TH4607B - อนุพันธ์ของเททราไฮโดรฟิวแรน กรรมวิธีในการเตรียมสารเหล่านั้นและการใช้สารเหล่านั้นเป็นสารฆ่าเชื้อรา - Google Patents

อนุพันธ์ของเททราไฮโดรฟิวแรน กรรมวิธีในการเตรียมสารเหล่านั้นและการใช้สารเหล่านั้นเป็นสารฆ่าเชื้อรา

Info

Publication number
TH4607B
TH4607B TH8701000215A TH8701000215A TH4607B TH 4607 B TH4607 B TH 4607B TH 8701000215 A TH8701000215 A TH 8701000215A TH 8701000215 A TH8701000215 A TH 8701000215A TH 4607 B TH4607 B TH 4607B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
atoms
compound
formula
radicals
alkyl
Prior art date
Application number
TH8701000215A
Other languages
English (en)
Other versions
TH5120EX (th
TH5120A (th
Inventor
เปแปง นายเรกิส
ไกรเนอร์ นายแอลเฟรด
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายดำเนิน การเด่น นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายดำเนิน การเด่น นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายวิรัช ศรีเอนกราธา filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH5120EX publication Critical patent/TH5120EX/th
Publication of TH5120A publication Critical patent/TH5120A/th
Publication of TH4607B publication Critical patent/TH4607B/th

Links

Abstract

อนุพันธ์เททราไฮโดรฟิวแรนของสูตร (สูตรเคมี) ซึ่ง A แทน (Y)n ?Ph-(CH2)m- ซึ่ง Ph คือ เฟนิล, m คือ 0 หรือ 1, Y คือ เฮโลเจน, ไซแอนโน,ไนโทร, แอลคิลหรือแอลคอกซิซึ่งเลือกจากเฮโลจิเนท, n คือ o หรือ 1 ถึง 5 Tr คือ 1,2,4-ไทรอะโซล-1-อิล และ Im คือ 1,3-อิมิดาโซล-1-อิล, R1,R2 R3,R4 และ R5, แทน ไฮโดรเจน, แอลคิล, ไซโคลแอลคิล, แอริล, แอแรลคิล,แอลคอกซิขนาดเล็ก, แอลคาโนอิลขนาดเล็กหรือ แอโรอิล X1 และ X2 แทน ไฮโดรเจน, เฮโลเจน, แอลคิล, ไซโคลแอลิคล, แอริลหรือแอแรลคิล,Q-R6 ซึ่ง Q แทน o หรือ S, และR6แทน ไฮโดรเจน, แอลคิล, ไซโคลแอลคิล,แอริล, แอแรลคิล,แอซิล, แอโรอิล หรือ ไธโอแอซิล, แอลคอกซิไธโออิล, แอริลออกซิไธโออิล หรือ แอแรลคิลออกซิไธโออิล -NR8R9 ซึ่ง R8 และ R9 แทนไฮโดรเจน, แอลคิล, ไซโคลแอลคิล, แอริลหรือ แอแรลคิล, หรือ R8 และR9 รวมกันเป็นอนุมูลไฮโดรคาร์บอน ชนิดไดเวเลนท์, ซึ่งคาร์บอนอะตอมหนึ่งเลือกถูกแทนที่ด้วยออกซิเจน, กำมะถันหรือไนโตรเจน N3 หรือ X1 และ X2 รวมกันแทน ?Q-R7-Q- ซึ่ง R7 คืออนุมูล ไฮโดรคาร์บอน C2-6 ชนิดไดเวเลนท์ มีคาร์บอนจาก 2 ถึง 6 อะตอม, คาร์บอนอะตอมหนึ่งเลือกถูกแทนที่ด้วยออกซิเจนหรือไนโทรเจน หรือ X1 และ X2 รวมกันแทน =N-R10 ซึ่ง R10 แทนหมู่แอลคิล, ไซโคลแอลคิล, แอริลหรือแอแรลคิลหรือหมู่ OR11 ซึ่ง R11 คืแอลคิล, แอแรลคิลหรือ แอริล, หรือ R10 แทนไฮดรอกซิ, หรือ X1 และ X2 รวมกันแทน =0 หรือ =S โดยมีข้อกำหนดคือ X1 และX2 ไม่ได้แทนอะตอมหรืออนุมูล จากกลุ่มที่ประกอบด้วยไฮโตรเจนแอลคิล, ไซโคลแอลคิล, แอริล หรือแอแรลคิล, พร้อมกัน และเกลือของมัน, และสารเชิงซ้อนที่เกิดจากสารนั้นรวมตัวกับเกลือของโลหะ, มีคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อรา

Claims (9)

1. สารประกอบซึ่งมีหมู่ไทรอะโซลหรืออิมิดาโซล เททระไฮโดรฟิวแรนและเฟนิล มีลักษณะเฉพะาคือ ตรงกับสูตรทั่วไป(I) (สูตรเคมี) ซึ่ง A คือหมู่ (Y)n-Ph-(CH2)m-, ซึ่ง Ph คือ วงเฟนิล และ m = 0 หรือ 1, Y คือ เฮโลเจนอะตอมหรือหมู่ไซแอโน หรือไนไทร, หรือหมู่แอลคิล หรือแอลคอกซิซึ่งเลือกถูกเฮโลจิเนท, N คือ 0 หรือเลขจำนวนเต็มบวกที่น้อยกว่า 6, หมู่ Y อาจเหมือนกันหรือต่างกัน เมื่อ n มากกว่า 1, Tr แทนหมู่ 1,2,4-ไทรอะโซล-1-อิล และ Im คือหมู่ 1,3-อิมิดาโซล-1-อิล R1 ถึง R5 ซึ่งอาจเหมือนกันหรือ ต่างกัน, แทนไฮโดรเจนอะตอม หรืออนุมูลชนิดตรงหรือโซ่กิ่งที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, อนุมูลโซโคลแอลคิลซึ่งมีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, อนุมูลเฟนิลหรือเบนซิล หรืออนุมูลแอลคอกซิที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, เป็นไปได้ที่อนุมูลต่างๆ เหล่านี้อาจเลือกให้ถูกแทนที่ด้วยเฮโลเจนอะตอม หรืออนุมูลแอลคอกซิที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, หมู่หนึ่งหรือมากกกว่า X1 และ X2 ซึ่งอาจเหมือนกันหรือต่างกัน, แทนไฮโดรเจนอะตอม, เฮโลเจนอะตอม, อนุมูลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, อนุมูลไซโคลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, หรืออนุมูลเฟนิลหร อ เบนซิล เป็นไปได้ที่อนุมูลต่างๆ เหล่านี้อาจเลือกถูกแทนที่คล้ายกับหมู่ R1 ถึง R5 หมู่ Q-R6 ซึ่ง Q แทน O หรือ S และ R6 แทนไฮโดรเจนอะตอม หรืออนุมูลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, อนุมูลไซโคลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, หรืออนุมูลเฟนิล, เบนซิล, เบนโซอิล หรือแอซิล, เป็นไปได้ที่อนุมูลต่างๆ เหล่านี้อาจเลือกถูกแทนที่คล้ายกับหมู่ R ถึง R5 และอาจมีความหมายเหมือนกันหรือต่างกัน เมื่อ X1 และ X2 แต่ละหมู่คือ OR6 หรือ SR6 หมู่ที่มีสูตร ?Q-R7-Q-, ซึ่ง Q มีความหมายเหมือนกับข้างบนและซึ่ง R7 คืออนุมูลไดเวเลนท์ไฮโดรคาร์บอนที่มคาร์บอนจาก 2 ถึง 6 อะตอม, เป็นไปได้ที่คาร์บอนอะตอมเหล่านี้อะตอมหนึ่งจะถูกแทนที่ด้วยออกซิเจนหรือไนโตรเจนอะตอม, อนุมูลไดเวเลนท์ที่กล่าวแล้วนั้นอาจเลือกถูกแทนที่ด้วยเฮโลเจนอะตอม หรือหมู่ไฮดรอกซิล,อนุมูลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม หรืออนุมูลแอลคอกซิซึ่งมีคาร์บอนมากที่ทสุด 6 อะตอม, หมู่หนึ่งหรือมากกว่า หมู่-N-R8R9 ซึ่ง R8 และ R9 อาจเหมือนกันหรือต่างกันแทนไฮโดรเจนอะตอมหรืออนุมูลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, อนุมูลไซโคลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, หรืออนุมูลเฟนิล, เป็นไปได้ที่อนุมูลต่างๆ เหล่านี้อาจเลือกถูกแทนที่คล้ายกับหมู่ R1 ถึง R5 ทางเลือกอย่างหนึ่ง R8 และ R9 รวมกันสามารถเกิดเป็นอนุมูลไดเวเลนไฮโดรคาร์บอนเดี่ยว ซึ่งมีคาร์บอนจาก 2 ถึง 6 อะตอม,เป็นไปได้ที่คาร์บอนอะตอมเหล่านี้อะตอมหนึ่งจะถูกแทนที่ด้วย ออกซิเจน กำมะถัน หรือ ไนโตรเจนอะตอม, อนุมูลไดเวเลนท์ที่กล่าวแล้วนั้นอาจเลือกถูกแทนที่ ด้วยเฮโลเจนอะตอม หมู่ไฮดรอกซิล, อนุมูลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม หรือเลือกแทนที่ด้วยอนุมูลแอลคอกซิซึ่งถูกเฮโลจิเนทซึ่งมีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, หมู่หนึ่งหรือมากกว่า หมู่ =N-R10 ซึ่ง R10 คือ อนุมูลแอลคิลที่คาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, หรืออนุมูลไซโคลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, หรือหมู่ที่มีสูตร OR11 ซึ่ง R11 คือแอลคิลเป็นไปได้ที่อนุมูลต่างๆ เหล่านี้อาจเลือกถูกแทนที่คล้ายกับหมู่ R1 ถึง R5 หรือหมู่ไฮดรอกซิล หมู่ N3 โดยมีข้อกำหนดคือ X2 ไม่ใช่ N3 X1 หรือ X2 สามารถเป็น =0 หรือ =S, โดยอีกหมู่หนึ่งไม่มี, ในสภาวะทั่ว ๆ ไป X1 และ X2 ไม่สามารถแทนไฮโดรเจนอะตอมพร้อมๆกัน หรือคืออนุมูลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, อนุมูลไซโคลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, อนุมูลเฟนิล หรืออนุมูลเบนซิล, พร้อมๆ กัน, และถ้า X1 และ X2 ต่างกันและไม่มีหมู่ใดคือ OR6 แล้ว, ในกรณีเช่นนี้เท่านั้น R6 สามารถเป็นไดเฉพาะหมู่เบนโซอิลหรือแอซิล, และรูปเกลือของสารเหล่านั้น 2. สารประกอบตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ m=0, n=1, 2 หรือ 3 และ Y คือเฮโลเจนอะตอม 3. สารประกอบตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ n=1 หรือ 2 และ Y คือเฮโลเจนอะตอมที่ตำแหน่งออโธและ/หรือพารา 4. สารประกอบตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ Y คือคลอรีน หรือโบรมีนอะตอม 5. สารประกอบไทรอะโซลตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตรงกับสูตร II (สูตรเคมี) ซึ่ง Y,m และ n มีความหมายอย่างหนึ่งของที่แสดงไว้ในสารประกอบสูตร I, R1 ถึง R5 คือ ไฮโดรเจนอะตอม หรือหมู่แอลคิล หรือไซโคลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, Hal คือ เฮโลเจนอะตอม และ X1 คือ เฮโลเจน หรือไฮโดรเจนอะตอม 6. สารประกอบตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ Halคือคลอรีน หรือโบรมีน และ X1 คือคลอรีนหรือโบรมีน 7. สารประกอบไทรอะโซลตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือตรงกับสูตร III (สูตรเคมี) ซึ่ง Y,m และ n มีความหมายอย่างหนึ่งของที่แสดงไว้ในสารประกอบสูตร I,R1 ถึง R5 คือ ไฮโดรเจนอะตอม หรือหมู่แอลคิล หรือไซโคลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, X1 คือ ไฮโดรเจนอะตอม หรือหมู่แอลคิล หรือไซโคลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม, Q มีความมหายเหมือนกับในสูตร I และ R6 คือ ไฮโดรเจนอะตอม หรือหมู่แอลคิล หรือไซโคลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม 8. สารประกอบตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือหมู่ R1 ถึง R5 คือไฮโดรเจนอะตอมหรือหมู่แอลคิล หรือไซโคลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม และ R6 คือหมู่แอลคิลหรือไซโคลแอลคิลที่มีคาร์บอนมากที่สุด 6 อะตอม และเลือกถูกแทนที่คล้ายกับหมู่ R1 ถึง R5 9. กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารประกอบสูตร II ซึ่ง R1ถึง R5 A,Y, n และ X1 มีความหมายเหมือนกับในข้อถือสิทธิข้อ 1 และHal คือเฮโลเจนอะตอม ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ต่อไปนี้ ขั้น a เฮโลคีโทนสูตร IIa (สูตรเคมี) ซึ่ง Y, n และ R5 มีความหมายเหมือนกับที่ให้ไว้สำหรับสารประกอบสูตร I และ Z คือเฮโลเจนอะตอม ให้ทำปฏิกิริยากับสารประกอบโลหะอินทรีย์สูตร IIb (สูตรเคมี) ได้สารประกอบสูตรIIc (สูตรเคมี) ขั้น b ให้สารประกอบสูตร IIc ทำปฏิกิริยากับอิมิดาโซล หรือไทรอะโซลซึ่งไม่ถูกแทนที่โดยมีเบสอินทรีย์หรืออนินทรีย์อยู่ด้วยและทำในตัวทำละลายที่เหมาะสม, ขั้น c เติมเฮโลเจนโมเลกุล หรือโมเลกุลเฮโลเจนผสมลงในสารประกอบ (สูตรเคมี) ในตัวทำละลายเฉื่อย จะได้สารประกอบ IIe (สูตรเคมี) ขั้น d ได้สารประกอบ II โดยการไซไคลส์ สารประกอบ IIe โดยมีเบสอินทรีย์หรืออินทรีย์อยู่ด้วย 1 0. กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารประกอบ II ซึ่ง R1 ถึง R5, Y,n, A และ X1 มีความหมายเหมือนกับในข้อถือสิทธิข้อ 1 และHal คือเฮโดลเจนอะตอม มีลักษณะเฉพาะคือ เติมเฮโลเจนโมเลกุลหรือเฮโลเจนโมเลกุลผสมในตัวทำละลายเฉื่อยลงในารประกอบ IIcตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ได้สารประกอบ IIf (สูตรเคมี) ให้สารประกอบหลังนี้ไซไคลส์โดยมีเบสอินทรีย์หรืออนินทรีย์อยู่ด้วยได้สารประกอบ IIg (สูตรเคมี) ให้หมู่ไทรอะโซล หรืออิมิดาโซลซึ่งไม่ถูกแทนที่ต่อเข้าไปโดยมีเบสอินทรีย์หรืออนินทรีย์อยู่ด้วย และทำในตัวทำละลายที่เหมาะสม 1
1. กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารประกอบสูตร III หรือ V (สูตรเคมี) ซึ่ง R1 ถึง R6,Y,n,A และX1 มีความหมายเหมือนกับในข้อถือสิทธิข้อ 1และ Q คือ ออกซิเจนหรือกำมะถันอะตอม, มีลักษณะเฉพาะคือ ให้สารประกอบสูตร II หรือ IIg ทำปฏิกิริยากับนิวคลิโอไฟล์ที่มีเฮเทอโร อะตอมสูตร R6-Q-E ซึ่ง R6 และ Q มีความหมายเหมือนกับในสารประกอบสูตร I และ E คือ แคทไอออน, โดยมีเบน หรือเลือกมีตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดถ่ายเทวัฎภาคอยู่ด้วย, และในกรณีซึ่งสารตั้งต้นคือสารประกอบ IIg, ให้อิมิดาโซล หรือไทรอะโซลชนิดไม่ถูกแทนที่ต่อเข้าไป 1
2. กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารประกอบสูตร III ซึ่ง R6 คือหมู่แอลคิลซึ่งเลือกถูกมอนอ- หรือพอลิเฮโลจิเนเทด ซึ่งมีคาร์บอนมากที่สุด6 อะตอม, มีลักษณะเฉพาะคือ ให้สารประกอบสูตร III หรือ IIIa ซึ่ง R, คือ ไฮโดรเจนอะตอม, ทำปฎิกิริยากับแอลคิล เฮไลด์ (ซึ่งถูกมอนอ- หรือพอลิเฮโลจิเนทที่เหมาะสม) โดยมีเบสอินทรีย์หรืออนินทรีย์อยู่ด้วย, และทำให้วงอิมิดาโซลหรือไทรอะโซลต่อเข้าไปถ้าสารเริ่มต้นคือ สารประกอบ IIIa (สูตร) 1
3. กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารประกอบสูตร IV (สูตรเคมี) ซึ่งR1 ถึง R5,n,Y และ A มีความหมายเหมือนในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่ง X1 และ X2 รวมกันแทนออกซิเจนอะตอม, มีลักษณะเฉพาะคือ นำสารประกอบสูตร III หรือ IIIa ซึ่งY,n และ R1 ถึง R5 มีความหมายเหมือกับในข้อถือสิทธิข้อ 1 และ Z คือ เฮโลเจนอะตอม, และ QR6 คือหมู่ไฮดรอกซิล และ X1 คือ ไฮโดรเจนอะตอม, มาออกซิไดส์, และเมื่อสารเริ่มต้นคือ สารประกอบ IIIa, ทำให้วงอิมิดาโซลหรือไทรอะโซลต่อเข้าไป 1
4. กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารประกอบสูตร IV ซึ่ง X1 และ X2 รวมกันคือ กำมะถันอะตอม และ Y, n และ R1 ถึง R5 มีความหมายเหมือนกับในข้อถือสิทธิข้อ 1 มีลักษณะเฉพาะคือนำสารประกอบสูตร IV ซึ่ง X1 และ X2 รวมกันคือออกซิเจนอะตอม มาทำปฏิกิริยาไธโอเนชัน 1
5. กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารประกอบสูตร V มีลักษณะเฉพาะคือให้สารประกอบสูตร IV หรือ IVa (สูตรเคมี) ซึ่ง X1 และ X2 รวมกันคือ ออกซิเจน หรือกำมะถันอะตอม ซึ่งเกิดพันธะคู่กับเททระไฮโดรฟิวแรน, ทำปฏิกิริยากับสารประกอบสูตร HQR6, ซึ่ง O หรือ S โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยาที่เป็นกรด และมีตัวทำละลายที่เหมาะสม, ซึ่งสามารถเป็นแอลกอฮอล์หรือไธออลนั้นเองหรือตัวทำละลายเฉื่อย ถ้าสร้างตั้งต้นคือ สารประกอบสูตร IVa จะได้สารประกอบสูตร Va, และทำให้วงอิมิดาโซล หรือไทรอะโซลต่อเข้าไปกับสารประกอบสูตร Va 1
6. กรรมวิธีสำหรับเตรียมสารประกอบสูตร II ซึ่ง R1 ถึง R5 n,Y และ A มีความหมายเหมือนกับในข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่ง X1 และ X2 คือเฮโลเจนอะตอม,ควรเป็นคลอรีนหรือโบโรมีน, มีลักษณะเฉพาะคือ นำสารประกอบสูตร III หรือ IIIa ซึ่ง Y,n,R1 ถึง R5 และ A มีความหมายเหมือนกับในข้อถือสิทธิข้อ 1 และ Z คือ เฮโลเจนอะตอม, และ QR6 คือหมู่ไฮดรอกซิล และ X1 คือไฮโดรเจนอะตอม, มาออก ซิไดส์และเติมฟอสฟอรัส เพนทะคลอไรด์ลงไปในคีโทน (สารประกอบสูตร IV ซึ่ง X1 คือ ออกซิเจนอะตอม), โดยเลือกมีตัวทำละลายอะโพรทิคโพลาร์ และเลือกมีควอเทอร์แนรี แอมโนเนียม เฮไลด์อยู่ด้วย, ควรทำที่อุณหภูมิห้อง 1
7. สารประกอบซึ่งสามารถใช้เป็นสารขั้นกลางในกรรมวิธีเตรียมของข้อถือสิทธิข้อ 9 ถึง 16 เมื่อเหมาะสม ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือ เป็นสารประกอบที่มีสูตร IIIc และ IIIe (สูตรเคมี) ซึ่ง R1 ถึง R5, Y, A, m, n, X1 และ X2 มีความหมายอย่างหนึ่งอย่างใดของความหมายที่กล่าวไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1หรือ 8 1
8. การใช้สารประกอบตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่งเป็นสารฆ่ารา โดยเฉพาะในรูปของสารผสมสำหรับฆ่าราซึ่งมีสารประกอบตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่งเป็นสารแสดงฤทธิ์ ควรมีอยู่ 0.5 ถึง 9.5% โดยน้ำหนัก ผสมสารแสดงฤทธิ์นี้กับพาหะเฉื่อยซึ่งเป็นที่ยอมรับทางการเกษตรอย่างน้อยชนิดหนึ่ง 1
9. กรรมวิธีสำหรับควบคุมโรคจากเชื้อราของพืช ซึ่งมีลักษณะเฉพาะคือใช้สารแสดงฤทธิ์ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่งในขนาดสารที่ทำให้เกิดผล ควรใช้ในอัตรา 0.005 ถึง5 กก./เฮกตาร์ และมีข้อได้เปรียบเมื่อใช้ในอัตรา 0.01 ถึง0.5 กก./เฮกตาร์
TH8701000215A 1987-04-22 อนุพันธ์ของเททราไฮโดรฟิวแรน กรรมวิธีในการเตรียมสารเหล่านั้นและการใช้สารเหล่านั้นเป็นสารฆ่าเชื้อรา TH4607B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH5120EX TH5120EX (th) 1988-09-01
TH5120A TH5120A (th) 1988-09-01
TH4607B true TH4607B (th) 1995-07-10

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
ATE289989T1 (de) Ionische flüssigkeiten und ihre verwendung
MY108800A (en) 5-aryl isoxazole derivatives, compositions containing them, process for their preparation and their use as herbicides
GB1514285A (en) Pyrazoline compounds
KR930022947A (ko) 제초조성물, 그의 제조방법 및 제초제로서의 사용
ATE6780T1 (de) Substituierte 3-isothiazolone, ihre salze und metallsalzkomplexe, zusammensetzungen, die diese verbindungen enthalten, und ihre verwendung zur bekaempfung von bakterien, algen und pilzen.
GB1430046A (en) Nitrobenzene derivatives
GB1398196A (en) Pyrazoline compounds having insecticidal activity
TH4607B (th) อนุพันธ์ของเททราไฮโดรฟิวแรน กรรมวิธีในการเตรียมสารเหล่านั้นและการใช้สารเหล่านั้นเป็นสารฆ่าเชื้อรา
TH5120A (th) อนุพันธ์ของเททราไฮโดรฟิวแรน กรรมวิธีในการเตรียมสารเหล่านั้นและการใช้สารเหล่านั้นเป็นสารฆ่าเชื้อรา
ATE27158T1 (de) 2-imidazolylmethyl-2-phenyl-1,3-dioxolane, verfahren zu ihrer herstellung sowie ihre verwendung als fungizide.
GB1312493A (en) Ureidophenylthioureas a process for their preparation and their use as gungicides
IE871033L (en) Tetrahydrofuran-triazole or imidazole fungicides
GB1395020A (en) Pyridylium-s-triazines for regulating plant growth
IE37629L (en) Herbicidal triazines.
KR890008142A (ko) 6,7-디히드로-[1,2,4]트리아졸로[1,5-a][1,3,5]트리아진-2-술폰아미드, 그의 제조방법 및 제초제 및 식물 생장 조절제로서의 용도
GB1388394A (en) Substituted cinnamanilides and biocidal uses thereof
GB1508542A (en) Hardening of gelatin
KR880011087A (ko) 제초제
GB1227295A (th)
SE8100237L (sv) Imidazol-hydrazon-derivat
GB1450358A (en) Trisubstituted triazine derivatives
WO1998013341B1 (en) Hydroxybenzophenone derivatives as herbicides
ATE98639T1 (de) 1-halogenvinyl-azole und diese enthaltende fungizide und wachstumsregulatoren.
GB1511956A (en) Triazole derivatives and their use as fungicides
TH5120EX (th) อนุพันธ์ของเททราไฮโดรฟิวแรน กรรมวิธีในการเตรียมสารเหล่านั้นและการใช้สารเหล่านั้นเป็นสารฆ่าเชื้อรา