TH32430B - กรรมวิธีสำหรับการพอลิเมอไรซ์ มอนอเมอร์ ในฐานฟลูอิไดซ์ - Google Patents

กรรมวิธีสำหรับการพอลิเมอไรซ์ มอนอเมอร์ ในฐานฟลูอิไดซ์

Info

Publication number
TH32430B
TH32430B TH9501002450A TH9501002450A TH32430B TH 32430 B TH32430 B TH 32430B TH 9501002450 A TH9501002450 A TH 9501002450A TH 9501002450 A TH9501002450 A TH 9501002450A TH 32430 B TH32430 B TH 32430B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
approximately
bulk density
density function
process according
weight
Prior art date
Application number
TH9501002450A
Other languages
English (en)
Other versions
TH22940A (th
TH22940B (th
Inventor
เอลรอย มูห์ล นายไมเคิล
โรเบิร์ต กริฟฟิน นายจอห์น
หลุยส์ เดอเชลลิส นายมาร์ก
Original Assignee
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายบุญมา เตชะวณิช
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายบุญมา เตชะวณิช filed Critical นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
Publication of TH22940A publication Critical patent/TH22940A/th
Publication of TH22940B publication Critical patent/TH22940B/th
Publication of TH32430B publication Critical patent/TH32430B/th

Links

Abstract

การประดิษฐ์มุ่งเข้าหาการพอลิเมอรไรซ์ หรือ การโคพอลิเมอไรซ์ แอลฟา -โอเลฟิน ถ้าไม่ เดี่ยว ๆ ก็ผสมรวมกับ แอลฟา -โอเลฟิน อื่น ๆ หนึ่งชนิดหรือมากกว่า ในขณะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา เมทัลโลซีน ในเครื่องทำปฏิกิริยาวัฏภาคแก๊ส ที่มีฐานฟลูดิไดซ์ และตัวกลางการฟลูอิไดซ์ ซึ่งทำให้ ตัวกลางการฟลูอิไดซ์เข้าเครื่องทำปฏิกิริยานั้ส ประกอบรวมด้วยวัฏภาคแก๊สและของเหลว

Claims (9)

1. กรรมวิธีสำหรับการพอลิเมอไรซ์ แอลฟา -โอเลฟิน ในขณะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา เมทิลโลซีนที่รองรับแก้วในเครื่องทำปฏิกิริยา (reactor) วัฏภาคแก๊สที่มีฐานฟลูอิไดซ์และตัวกลางการ ฟลูอิไดซ์ ซึ่งตัวกลางการฟลูอิไดซ์นั้นทำหน้าที่ควบคุมควมจุการทำให้เย็นของเครื่องทำปฏิกิริยาที่ กล่าวแล้วนั้น กรรมวิธีนั้นประกอบรวมด้วยการใช้ในตัวกลางการฟลูอิไดซ์ ระดับของของเหลวที่เข้า เครื่องทำปฏิกิริยา ซึ่งมากวก่า 2 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก โดยใช้น้ำหนัก โดยรวมอตัวกลางการ ฟลูอิไดซ์เป็นฐาน ซึ่งรักษาฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) ไว้ที่ค่าเท่ากับหรือมากกว่าค่าจำกัดที่ คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งระดับของของเหลวนั้นมากกว่าประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก โดยใช้น้ำหนักโดยรวมของตัวกลางการฟลูอิไดซ์เป็นฐาน
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งระดับของของเหลวนั้นมากกว่าประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของเหลว โดยใช้น้ำหนักโดยรวมของตัวกลางการฟลูอิไดซ์เป็นฐาน
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งระดับของของเหลวในตัวกลางการฟลูอิไดซ์ โดยใช้ น้ำหนักโดยรวมของตัวกลางการฟลูอิไดซ์เป็นฐาน อยู่ในช่วงระหว่างประมาณ 25 ถึงประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งดึงผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ออกที่อัตราเร็วมากกว่า ประมาณ 500 ปอนด์/ชั่วโมง -ฟุต 2
6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงจากประมาณ 0.2 ถึง ประมาณ 0.7
7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงจากประมาณ 0.3 ถึง ประมาณ 0.6
8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงจากประมาณ 0.4 ถึง ประมาณ 0.6
9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) มากกว่าค่าจำกัดที่ คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 1
0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) มากกว่า 1% ของ ค่าจำกัดที่คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 1 1.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งตัวกลางการฟลูอิไดซ์ที่กล่าวแล้วนั้นประกอบรวม ด้วย i) บิวทีน - 1และเอธิลีนที่อัตราส่วนโดยโมลจากประมาณ 0.001 ถึงประมาณ 0.60 หรือ 4- เมธิล-เพนทีน-1 และเอธิลีนที่อัตราส่วนโดยโมลจากประมาณ 0.001 ถึงประมาณ 0.50 หรือเฮกซีน -1 และเอธิลีนที่อัตราส่วนโดยโมลจากประมาณ 0.001 ถึงประมาณ 0.30 หรือออคทีน -1 และเอธิลีนที่ อัตราส่วนโดยโมลจากประมาณ 0.001 ถึงประมาณ 0.10; ii) ของไหลที่ควบแน่นที่ได้ประกอบรวมด้วยจากประมาณ 1.5 ถึงประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์โดยโมลของตัวกลาง การฟลูอิไดซ์นั้น 1
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งตัวกลางฟลูอิไดซ์ที่กล่าวแล้วนั้นประกอบรวม ด้วย i) บิวทีน - 1และเอธิลีนที่อัตราส่วนโดยโมลจากประมาณ 0.001 ถึงประมาณ 0.60 หรือ 4- เมธิล-เพนทีน-1 และเอธิลีนที่อัตราส่วนโดยโมลจากประมาณ 0.001 ถึงประมาณ 0.50 หรือเฮกซีน -1 และเอธิลีนที่อัตราส่วนโดยโมลจากประมาณ 0.001 ถึงประมาณ 0.30 หรือออคทีน -1 และเอธิลีนที่ อัตราส่วนโดยโมลจากประมาณ 0.001 ถึงประมาณ 0.10; ii) ของไหลที่ควบแน่นที่ได้ประกอบรวมด้วยจากประมาณ 1.5 ถึงประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์โดยโมลของตัวกลาง การฟลูอิไดซ์นั้น 1 3.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งตัวกลางฟลูอิไดซ์ที่กล่าวแล้วนั้นประกอบรวม ด้วย i) บิวทีน - 1และเอธิลีนที่อัตราส่วนโดยโมลจากประมาณ 0.001 ถึงประมาณ 0.60 หรือ 4- เมธิล-เพนทีน-1 และเอธิลีนที่อัตราส่วนโดยโมลจากประมาณ 0.001 ถึงประมาณ 0.50 หรือเฮกซีน -1 และเอธิลีนที่อัตราส่วนโดยโมลจากประมาณ 0.001 ถึงประมาณ 0.30 หรือออคทีน -1 และเอธิลีนที่ อัตราส่วนโดยโมลจากประมาณ 0.001 ถึงประมาณ 0.10; ii) ของไหลที่ควบแน่นที่ได้ประกอบรวมด้วยจากประมาณ 5 ถึงประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ โดยโมลของตัวกลาง การฟลูอิไดซ์นั้น 1 4.กรรมวิธีสำหรับการพอลิเมอไรซ์ แอลฟา -โอเลฟิน ในขณะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา เมทิลโลซีนที่รองรับแล้ว ในเครื่องทำปฏิกิริยาวัฏภาคแก๊ส ที่มีฐานอิไดซ์ และตัวกลางการ ฟลูอิไดซ์ เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่มีความหนาแน่นในช่วง 0.90 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร ถึง ประมาณ 0.939 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร , กรรมวิธีที่กล่าวแล้วนั้นประกอบรวมด้วยการดำเนินงาน เครื่องทำปฏิกิริยาที่กล่าวแล้วนั้น ซึ่งทำให้การเปลี่ยนเอนทัลปี (enthalp) ของตัวกลางการฟลูอิไดซ์ ที่เข้าและออกจากเครื่องทำปฏิกิริยามากกว่าประมาณ 35Btu/ปอนด์, ตัวกลาวการฟลูอิไดซ์ประกอบ รวมด้วยระดับของของเหลวที่เข้าเครื่องทำปฏิกิริยานั้น ซึ่งมากกว่า 2 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก โดยใช้น้ำหนักโดยรวมของตัวกลางการฟลูอไดซ์เป็นฐาน และซ่งรักษาฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) ไว้ที่ค่าเท่ากับหรือมากกว่าจำกัดที่คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 1
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ซึ่งตัวกลางการฟลูอิไดซ์ประกอบรวมด้วยวัฏภาคแก๊ส และของเหลว ซึ่งระดับของของเหลวที่เข้าในเครื่องทำปฏิกิริยานั้น มากกว่าประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนัก โดยใช้น้ำหนัก โดยรวมของตัวกลางการฟลูอิไดซ์เป็นฐาน 41
6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ซึ่งการเปลี่ยนเอนทัลปี อยู่ในช่วงระหว่างมากกว่า 40 Btu/ปอนด์ ถึงประมาณ 100 Btu/ปอนด์ 1
7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ซึ่งดึงผลิตภัณฑ์ออกที่อัตราเร็วมากกว่าประมาณ 500 ปอนด์/ชั่วโมง-ฟุต2 1
8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงประมาณ 0.2 ถึง ประมาณ 0.7 1
9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงประมาณ 0.3 ถึง ประมาณ 0.6 2 0.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ซึ่งฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) มากกว่าค่าจำกัดที่ คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 2 1.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ซึ่งฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) มากกว่า 1% ของ ค่าจำกัดที่คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 2
2. กรรมวิธีสำหรับการพอลิเมอไรซ์ แอลฟา-โอเลฟิน ในขณะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา เมทัลโลซีน ที่รองรับแล้ว ในเครื่องทำปฏิกิริยาวัฏภาคแก๊ส ที่มีฐานฟลูอิไดซ์ และตัวกลางการ ฟลูอิไดซ์ที่มีวัฏภาคแก๊สและวัฏภาคของเหลวเข้าเครื่องทำปฏิกิริยา กรรมวิธีดังกล่าวประกอบรวม ด้วย; a) การควบคุมความจุการทำให้เย็นของตัวกลางฟลูอิไดซ์ที่กล่าวแล้วนั้น โดยการ ควบคุมอัตราส่วนของวัฏภาคแก๊สที่กล่าวแล้วนั้น ต่อวัฏภาคของเหลวที่กล่าวแล้วนั้น ซึ่งตัวกลางการ ฟลูอิไดซ์นั้นประกอบรวมด้วยระดับของของเหลวมากกว่า 2 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก โดยใช้ น้ำหนักโดยรวมของตัวกลางการฟลูอิไดซ์เป็นฐาน ; และ b) การคงฟันก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) ที่ค่าที่มากกว่าหรือเท่ากับค่าจำกัดที่คำนวณ ของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ 2
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 22 ซึ่งฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) ไว้ที่มากกว่าค่า ค่าจำกัดที่คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 2 4.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 22 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงประมาณ 0.2 ถึง ประมาณ 0.7 2
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 22 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงประมาณ 0.3 ถึง ประมาณ 0.6 2
6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 22 ซึ่งฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) มากกว่า 1 % ของ ค่าจำกัดที่คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 2
7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 22 ซึ่งฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) มากกว่า 1 % ของ ค่าจำกัดที่คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 2
8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 22 ซึ่งวัฏภาคของเหลวประกอบรวมด้วยระดับของ ของเหลวมากกว่าประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก โดยใช้น้ำหนักโดยรวมของตังกลางการ ฟลูอไดซ์เป็นฐาน 2
9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 22 ซึ่งวัฏภาคของเหลวประกอบรวมด้วยระดับของ ของเหลวมากกว่าประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก โดยใช้น้ำหนักโดยรวมของตังกลางการ ฟลูอไดซ์เป็นฐาน 3
0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 22 ซึ่งวัฏภาคของเหลวประกอบรวมด้วยระดับของ ของเหลวมากกว่าประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก โดยใช้น้ำหนักโดยรวมของตังกลางการ ฟลูอไดซ์เป็นฐาน 3 1.กรรมวิธีสำหรับการพอลิเมอไรซ์ แอลฟา-โอเลฟิน ในขณะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา เมทัลโลซีน ที่รองรับแล้ว ในเครื่องทำปฏิกิริยาวัฏภาคแก๊ส ที่มีฐานฟลูอิไดซ์ และตัวกลางการ ฟลูอิไดซ์ สำหรับการผลิตผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่มีความหนาแน่นในช่วงจากประมาณมากกว่า 0.900 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร ถึง 0.970 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร , กรรมวิธีที่กล่าวแล้วนั้นประกอบรวม ด้วยการดำเนินงานเครื่องทำปฏิกิริยาที่กล่าวแล้วนั้น ซึ่งทำให้การเปลี่ยนเอนทัลปีของตัวกลางการ ฟลูอิไดซ์ ที่เข้าและออกจากเครื่องทำปฏิกิริยามากกว่าประมาณ 35 Btu/ปอนด์ , ตัวกลางการฟลูอิไดซ์ ประกอบรวมด้วยระดับ จองของเหบวที่เข้าเครื่องทำปฏิกิริยานั้น ซึ่งมากกว่า 2 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดย น้ำหนัก โดยใช้น้ำหนัก โดยรวมของตัวกลางการฟลูอิไดซ์เป็นฐาน และซึ่งรักษาฟังก์ชันความ หนาแแน่น บัลคื (Z) ไว้ที่ค่าเท่ากับหรือมากกว่าค่าจำกัดที่คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 3 2.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ซึ่งตัวกลางการฟลูอิไดซ์ประกอบรวมด้วยวัฏภาคแก๊ส และของเหลว ซึ่งระดับของของเหลวที่เติมแก่เครื่องทำปฏิกิริยานั้นมากกว่าประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนัก โดยใช้น้ำหนักโดยรวมของตัวกลางการฟลูอิไดซ์เป็นฐาน 3
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ซึงการเปลี่ยนเอนทัลปีอยู่ในช่วงระหว่างประมาณ 40 Btu/ปอนด์ , ถึงประมาณ 110 Btu/ปอนด์ , 3 4.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ซึ่งดึงผลิตภัณฑ์ออกที่อัตราเร็วมากกว่าประมาณ 500 ปอนด์/ชั่วโมง -ฟุต2 3
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ซึ่งฟังก์ชั้นความหนาแน่นบัลค์ (Z) มากกว่าค่าจำกัดที่ คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 3
6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงจากประมาณ 0.2 ถึง ประมาณ 0.7 3
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงจากประมาณ 0.3 ถึง ประมาณ 0.6 3
8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงจากประมาณ 0.4 ถึง ประมาณ 0.6 3
9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 35 ซึ่งฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) มากกว่า 1 % ของ ค่าจำกัดที่คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 4
0. กรรมวิธีสำหรับการพอลิเมอไรซ์ แอลฟา-โอเลฟิน ในขณะที่มีตัวเร่งปฏิกิริยา เมทัลโลซีน ที่รองรับแล้ว ในเครื่องทำปฏิกิริยาวัฏภาคแก๊ส ที่มีฐานฟลูอิไดซ์ และตัวกลางการฟลูอิไดซ์ ที่เข้าเครื่องทำปฏิกิริยา ตัวกลางการฟลูอิไดซ์นั้นมีวัฏภาคแก๊สและวัฏภาคของเหลว กรรมววิธีดังกล่าว ประกอบรวมด้วย; a) การควบคุมความจุการทำให้เย็นของตัวกลางฟลูอิไดซ์ที่กล่าวแล้วนั้น โดยการ ควบคุมอัตราส่วนของวัฏภาคแก๊สที่กล่าวแล้วนั้น ต่อวัฏภาคของเหลวที่กล่าวแล้วนั้น ซึ่งตัวกลางการ ฟลูอิไดซ์นั้นประกอบรวมด้วยระดับของของเหลวมากกว่า 2 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก โดยใช้ น้ำหนักโดยรวมของตัวกลางการฟลูอิไดซ์เป็นฐาน ; b) การคำนวณค่าฟันก์ชันความหนาแน่นบัลค์ ; c) การเฝ้าสังเกตุฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) และ d) การแปรฟังก์ชันของความหนาแน่นบัลค์ (Z) ให้คงฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) ไว้ที่ค่ามากกว่าหรือเท่ากับค่าจำกัดที่คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ 4 1.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ซึ่งคงฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) ไว้ที่ค่ามากกว่า ค่าจำกัดที่คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 4 2.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงจากประมาณ 0.2 ถึง ประมาณ 0.7 4
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงจากประมาณ 0.3 ถึง ประมาณ 0.6 4
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ซึ่งค่าวัฏภาคแก๊สเข้าเครืองทำปฏิกิริยา โดยแยกกันและ ต่างหากจากวัฏภาคของเหลว 4
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ซึ่งค่าวัฏภาคแก๊สเข้าเครืองทำปฏิกิริยา เหนือหรือ ใต้แผ่นตัวแจกแจง (distributor plate) 4
6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ซึ่งฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) มากกว่า 1 % ของ ค่าจำกัดที่คำนวณของฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์นั้น 4
7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ซึ่งวัฏภาคของเหลว ประกอบรวมด้วยระดับของ เหลวมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก โดยใช้น้ำหนัก โดยรวมของตัวกลางการฟลูอิไดซ์เป็น ฐาน 4
8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ซึ่งควบคุมความจุการทำให้เย็น โดยการเติมของไหล ที่ควบแน่นได้แก่เครื่องทำปฏิกิริยานั้น หรือกระแสการนำกลับมาใช้ใหม่ 4
9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ซึ่งคงฟังก์ชันความหนาแน่นบัลค์ (Z) ไว้ที่ค่ามากกว่า ค่าจำกัดที่คำนวณของฟังก์ชันความหน่าแน่นบัลค์นั้น 5
0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ซึ่งค่าจำกัดที่คำนวณอยู่ในช่วงจากประมาณ 0.2 ถึง ประมาณ 0.7 5 1.กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 40 ซึ่งวัฏภาคของเหลวประกอบรวมด้วยระดับของ ของเหลวมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก โดยใช้น้ำหนักโดยรวมของตัวกลางการฟลูอิไดซ์เป็น ฐาน
TH9501002450A 1995-10-02 กรรมวิธีสำหรับการพอลิเมอไรซ์ มอนอเมอร์ ในฐานฟลูอิไดซ์ TH32430B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH22940A TH22940A (th) 1997-01-14
TH22940B TH22940B (th) 1997-01-14
TH32430B true TH32430B (th) 2012-04-05

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
AU694830B2 (en) Method for preventing fouling in polymerization reactors
KR970705579A (ko) 유동층에서 단량체를 중합시키는 방법(process for polymerizing monomers in fluidized beds)
US6096837A (en) Method for preventing fouling and sheeting in gas phase reactors
US5391654A (en) Method for homo- or copolymerizing ethene
ES2405556T3 (es) Métodos para determinación en línea del grado de pegajosidad de una resina utilizando un modelo para depresión de la temperatura de iniciación de la fusión
EP1817350B2 (en) Slurry phase polymerisation process
RU97107336A (ru) Способ полимеризации мономеров в псевдоожиженном слое
FR2640273B1 (fr) Procede de polymerisation en phase gazeuse de l'ethylene permettant la fabrication de polyethylene lineaire de distribution etroite de masse moleculaire
RU97107335A (ru) Способ полимеризации мономеров в псевдоожиженном слое
US6051631A (en) Process for treating fluid streams
US8846829B2 (en) Catalyst feed control during catalyst transition periods
EP0927199A1 (en) Static control with teos
EP0848021B1 (en) Ethylene polymerization Processes and products thereof
EA017776B1 (ru) Способ полимеризации в суспензионной фазе и реакторная система
US9617358B2 (en) System and method for polymerization
US20240059808A1 (en) Ethylene polymerization processes and reactor systems for the production of multimodal polymers using combinations of a loop reactor and a fluidized bed reactor
RU2607086C2 (ru) Суспензионный способ полимеризации
KR101502192B1 (ko) 슬러리 상 중합 방법
TH32430B (th) กรรมวิธีสำหรับการพอลิเมอไรซ์ มอนอเมอร์ ในฐานฟลูอิไดซ์
TH22940A (th) กรรมวิธีสำหรับการพอลิเมอไรซ์ มอนอเมอร์ ในฐานฟลูอิไดซ์
KR890004064B1 (ko) 프로필렌 단일중합체 또는 공중합체의 제조방법
US6359083B1 (en) Olefin polymerization process
WO2011153613A2 (en) Increased run length in gas phase reactors