Claims (7)
1. ปลั๊กอัดไฟแบตเตอรี่ซึ่งประกอบไปด้วยอุปกรณ์ปลั๊กซึ่งถูกสร้างมาจากสายตัวนำไฟฟ้า และแม่เหล็ก สายตัวนำไฟฟ้ายื่นออกมาจากอุปกรณ์ปลั๊ก และแม่เหล็กที่มีหน้าที่ในการดึงดูดอย่างแรง และนำไฟฟ้าได้นั้นยื่นเพิ่มออกมาจากสายตัวนำไฟฟ้า, โครงสร้างปลั๊กอัดไฟแบตเตอรี่มีลักษณะ เฉพาะที่ว่าเมื่อเชื่อมต่อไฟฟ้าระหว่างสายตัวนำไฟฟ้ากับหน้าสัมผัสไฟฟ้าของแบตเตอรี่ แม่เหล็กทำ หน้าที่เป็นอุปกรณ์ต่อร่วมของการนำไฟฟ้า ดังนั้นจึงป้องกันสายตัวนำไฟฟ้าซึ่งแยกออกจากหรือทำ ให้มีการสัมผัสที่ไม่ดีกับหน้าสัมผัสไฟฟ้าของแบตเตอรี่ ยิ่งกว่านั้นแม่เหล็กยังสามารถเคลื่อนที่ได้ อิสระและไม่ได้รับผลกระทบจากรูปร่างหรือขนาดของแบตเตอรี่หรือตำแหน่งและการเกิดช่องว่าง ของจุดหน้าสัมผัสต่างกัน ดังนั้นจึงทำให้อุปกรณ์ปลั๊กได้รับหน้าที่ในการเชื่อมต่อไฟฟ้าต่างๆมากมาย1. A battery charger consisting of a plug device made up of conductive wires and magnets. And a magnet that is responsible for magnetism And to conduct electricity extending from the conductor wires, the battery charger plug structure looks It is only that when electrical connections are made between the conductive wires and the electrical contacts of the battery, the magnet acts as a joint of conductivity. Therefore, it protects the conductive wires which are separated from or made Poor contact with the battery's electrical contacts. Moreover, magnets can move. Independent and not affected by the shape or size of the battery, or its position and gap formation. Of different contact points Therefore, it makes the plug device responsible for many different electrical connections
2. โครงสร้างปลั๊กอัดไฟแบตเตอรี่ซึ่งสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งในแม่เหล็กถูกต่อเข้า กับจุดหน้าสัมผัสแบตเตอรี่ทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์อัดไฟ (charge devices), อุปกรณ์คายประจุ(discharge devices) และอุปกรณ์ที่ใช้วัดความต่างศักย์ (voltage), กระแสไฟฟ้า (current), ความต้นทานภายใน (internal resistance) หรือสมบัติอื่นๆที่เกี่ยวข้องของแบตเตอรี่2. The structure of the battery plug, which corresponds to claim No. 1, in which the magnet is connected to With the battery contact point acts as a charge device, discharge devices and a device used to measure voltage, current, internal resistance or Other relevant properties of the battery
3. โครงสร้างปลั๊กอัดไฟแบตเตอรี่ซึ่งสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งในอุปกรณ์ปลั๊กถูก สร้างพร้อมกับมีอุปกรณ์แสดงผล และอุปกรณ์แสดงผลเป็นไดโอดเปล่งแสง (LEDs, light-emitting diodes), จอภาพผลึกเหลว (LCDs, liquid displays) , หลอดไฟฟ้า (light bulbs), ลำโพง (speakers), โวลต์มิเตอร์ (voltmeters), แอมมิเตอร์ (ammeters), อิมพีแดนซ์มิเตอร์ (impedance meters), อุปกรณ์แสดงภาพ (image devices) และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง3. Battery plug-in structure, in accordance with claim No. 1, in which the plug is Built with a display device And display devices such as LEDs, light-emitting diodes, liquid crystal displays (LCDs, liquid displays), light bulbs, speakers (speakers), voltmeters ( ammeters), impedance meters, image devices and related devices.
4. โครงสร้างปลั๊กอัดไฟแบตเตอรี่ซึ่งสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งในจำนวนของสายตัว นำไฟฟ้าถูกเพิ่มขึ้นตามความต้องการ ดังนั้นจึงทำให้เกิดหน้าที่ในการเชื่อมต่อไฟฟ้าชุดของแม่เหล็ก จำนวนหนึ่งเข้ากับแบตเตอรี่4. The structure of the battery plug, which corresponds to claim No. 1, in which the number of cables Conductivity was increased according to demand. Therefore, it causes a series of electrical connections to be magnetized. Some to the battery
5. โครงสร้างปลั๊กอัดไฟแบตเตอรี่ซึ่งสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งในหน้าสัมผัสปลั๊ก ถูกสร้างเป็นปลั๊กอุปกรณ์อัดไฟไฟบนรถยนต์ (a car charger plug), ตัวเชื่อมต่อยูเอสบี (a USB (universal serial bus) connector) และตัวเชื่อมต่อที่เกี่ยวข้องซึ่งมีหน้าที่ในการจ่ายกำลัง5. Battery plug-in structure, in accordance with claim No. 1, in which the plug contacts It is built as a car charger plug, a USB connector (a USB (universal serial bus) connector), and the corresponding connector responsible for the power.
6. โครงสร้างปลั๊กอัดไฟแบตเตอรี่ซึ่งสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งในแม่เหล็กต่างก็ถูก วางอยู่ที่ปลายข้างหนึ่งของสายตัวนำไฟฟ้า6. The battery plug-in structure is consistent with claim No. 1, in which the magnets are Placed at one end of the conductor wire
7. โครงสร้างปลั๊กอัดไฟแบตเตอรี่ซึ่งสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งในแม่เหล็กต่างก็ถูก วางอยู่บนขั้วบวกและขั้วลบ และจุดหน้าสัมผัสไฟฟ้าของแบตเตอรี่7. The battery plug-in structure is consistent with claim No. 1, in which the magnet is Placed on the positive and negative poles And the electrical contact point of the battery