TH3944B - กระบวนการและเครื่องมือสำหรับการทำให้บุ๋มลงและการปรุพรุนแผ่นผืนโพลีเมอร์ - Google Patents

กระบวนการและเครื่องมือสำหรับการทำให้บุ๋มลงและการปรุพรุนแผ่นผืนโพลีเมอร์

Info

Publication number
TH3944B
TH3944B TH8601000254A TH8601000254A TH3944B TH 3944 B TH3944 B TH 3944B TH 8601000254 A TH8601000254 A TH 8601000254A TH 8601000254 A TH8601000254 A TH 8601000254A TH 3944 B TH3944 B TH 3944B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
sheet
forming structure
film
fluid
pressure difference
Prior art date
Application number
TH8601000254A
Other languages
English (en)
Other versions
TH4171A (th
TH4171EX (th
Inventor
คลาร์ค แบรด์ นายเจมส์
เคลลี ลินแมน นายเอ็ลเมอร์
เลอรอย เกิร์ธ นายโดแนลด์
โจเซฟ เคอร์โร นายจอห์น
เมอร์ริลล์ เวอร์นอน นายยอร์จ
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH4171A publication Critical patent/TH4171A/th
Publication of TH4171EX publication Critical patent/TH4171EX/th
Publication of TH3944B publication Critical patent/TH3944B/th

Links

Claims (7)

1. กระบวนการแบบหลายขั้นตอนและต่อเนื่อง สำหรับการทำให้บุ๋มลงและการปรุพรุนแผ่นผืนที่โดยหลักแล้วต่อเนื่องของฟิล์มโพลีเมอร์ที่โดยหลักแล้วแบนราบ เพื่อผลิตแผ่นผืนโพลีเมอร์ที่มีรูเปิดแบบสามมิติซึ่งถูกทำให้ยืดออกอย่างสังเกตได้ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวประกอบด้วยขั้นตอนของ (ก) การรองรับแผ่นของฟิล์มดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง บนโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปที่มีรูเปิดขนาดละเอียดจำนวนมาก ซึ่งทำให้ผิวหน้าที่หันเข้าหากันของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวเข้าสู่การเชื่อมโยงเชิงการไหลซึ่งกันและกัน ซึ่งโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวเคลื่อนที่ในทิศทางขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นของฟิล์มดังกล่าวและนำแผ่นผืนของฟิล์มไปในทิศทางดังกล่าว (ข) การป้อนผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกอย่างต่อเนื่องในเชิงหลักการ ลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวตามทิศทางการเคลื่อนที่ดังกล่าวของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวที่มีรูเปิดขนาดละเอียดดังกล่าว ซึ่งผลต่างความดันของของไหลดังกล่าวมากพอที่จะทำให้แผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวฉีดขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดขนาดละเอียดดังกล่าวในโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว (ค) การรองรับแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวอย่างต่อเนื่องบนโครงสร้างสำหรับการขั้นรูปที่มีหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ ซึ่งกำหนดขึ้นโดยรูเปิดที่มีหน้าตัดที่สังเกตได้จำนวนมาก ซึ่งทำให้ผิวหน้าที่หันเข้าหากันของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว เข้าสู่การเชื่อมโยงเชิงของเหลวซึ่งกันและกัน โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวเคลื่อนที่ในทิศทางขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวและนำแผ่นผืนของฟิล์มไปในทิศทางดังกล่าว และ (ง) การป้อนผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สองอย่างต่อเนื่องในเชิงหลักการลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าว ตามทิศทางการเคลื่อนที่ดังกล่าวของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว ซึ่งผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สองดังกล่าวมากพอที่จะทำให้แผ่นผืนของฟิล์ม ถูกผลักดันเข้าสู่ความกระชับอย่างมากกับหน้าตัดที่มีสามมิติอย่างสังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว ในขณะที่รูเปิดขนาดละเอียดดังกล่าวยังคงลักษณะที่เกิดจากการผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกดังกล่าวมาแล้ว 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งการเจาะรูขนาดละเอียดให้กับแผ่นผืนและความกระชับอย่างสังเกตได้ของแผ่นผืนดังกล่าวถูกกระทำบนโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปที่แยกจากกัน 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 2 ที่ซึ่งดำเนินการเจาะรูขนาดละเอียดให้กับแผ่นผืนบนผิวหน้าของแผ่นผืนดังกล่าวบนโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรก จากนั้นแผ่นผืนที่มีรูเปิดขนาดละเอียดดังกล่าว จะถูกป้อนจากโครงสร้างสำหรับชิ้นแรกดังกล่าวลงบนโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สอง ที่ซึ่งแผ่นผืนถูกผลักดันให้กระชับกับหน้าตัดที่สังเกตได้แบบสามมิติของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองดังกล่าว 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 2 ที่ซึ่งผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สองดังกล่าวมากพอ ที่จะทำให้แผ่นผืนดังกล่าวฉีกขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดที่มีหน้าตัดที่สี่สังเกตได้ดังกล่าวของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 3 ที่ซึ่งแผ่นผืนป้อนลงบนโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สอง เพื่อให้ผิวหน้าของแผ่นผืนซึ่งสัมผัสกับโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรกแต่ไม่สัมผัสกับโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองดังกล่าว 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิข้อที่ 5 ที่ซึ่งแผ่นผืนถูกส่งถ่ายจากโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรกไปยังโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สอง โดยการผ่านแผ่นผืนผ่านหัวหนีบที่อยู่ระหว่างโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรกกับชิ้นที่สอง 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งทำการเจาะรูขนาดละเอียดให้แก่ แผ่นผืนดังกล่าวโดยการนำเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูงลงบนแผ่นผืนดังกล่าว 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งแผ่นผืนดังกล่าวถูกผลักดันเข้าสู่ความกระชับอย่างมากกับโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวที่มีหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ โดยการนำเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูงลงบนแผ่นผืนดังกล่าว 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งแผ่นผืนดังกล่าวถูกผลักดันเข้าสู่ความกระชับอย่างมากกับโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวที่มีหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ โดยการนำผิวหน้าสัมผัสที่ไม่เป็นแผ่นผืนของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวเข้าสู่สุญญากาศ 1 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งแผ่นผืนดังกล่าวของฟิล์มโพลีเมอร์โดยหลักแล้วแบนราบถูกสร้างขึ้นเมื่อเริ่มแรกโดยการอัดเรซินหลอมเหลว 1 1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งมีเพียงส่วนที่ได้กำหนดไว้ของแผ่นผืนดังกล่าวเท่านั้นที่ถูกทำให้ฉีกขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดขนาดละเอียดดังกล่าว 1 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งมีเพียงส่วนที่ได้กำหนดไว้ของแผ่นผืนดังกล่าวเท่านั้นที่ถูกทำให้กระชับอย่างมากกับหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว 1 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 11 หรือ 12 ที่ซึ่งชิ้นส่วนครอบคลุมรูเปิดถูกวางไว้ระหว่างผลต่างความดันของของไหลดังกล่าวกับแผ่นผืนดังกล่าว เพื่อจำกัดส่วนของแผ่นผืนที่จะได้รับผลต่างความดันของไหลให้อยู่บริเวณที่ตรงกับรูเปิดดังกล่าวในชิ้นส่วนครอบคลุมดังกล่าว 1 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิที่ 6 ที่ซึ่งรูเปิดขนาดละเอียดที่ให้แก่แผ่นผืนและหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ให้กับแผ่นผืนดังกล่าว ถูกรักษาให้อยู่ด้วยกันโดยหลีกเลี่ยงการยืดออกของแผ่นผืนดังกล่าวที่มันถูกส่งถ่ายจากโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรกไปยังโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สอง 1 5. กระบวนการแบบหลายขั้นตอนและต่อเนื่อง สำหรับการทำให้บุ๋มลงและการปรุพรุนแผ่นผืนซึ่งโดยหลักแล้วต่อเนื่องของฟิล์มโพลีเมอร์ซึ่งโดยหลักแล้วแบนราบเพื่อผลิตแผ่นผืนโพลีเมอร์ที่มีรูปเปิดแบบสามมิติที่ถูกทำให้ยืดออกอย่างสังเกตได้ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวประกอบด้วยขั้นตอนของ (ก) การรองรับแผ่นของฟิล์มดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง บนโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปที่มีรูเปิดขนาดละเอียดจำนวนมาก ซึ่งทำให้ผิวหน้าที่หันเข้าหากันของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวอยู่ในการเชื่อมโยงเชิงการไหลซึ่งกันและกัน โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวเคลื่อนที่ในทิศทางขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวและนำแผ่นผืนของฟิล์มไปในทิศทางดังกล่าว (ข) การป้อนผลต่างความดันของของไหลที่หนึ่งอย่างต่อเนื่องโดยหลักการซึ่งประกอบด้วยเจ็ทของไหลความดันสูงคร่อมความหนาของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวตามทิศทางของการเคลื่อนที่ดังกล่าวของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวที่มีรูเปิดขนาดละเอียด แรงที่ให้โดยเจ็ทของไหลดังกล่าวที่ใหญ่เพียงพอที่จะทำให้แผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวฉีกขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดที่มีขนาดละเอียดดังกล่าวในโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปที่หนึ่งดังกล่าว (ค) การถ่ายเทแผ่นผืนที่มีรูเปิดขนาดละเอียดของฟิล์มดังกล่าวไปสู่โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองที่มีหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ซึ่งกำหนดขึ้นโดยรูเปิดที่หน้าตัดที่สังเกตได้จำนวนมากซึ่งทำให้ผิวหน้าที่หันเข้าหากันของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองเข้าสู่การเชื่อมโยงของไหลซึ่งกันและกัน โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองดังกล่าวเคลื่อนที่ในทิศทางขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นผืนของฟิล์มและนำแผ่นผืนของฟิล์มไปในทิศทางดังกล่าว และ (ง) การป้อนผลต่างความดันของไหลครั้งที่สองซึ่งประกอบด้วยเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูงอย่างต่อเนื่องโดยหลักการ ลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนของฟิล์มตามทิศทางการเคลื่อนที่ดังกล่าวของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปส่วนที่สองดังกล่าวผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สองดังกล่าวมากพอที่จะทำให้แผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าว ถูกผลักดันเข้าสู่ความกระชับอย่างมากกับหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองดังกล่าว และทำให้ฉีกขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดที่มีหน้าตัดสังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สอง ในขณะที่รูเปิดขนาดละเอียดดังกล่าว ยังคงลักษณะที่เกิดจากผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกในบริเวณของแผ่นผืนซึ่งอยู่นอกรูเปิดที่มีหน้าตัดสังเกตได้ดังกล่าว 1 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 15 ที่ซึ่งแผ่นผืนดังกล่าวถูกป้อนเข้าไปสู่โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองซึ่งผิวหน้าสัมผัสของแผ่นผืนที่สัมผัสกับโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรกมาแล้วไม่สัมผัสกับโครงสร้างสำหรับชิ้นที่สองดังกล่าว 1 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 15 ที่ซึ่งแผ่นผืนดังกล่าวถูกถ่ายเทจากโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรกไปสู่โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สอง โดยการผ่านแผ่นผืนผ่านหัวหนีบที่อยู่ระหว่างโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรกกับชิ้นที่สอง 1 8. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 15 ที่ซึ่งมีเพียงพอส่วนที่กำหนดไว้ของแผ่นผืนดังกล่าวเท่านั้นที่ถูกทำให้กระชับอย่างมากกับหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองดังกล่าว 1 9. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 18 ที่ซึ่งชิ้นส่วนครอบคลุมรูเปิดถูกวางไว้ระหว่างเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูงครั้งที่สองดังกล่าวกับแผ่นผืน เพื่อจำกัดส่วนของแผ่นผืนที่จะได้รับเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูงครั้งที่สองดังกล่าวในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดดังกล่าวของชิ้นส่วนครอบคลุมดังกล่าว 2 0. กระบวนการแบบหลายขั้นตอนและต่อเนื่อง สำหรับการทำให้บุ๋มลงและการปรุพรุนแผ่นผืนซึ่งโดยหลักแล้วต่อเนื่องของฟิล์มโพลีเมอร์ซึ่งโดยหลักแล้วแบนราบเพื่อผลิตแผ่นผืนโพลีเมอร์ที่มีรูเปิดแบบสามมิติที่ถูกทำให้ยืดออกอย่างสังเกตได้ซึ่งกระบวนการดังกล่าวประกอบด้วยขั้นตอนของ (ก) การรองรับแผ่นของฟิล์มดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง บนโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปที่มีรูเปิดขนาดละเอียดจำนวนมาก ซึ่งทำให้ผิวหน้าที่หันเข้าหากันของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวอยู่ในการเชื่อมโยงของไหล และหน้าตัดสามมิติอย่างมองเห็นได้ซึ่งกำหนดโดยรูเปิดที่มีหน้าตัดสังเกตได้จำนวนมากซึ่งยังทำให้ผิวหน้าเข้าหากันของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวอยู่ในการเชื่อมของไหลซึ่งกันและกัน โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวที่เคลื่อนที่ในทิศทางขนานกับทิศทางของการเคลื่อนที่ของแผ่นผืนของฟิล์มและที่นำแผ่นผืนของฟิล์มไปในทิศทางดังกล่าว (ข) การป้อนผลต่างความดันของของไหลที่หนึ่งซึ่งประกอบด้วยสุญญากาศให้แก่พื้นผิวสัมผัสที่ไม่เป็นแผ่นผืนของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นทำให้แผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวถูกผลักดันเข้าสู่ความกระชับอย่างมากกับหน้าตัดสามมิติที่สังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวและทำให้เกิดการฉีกขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดที่มีหน้าที่สังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว (ค) การป้อนผลต่างความดันของของไหลครั้งสองซึ่งประกอบด้วยเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูงอย่างต่อเนื่องโดยหลัก ลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวตามทิศทางการเคลื่อนที่ดังกล่าวของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว ซึ่งแรงที่ป้อนให้โดยเจ็ทของเหลวมากพอที่จะทำให้แผ่นผืนของฟิล์มฉีกขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดขนาดละเอียดในโครงสร้างสำหรับขึ้นรูป ในขณะที่รูเปิดแบบสามมิติที่สังเกตได้ยังคงลักษณะที่เกิดจากผลต่างความดันของของไหลครั้งแรก 2 1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 20 ที่ซึ่งอุณหภูมิของแผ่นผืนดังกล่าวถูกเพิ่มขึ้นจนถึงสภาวะที่หลอมเหลวก่อนที่จะนำแผ่นผืนดังกล่าวเข้าสู่สุญญากาศ 2 2. กระบวนกาตามข้อถือสิทธิข้อที่ 21 ที่ซึ่งแผ่นผืนของฟิล์มโพลีเมอร์ซึ่งโดยหลักแล้วแบนราบดังกล่าว ถูกสร้างขึ้นเมื่อเริ่มแรกโดยการอัดรีดเรซินที่หลอมเหลวลงบนโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปโดยตรง 2 3. กระบวนกาตามข้อถือสิทธิข้อที่ 21 ที่ซึ่งแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวได้รับการระบายความร้อนจนถึงอุณหภูมิของสภาวะของแข็ง ก่อนที่จะนำแผ่นผืนดังกล่าวเข้าสู่ผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สองดังกล่าว 2 4. กระบวนกาตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 ที่ซึ่งแผ่นผืนดังกล่าวได้รับการระบายความร้อนโดยการป้อนสเปรย์ของเหลวที่มีความดันต่ำให้กับผิวหน้าของแผ่นผืนดังกล่าว ขณะที่แผ่นผืนยังคงอยู่ภายใต้สุญญากาศที่ใช้เพื่อป้อนผลต่างความดันของไหลครั้งแรกดังกล่าว 2 5. กระบวนการแบบหลายขั้นตอนและต่อเนื่อง สำหรับการทำให้บุ๋มลงและการปรุพรุนแผ่นผืนโดยหลักแล้วต่อเนื่องของฟิล์มโพลีเมอร์ซึ่งโดยหลักแล้วแบนราบ เพื่อผลิตแผ่นผืนโพลีเมอร์ที่มีรูเปิดแบบสามมิติที่ถูกทำให้ยืดออกอย่างสังเกตได้ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวประกอบด้วย (ก) การรองรับแผ่นของฟิล์มดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง บนโครงสร้างสำหรับขึ้นรูป มีหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ ซึ่งกำหนดโดยหน้าตัดที่สังเกตได้จำนวนมาก รอยบุ๋มลงที่มีผนังส่วนปลายของรูเปิดขนาดละเอียดจำนวนมากซึ่งทำให้ผิวหน้าที่หันเข้าหากันของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวอยู่ในการเชื่อมโยงเชื่อมของไหลซึ่งกันและกัน โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปเคลื่อนที่ในทิศทางขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นผืนของฟิล์มและนำแผ่นผืนของฟิล์มไปในทิศทางดังกล่าว (ข) การป้อนผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกซึ่งเป็นสุญญากาศ เนื่องจากการป้อนผิวหน้าสัมผัสที่ไม่เป็นแผ่นผืนของโครงร้างสำหรับขึ้นรูปโดยหลักแล้วต่อเนื่อง ลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวตามทิศทางการเคลื่อนที่ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูป ผลต่างความดันของไหลดังกล่าวมากพอที่จะทำให้แผ่นผืนของฟิล์ม ถูกผลักดันเข้าสู่ความกระชับอย่างมากกับหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว (ค) การป้อนผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สอง ซึ่งประกอบด้วยเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูงโดยหลักแล้วต่อเนื่อง ลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวตามทิศทางการเคลื่อนที่ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูป ซึ่งแรงที่ป้อนให้เจ็ทของเหลวที่มีความดันสูงดังกล่าวมากพอที่จะทำให้แผ่นผืนของฟิล์มฉีกขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดขนาดละเอียดในผนังส่วนปลายของรอยบุ๋มลงดังกล่าวในโครงสร้างสำหรับขึ้นรูป ในขณะที่รูเปิดแบบสามมิติที่สังเกตได้ยังคงลักษณะที่เกิดจากผลต่างความดันของของไหลครั้งแรก 2 6. กระบวนกาตามข้อถือสิทธิข้อที่ 25 ที่ซึ่งแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวอยู่ภายใต้ผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกดังกล่าว ในขณะที่อุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิของสภาวะของแข็งของแผ่นผืน 2 7. กระบวนกาตามข้อถือสิทธิข้อที่ 26 ที่ซึ่งแผ่นผืนที่ถูกทำให้ยืดออกอย่างสังเกตได้ ได้รับการระบายความร้อนจนอุณหภูมิต่ำกว่าหลอมเหลวของแผ่นผืน ก่อนที่จะได้รับผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สอง 2 8. กระบวนกาตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 ที่ซึ่งระบายความร้อนของแผ่นผืนดังกล่าวได้กระทำโดยการป้อนสเปรย์ของเหลวระบายความร้อนที่ความดันต่ำลงบนแผ่นผืน ในขณะที่แผ่นผืนดังกล่าวยังเป็นสุญญากาศซึ่งประกอบด้วยผลต่างความดันของไหลครั้งแรกดังกล่าว 2 9. เครื่องมือแบบหลายขั้นตอนและต่อเนื่อง สำหรับการทำให้บุ๋มลงและการปรุพรุนแผ่นผืนซึ่งโดยหลักแล้วต่อเนื่องของฟิล์มโพลีเมอร์ซึ่งโดยหลักแล้วแบนราบ เพื่อผลิตแผ่นผืนโพลีเมอร์ที่มีรูเปิดแบบหลายมิติซึ่งถูกทำให้ยืดออกอย่างสังเกตได้ เครื่องมือดังกล่าวประกอบด้วย (ก) โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรก สำหรับรองรับแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรกที่มีรูเปิดขนาดละเอียดจำนวนมากซึ่งทำให้ผิวหน้าที่หันเข้าหากันของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวอยู่ในดังกล่าวอยู่ในการเชื่อมโยงของไหลซึ่งกันและกัน (ข) วิถีทางสำหรับเคลื่อนโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรกดังกล่าวไปในทิศทางที่ขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของผืนผืนของฟิล์มดังกล่าว (ค) วิถีทางสำหรับป้อนผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกโดยหลักแล้วต่อเนื่อง ลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนดังกล่าวตามทิศทางการเคลื่อนที่ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูป ซึ่งผลต่างความดันของของไหลดังกล่าวมากพอที่จะทำให้แผ่นผืนของฟิล์มฉีกขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดขนาดละเอียดดังกล่าวในโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรก (ง) โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สอง สำหรับรองรับแผ่นผืนฟิล์มดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองที่มีหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ ถูกกำหนดโดยรูเปิดที่มีหน้าตัดที่สังเกตได้จำนวนมาก ซึ่งทำให้ผิวหน้าที่หันเข้าหากันของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองดังกล่าวอยู่ในการเชื่อมโยงเชิงของไหลซึ่งกันและกัน (จ) วิถีทางสำหรับเคลื่อนโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองดังกล่าวในทิศทางที่ขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าว (ฉ) วิถีทางสำหรับป้อนผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สองโดยหลักแล้วต่อเนื่องลงตามทิศทางความหนาของฟิล์มดังกล่าวตามทิศทางการเคลื่อนที่ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองซึ่งผลต่างความดันของไหลครั้งที่สองดังกล่าวมากพอที่จะทำให้แผ่นผืนของฟิล์มถูกผลักดันเข้าสู่ความกระชับอย่างมากกับหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สองดังกล่าวและแผ่นผืนดังกล่าวถูกทำให้ฉีกขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดที่มีหน้าตัดอย่างสังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สอง ในขณะที่รูเปิดขนาดละเอียดยังคงลักษณะที่เกิดจากผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกในบริเวณของแผ่นผืนซึ่งอยู่นอกรูเปิดที่มีหน้าตัดสังเกตได้ 3 0. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 29 ซึ่งวิถีทางสำหรับป้อนแผ่นผืนดังกล่าวลงบนโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สอง ซึ่งผิวสัมผัสแผ่นผืนที่สัมผัสกับโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรกมาแล้วจะไม่สัมผัสกับโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สอง 3 1. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 30 ที่ซึ่งวิถีทางสำหรับป้อนแผ่นผืนดังกล่าวจากโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรกไปสู่โครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นที่สอง ประกอบด้วยหัวหนีบที่อยู่ระหว่างโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปชิ้นแรกกับชิ้นที่สอง 3 2. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 29 ซึ่งวิถีทางดังกล่าวสำหรับการป้อนผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนดังกล่าว ซึ่งประกอบด้วยเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูงถูกป้อนลงบนแผ่นผืนดังกล่าว 3 3. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 29 ที่ซึ่งวิถีทางดังกล่าวสำหรับการป้อนผลต่างความดันของของของไหลครั้งที่สองลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนดังกล่าวซึ่งประกอบด้วยเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูงถูกป้อนลงบนแผ่นผืนดังกล่าว 3 4. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 32 หรือ 33 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งห้องสุญญากาศวางอยู่ใกล้กับผิวหน้าสัมผัสที่ไม่เป็นแผ่นผืนของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว ซึ่งห้องสุญญากาศดังกล่าวอยู่ในแนวเดียวกับเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูง เพื่อเก็บรวบรวมของเหลวซึ่งผ่านทะลุแผ่นผืน 3 5. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 29 ที่ซึ่งรวมวิถีทางเครื่องอัดรีดสำหรับการขึ้นรูปฟิล์มโพลีเมอร์ซึ่งโดยหลักแล้วแบนราบจากเรซินที่หลอเหลวเมื่อเริ่มแรก 3 6. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 29 ซึ่งรวมชิ้นส่วนครอบคลุมรูเปิดวางอยู่ระหว่างผลต่างความดันของไหลครั้งที่สองกับแผ่นผืนดังกล่าว เพื่อจำกัดของแผ่นผืนที่ได้รับผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สองในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดในชิ้นส่วนครอบคลุมดังกล่าว 3 7. เครื่องมือแบบหลายขั้นตอนและต่อเนื่อง สำหรับการทำให้บุ๋มลงและการปรุพรุนแผ่นผืนซึ่งโดยหลักแล้วแบนราบ เพื่อผลิตแผ่นผืนโพลีเมอร์ที่มีรูเปิดสามมิติซึ่งถูกทำให้ยืดออกอย่างสังเกตได้ เครื่องมือดังกล่าวประกอบด้วย (ก) โครงสร้างสำหรับขึ้นรูป สำหรับรองรับแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวอย่างต่อเนื่องโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปที่มีรูเปิดขนาดละเอียดจำนวนมาก ซึ่งผิวหน้าที่หันเข้าหากันของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวเข้าสู่การเชื่อมโยงเชิงของไหลซึ่งกันและกัน และหน้าตัดแบบสามมิติอย่างสังเกตได้จำวนมากซึ่งทำให้ผิวหน้าที่หันเข้าหากันของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปเข้าสู่การเชื่อมโยงเชิงของไหลซึ่งกันและกัน (ข) วิถีทางสำหรับเคลื่อนโครงสร้าง สำหรับขึ้นรูปดังกล่าวไปในทิศทางขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าว (ค) วิถีทางสำหรับป้อนผลต่างความดันของไหลครั้งแรกโดยหลักแล้วต่อเนื่อง ลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวตามทิศทางการเคลื่อนที่ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูป ผลต่างความดันของไหลที่ใช้มากพอที่จะทำให้แผ่นผืนของฟิล์มถูกผลักดันเข้าสู่ความกระชับอย่างมากกับหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว และทำให้แผ่นผืนฉีกขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดที่มีหน้าตัดอย่างสังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูป (ง) วิถีทางสำหรับป้อนผลต่างความดันของไหลครั้งที่สอง โดยหลักแล้วต่อเนื่องลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวตามทิศทางการเคลื่อนที่ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว ผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สองมากพอที่จะทำให้แผ่นผืนฉีกขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดขนาดละเอียดในโครงสร้างสำหรับขึ้นรูป ในขณะที่ระปิดแบบสามมิติที่สังเกตได้ยังคงลักษณะที่เกิดมาจากผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกดังกล่าว 3 8. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 37 ที่ซึ่งวิถีทางดังกล่าวสำหรับป้อนผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนดังกล่าวประกอบด้วยวิถีทางสำหรับนำผิวสัมผัสที่ไม่เป็นแผ่นผืนของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปเข้าสู่สุญญากาศ 3 9. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 37 ที่ซึ่งวิถีทางดังกล่าวสำหรับป้อนผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สอง ลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนดังกล่าวประกอบด้วยเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูงถูกป้อนลงบนแผ่นผืนดังกล่าว 4 0. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 37 ที่ซึ่งวิถีทางสำหรับเพิ่มอุณหภูมิของแผ่นผืนจนถึงสภาวะที่หลอมเหลวก่อนที่จะนำแผ่นผืนดังกล่าวเข้าสู่ผลต่างความดันของของไหลครั้งแรก 4
1. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 40 ที่ซึ่งวิถีทางดังกล่าวสำหรับเพิ่มอุณหภูมิของแผ่นผืนจนถึงสภาวะหลอมเหลวประกอบด้วยเครื่องอัดรีด 4
2. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 40 ที่ซึ่งวิถีทางสำหรับการระบายความร้อนให้แก่แผ่นผืนดังกล่าวจนถึงอุณหภูมิของสภาวะของแข็งก่อนที่จะนำแผ่นผืนเข้าสู่ผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สองดังกล่าว 4
3. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 42 ที่ซึ่งวิถีทางระบายความร้อนให้แก่แผ่นผืนดังกล่าวประกอบด้วยสเปรย์ของเหลวความดันต่ำซึ่งป้อนให้แก่ผิวของแผ่นผืน ในขณะที่แผ่นผืนยังคงได้รับผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกอยู่ 4
4. เครื่องมือแบบหลายขั้นตอนและต่อเนื่อง สำหรับการทำให้บุ๋มลงและการปรุพรุนแผ่นผืนซึ่งโดยหลักแล้วต่อเนื่องของฟิล์มโพลีเมอร์ซึ่งโดยหลักแล้วแบนราบ เพื่อผลิตแผ่นผืนโพลีเมอร์ที่มีรูเปิดแบบสามมิติซึ่งถูกทำให้ยืดออกอย่างสังเกตได้ เครื่องมือดังกล่าวประกอบด้วย (ก) โครงสร้างสำหรับขึ้นรูป สำหรับรองรับแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวอย่างต่อเนื่องโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปที่มีรูที่มีหน้าตัดแบบสามมิติอย่างสังเกตได้ ซึ่งถูกกำหนดโดยหน้าตัดที่สังเกตได้จำนวนมาก รอยบุ๋มลงมีผนังปลายเป็นรูเปิดขนาดละเอียดจำนวนมากซึ่งทำให้ผิวหน้าที่หันเข้าหากันของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าวอยู่ในการเชื่อมโยงเชิงของไหลซึ่งกันและกัน (ข) วิถีทางสำหรับเคลื่อนโครงสร้าง สำหรับขึ้นรูปดังกล่าวไปในทิศทางขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าว (ค) วิถีทางสำหรับป้อนผลต่างความดันของไหลครั้งแรก โดยหลักแล้วต่อเนื่องประกอบด้วยการทำสุญญากาศที่ผิวหน้าสัมผัสที่ไม่เป็นแผ่นผืนของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูป ลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวตามทิศทางการเคลื่อนที่ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปผลต่างความดันของของไหลดังกล่าวมากพอที่ทำให้แผ่นผืนของฟิล์ม ถูกผลักดันเข้าสู่ความกระชับอย่างมากกับหน้าตัดแบบสามมิติที่สังเกตได้ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว และ (ง) วิถีทางสำหรับป้อนผลต่างความดันของของไหลครั้งที่สองซึ่งหลักโดยหลักแล้วต่อเนื่องประกอบด้วยเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูง ลงตามทิศทางความหนาของแผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวลงตามทิศทางการเคลื่อนที่ของโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปดังกล่าว ซึ่งแรงที่ใช้ป้อนเจ็ทของเหลวที่มีความดันสูงมากพอที่จะทำให้แผ่นผืนของฟิล์มฉีกขาดในบริเวณที่ตรงกับรูเปิดขนาดละเอียดดังกล่าวในผนังส่วนปลายของรอยบุ๋มลงดังกล่าวในโครงสร้างสำหรับขึ้นรูปในขณะที่รูเปิดแบบสามมิติสังเกตได้ยังคงลักษณะที่เกิดจากผลต่างความดันของของไหลครั้งแรก 4
5. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 44 วิถีทางสำหรับเพิ่มอุณหภูมิของแผ่นผืนให้สูงกว่าอุณหภูมิของสภาวะที่เป็นของแข็งก่อนที่จะนำแผ่นเข้าสู่ผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกดังกล่าว 4
6. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 45 ซึ่งวิถีทางสำหรับระบายความร้อนให้แก่แผ่นผืนที่ถูกทำให้ยืดออกอย่างสังเกตได้ลงจนต่ำกว่าอุณหภูมิของสภาวะที่เป็นของแข็ง ก่อนที่จะนำแผ่นผืนเข้าสู่ผลต่างความดันของไหลครั้งที่สองดังกล่าว 4
7. เครื่องมือตามข้อถือสิทธิข้อที่ 46 ที่ซึ่งวิถีทางระบายความร้อนดังกล่าวประกอบด้วยสเปรย์ของเหลวระบายความร้อนที่มีความดันต่ำถูกป้อนให้แก่แผ่นผืน ในขณะที่แผ่นผืนของฟิล์มดังกล่าวยังคงได้รับผลต่างความดันของของไหลครั้งแรกอยู่
TH8601000254A 1986-05-26 กระบวนการและเครื่องมือสำหรับการทำให้บุ๋มลงและการปรุพรุนแผ่นผืนโพลีเมอร์ TH3944B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH4171A TH4171A (th) 1987-05-01
TH4171EX TH4171EX (th) 1987-05-01
TH3944B true TH3944B (th) 1994-08-15

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
FI84036C (fi) Foerfarande och apparat foer omformning av en kontinuerlig bana och enligt foerfarandet bildat material.
DE746458T1 (de) Verfahren und vorrichtung zum herstellen von strukturierten gegenständen
US3007206A (en) Methods of molding thermoplastic sheets
ATE71579T1 (de) Verfahren und vorrichtung zur herstellung von mit in vertiefungen liegenden perforationen versehenen thermoplastischen bahnen.
US4057385A (en) Deckle cooling means to prevent leakage
DE2420969B2 (de) Verfahren zum Herstellen eines Hohlschichtkörpers und Vorrichtung zur Durchführung dieses Verfahrens
EP0211293A3 (en) A method and a device for the formation of a hole in a plastic pipe
TH3944B (th) กระบวนการและเครื่องมือสำหรับการทำให้บุ๋มลงและการปรุพรุนแผ่นผืนโพลีเมอร์
EP0477476A2 (de) Verfahren und Vorrichtung zur Herstellung von Formteilen oder Gegenständen
TH4171A (th) กระบวนการและเครื่องมือสำหรับการทำให้บุ๋มลงและการปรุพรุนแผ่นผืนโพลีเมอร์
US5907985A (en) Punch apparatus with improved slug removal efficiency
US5468039A (en) Instrument panel for automobile
EP0684119B1 (en) Method for producing a hollow molded article having skin material
US5242290A (en) Extrusion forming apparatus
GB8808944D0 (en) Method for manufacture of thermoplastic panel heat exchangers
CA2342644C (en) Molded resin laminate and method for producing the same
JPH04461B2 (th)
DE102008048298A1 (de) Verfahren und Vorrichtung zum Prägen von Mikrostrukturen in Kunststoffoberflächen
DE10134040B4 (de) Verfahren zur Herstellung von mikrofluidischen Hohlstrukturen aus Kunststoff
DE4030477A1 (de) Verfahren und vorrichtung zur herstellung von formteilen oder gegenstaenden
JPS59215842A (ja) 射出成形方法及びそれに用いる金型装置
JP3858408B2 (ja) 多層成形品成形用金型
Yamada et al. 634 Design of a new Hot Embossing equipment for fabrication of microstructures
JPS5798322A (en) Cooling water tank for cooling thermoplastic resin sheet
IT8547866A1 (it) Metodo e apparecchio di stampaggio ed articoli cosi ottenuti