริยาทำให้ตกตะกอนดังกล่าวสิ้นสุดลงจึงเติมสารที่เป็นด่างไปทันทีเพื่อ ทำให้ค่า pH ของสเลอรีนั้นสูงขึ้นเกินกว่า 9.5 หรือทำการแยกเอาสารของแข็งออกจากของเหลว อย่างรวดเร็วและจึงทำการล้าง; และ 3) การเก็บบ่มอลูมิเนียม ไฮเดรทที่ทำได้จากขั้นตอน 2); แล้วจึงทำการแยกเอาสาร ของแข็งออกจากของเหลวและทำการล้าง, ทำสารดังกล่าวให้แห้งและจึงเผาที่อุณหภูมิสูงก็จะได้ สารของแข็ง 2
2. สารตัวพาอลูมินาที่ถูกทำขึ้นโดยกรรมวิธีของข้อถือสิทธิที่ 21 2
3. ตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับน้ำมันส่วนกลั่นแยกย่อยที่ได้จากการทำไฮโดรรีฟายนิ่ง ซึ่งประกอบรวมด้วยสารตัวพาที่ถูกเผาที่อุณหภูมิสูง และอย่างน้อยที่สุดโลหะชนิดหนึ่ง และ/หรือ ออกไซด์ของโลหะดังกล่าวของธาตุหมู่ VIB และอย่างน้อยที่สุดโลหะชนิดหนึ่ง และ/หรือ ออกไซด์ของโลหะดังกล่าวของธาตุหมู่ VIII ชนิดหนึ่งที่ได้หนุนพยุงอยู่บนสารตัวพาอลูมินา ซึ่งบ่ง คุญลักษณะเฉพาะที่ว่า ปริมาตรรูพรุนของสารตัวพาอลูมินาจะไม่น้อยไปกว่า 0.35 มิลลิลิตร/กรัม และซึ่งปริมาตรรูพรุนของรูพรุนต่าง ๆ ที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ตั้งแต่ 40-100 อังสตรอม นั้น จะนับได้ในจำนวนที่มากกว่าร้อนละ 80 ของปริมาตรรูพรุนรวมทั้งหมด 2
4. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สองคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 23 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ ว่าโลหะดังกล่าว และ/หรือ ออกไซด์ของโลหะดังกล่าวของธาตุหมู่ VIB คือ สสารชนิดหนึ่งหรือ มากกว่าที่เลือกได้จากกลุ่มที่ประกอบด้วย โครเมียม, โมลิบดีนั่ม, ทังสเตน และออกไซด์ของโลหะ เหล่านั้น และโลหะดังกล่าว และ/หรือ ออกไซด์ของโลหะดังกล่าวของธาตุหมู่ VIII คือ สสารชนิด หนึ่ง หรือมากกว่าที่เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยโคบอลท์, นิเกิ้ล และ/หรือ ออกไซด์ของโลหะ เหล่านั้น 2
5. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สองคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 23 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ ว่า โลหะดังกล่าว และ/หรือ ออกไซด์ของโลหะดังกล่าวของธาตุหมู่ VIB คือ โลหะทังสเตน และ/หรือ ออกไซด์ของมัน โลหะดังกล่าว และ/หรือ ออกไซด์ของโลหะดังกล่าวของธาตุหมู่ VII คือ นิเกิ้ล และ/หรือ ออกไซด์ของมัน โลหะดังกล่าวธาตุหมู่ VIB มีอยู่ในปริมาณร้อยละ 12-35 โดยน้ำหนัก และโลหะดังกล่าวของธาตุหมู่ VII มีอยู่ในปริมาณร้อยละ 1-5 โดยน้ำหนัก ซึ่ง คำนวณเป็นออกไซด์และเทียบกับปริมาณรวมทั้งหมดของตัวเร่งปฏิกิริยา 2
6. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่สองคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 23 ซึ่งบ่งคุณลักษณะเฉพาะที่ ว่า ตัวเร่งปฏิกิริยายังมีฟลูออรีนอยู่ด้วยในปริมาณร้อยละ 1-9 โดยน้ำหนัก เทียบกับปริมาณรวมทั้ง หมดของตัวเร่งปฏิกิริยา
TH1003942A 2000-10-13 ตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับน้ำมันส่วนกลั่นแยกย่อยที่ได้จากการทำไฮโดรรีฟายนิ่ง, สารตัวพาของตัวเร่งปฏิกิริยาและการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าว TH23956B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH48699A true TH48699A (th) 2001-12-17
TH48699B TH48699B (th) 2001-12-17
TH23956B TH23956B (th) 2008-06-27

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CN109012656B (zh) 一种有序介孔γ-MnO2催化剂及其制备方法和应用
GB1502003A (en) Catalyst carrier method for preparing the catalyst carrier a catalyst containing the carrier and a hydrocarbon hydrodesulphurization process using the catalyst
RU2670606C9 (ru) Катализатор, способ его получения, применение и способ извлечения серы
CA1064894A (en) Process for producing denitrating catalysts
JPH02169032A (ja) 窒素酸化物の選択的還元法に使用できる新規な触媒
AU619981B2 (en) Process for preparing catalyst for oxidation of carbon monoxide to carbon dioxide
US3993731A (en) Selective removal of nitrogen oxides from waste gas
JPS59199042A (ja) メタノ−ル改質用触媒
US4946661A (en) Process for removing nitrogen oxides
US4124536A (en) Catalyst for reducing nitrogen oxides
DK171722B1 (da) Fremgangsmåde til katalytisk lavtemperaturoxidation af ammoniak i en ammoniakholdig gas
JPH05212282A (ja) 硫黄化合物含有ガスを処理するための触媒及び方法
DK141836B (da) Fremgangsmåde til katalytisk reduktion af nitrogenoxider i afgangsgas, især fra eksplosionsmotorer og salpetersyreanlæg.
JPH07148430A (ja) 金属酸化物を含む新規な触媒及びその触媒を用いるガスの処理方法
TH48699A (th)
PL82477B1 (th)
US4460553A (en) Process for the hydrodesulfurization of natural gas containing organic sulfur compounds and oxygen
US4112053A (en) Dry method for the denitrification of exhaust gas containing nitrogen oxides
JPS60235637A (ja) ガス用吸着剤の製造法
US4039481A (en) Catalyst carrier and method of manufacturing same
US4199555A (en) Catalyst for reducing nitrogen oxides
US3207703A (en) Supported vanadium oxide catalysts and process for preparing same
JPH04260442A (ja) 水 素 化 処 理 触 媒 の 製 造 方 法
CN106563467A (zh) 一种用于消除环境空气中一氧化碳的整体式净化材料及制备和应用
JPS5546370A (en) Burning method for hydrocarbon, etc.