TH25649A - กระบวนการสำหรับปรับปรุงความสามารถในการผลิตของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาคาร์โนไนเลชันโดยการนำเอาโลหะที่กัดกร่อนออก - Google Patents

กระบวนการสำหรับปรับปรุงความสามารถในการผลิตของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาคาร์โนไนเลชันโดยการนำเอาโลหะที่กัดกร่อนออก

Info

Publication number
TH25649A
TH25649A TH9601003618A TH9601003618A TH25649A TH 25649 A TH25649 A TH 25649A TH 9601003618 A TH9601003618 A TH 9601003618A TH 9601003618 A TH9601003618 A TH 9601003618A TH 25649 A TH25649 A TH 25649A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
solution
weight
percent
process according
catalyst
Prior art date
Application number
TH9601003618A
Other languages
English (en)
Other versions
TH11438B (th
Inventor
เจย์ วอร์เนอร์ นายอาร์.
เอ. บรูสชาร์ด นายเจอร์รี
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH25649A publication Critical patent/TH25649A/th
Publication of TH11438B publication Critical patent/TH11438B/th

Links

Abstract

กระบวนการสำหรับบำบัดสารละลายตัวเร่งปฏิ กิริยาคาร์โบไนเลชันที่มี ปริมาณน้ำน้อยซึ่งมีส่วนประกอบโรเดียม และส่วนประกอบโลหะอัลคาไลน์เพื่อ กำจัดผลิตภัณฑ์กัดกร่อนที่เป็นโลหะได้ถูกเปิดเผย กระบวนการประกอบด้วยการ สัมผัสสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยากับเรซินแลกเปลี่ยนไอออน ที่นิยมในรูปของ ลิเทียม และปริมาณน้ำอย่างเพียงพอเพื่อลดความเข้มข้นของไอออนโลหะอัล คาไลน์เพื่อลดผลิตภัณฑ์โลหะกัดกร่อนให้เหมาะสมที่สุด

Claims (5)

1. กระบวนการสำหรับปรับปรุงความสามารถในการผลิตของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยา คาร์โบไนเลชันที่ใช้ภายใต้สภาวะที่มีปริมาณน้ำน้อย สารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาคาร์โบไนเลชันดัง กล่าวที่มีสิ่งสกปรกโลหะกัดกร่อน ซึ่งกระบวนการประกอบด้วยการสัมผัสสสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยา คาร์โบไนเลชันกับเรซินแลกเปลี่ยนไอออนและน้ำในปริมาณเพียงพอที่จะทำให้ได้ความเข้มข้นของ น้ำของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาเมื่อสารละลายนี้ได้ผ่านรอบการสัมผัสภายในช่วงของ 0.25 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักและนำสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาของที่มีปริมาณ สิ่งสกปรกโลหะกัดกร่อนลดลงแล้วกลับคืนมา 2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งเรซินจะเป็นเรซินแลกเปลี่ยนแคตไอออนที่เป็นกรด เข้มข้น 3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งการสัมผัสที่ได้กล่าวมาแล้วจะถูกทำให้เกิดขึ้นโดย การผ่านสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาผ่านคอลัมน์ชั้นตายตัวของเรซินที่ได้กล่าวมาแล้ว 4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งเรซินที่ไกล่าวมาแล้วได้ถูกทำให้เกิดขึ้นอีกครั้ง หลังจากการทำให้สะอาดโดยการล้างด้วยเกลือโลหะอัลคาไลน์ 5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ที่ซึ่งเกลือโลหะอัลคาไลน์ที่ได้กล่าวมาแล้วคือ ลิเทียม- แอซีเตท 6. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ที่ซึ่งโลหะอัลคาไลน์คือ โพแทสเซียม 7. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ที่ซึ่งโลหะอัลคาไลน์คือ โซเดียม 8. กระบวนการสำหรับปรับปรุงความสามารถในการผลิตของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาที่ ประกอบด้วยความเข้มข้นไอออนโลหะอัลคาไลน์และน้ำและสิ่งสกปรกโลหะกัดกร่อน ซึ่งเลือกจาก กลุ่มที่ประกอบด้วยเหล็ก, นิเกิล,โครเมียม, โมลิบดีนัม และสารผสมของโลหะเหล่านี้ ซึ่งกระบวน การนี้ประกอบด้วยการสัมผัสสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้กล่าวมาแล้วในรอบการสัมผัสกับเรซิน แลกเปลี่ยนไอออนและน้ำในปริมาณเพียงพอที่จะทำให้ได้ความเข้มข้นน้ำของสารละลายตัวเร่ง ปฏิกิริยาเมื่อสารละลายนี้ได้ผ่านรอบการสัมผัสภายในช่วงของ 0-2.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 9. กระบวนการสำหรับปรับปรุงความสามารถในการผลิตของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาคาร์ โลไนเลชันที่ใช้ภายใต้สภาวะที่มีปริมาณน้ำน้อย สารละลายที่ได้กล่าวมาแล้วมีโรเดียมและโลหะ อัลคาไลน์ และยังมีสิ่งสกปรกโลหะกัดกร่อนด้วย ซึ่งกระบวนการนี้ประกอบด้วยการสัมผัสสาร ละลายตัวเร่งปฏิกิริยาที่ได้กล่าวมาแล้วกับเรซินแลกเปลี่ยนไอออนและน้ำในปริมาณเพียงพอที่จะทำ ให้ได้ความเข้มข้นของน้ำของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาเมื่อสารละลายนี้ได้ผ่านรอบการสัมผัสภายใน ช่วงของ0.25 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก และนำสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยา ของที่มีปริมาณสิ่งสกปรกโลหะกัดกร่อนลดลงกลับคืนมา 1 0. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งความเข้มข้นของน้ำของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยา เมื่อสารละลายนี้ได้ผ่านรอบการสัมผัสภายในช่วงของ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักถึง 30 เปอร์เซ็นต์โดย น้ำหนัก 1
1. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ที่ซึ่งความเข้มข้นของน้ำของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยา เมื่อสารละลายนี้ได้ผ่านรอบการสัมผัสภายในช่วงของ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักถึง 15 เปอร์เซ็นต์โดย น้ำหนัก 1
2. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 8 ที่ซึ่งความเข้มข้นของน้ำของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยา เมื่อสารละลายนี้ได้ผ่านรอบการสัมผัสภายในช่วงของ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักถึง 30 เปอร์เซ็นต์โดย น้ำหนัก 1
3. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่งความเข้มข้นของน้ำของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาเมื่อ สารละลายนี้ได้ผ่านรอบการสัมผัสภายในช่วงของ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักถึง 15 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำ หนัก 1
4. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งความเข้มข้นของน้ำของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยา เมื่อ สารละลายนี้ได้ผ่านรอบการสัมผัสภายในช่วงของ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักถึง 30เปอร์เซ็นต์โดยน้ำ หนัก 1
5. กระบวนการตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ที่ซึ่งความเข้มข้นของน้ำของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยา เมื่อสารละลายนี้ได้ผ่านรอบการสัมผัสภายในช่วงของ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักถึง 15 เปอร์เซ็นต์โดย น้ำหนัก
TH9601003618A 1996-10-25 กระบวนการสำหรับปรับปรุงความสามารถในการผลิตของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาคาร์โนไนเลชันโดยการนำเอาโลหะที่กัดกร่อนออก TH11438B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH25649A true TH25649A (th) 1997-06-24
TH11438B TH11438B (th) 2001-12-14

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
RU98110138A (ru) Способ повышения производительности карбонилирующего катализаторного раствора путем удаления металлов коррозии
YU56496A (sh) Postupak za povećanje produktivnosti katalitičkog rastvora za karbonizaciju uklanjanjem korozivnih materijala
US4147581A (en) Etching of metal
US3656893A (en) Ion exchange removal of cyanide values
TH25649A (th) กระบวนการสำหรับปรับปรุงความสามารถในการผลิตของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาคาร์โนไนเลชันโดยการนำเอาโลหะที่กัดกร่อนออก
TH11438B (th) กระบวนการสำหรับปรับปรุงความสามารถในการผลิตของสารละลายตัวเร่งปฏิกิริยาคาร์โนไนเลชันโดยการนำเอาโลหะที่กัดกร่อนออก
CN102553540B (zh) 一种胶原吸附材料及其应用
PL88761B1 (th)
CN104826588B (zh) 一种基于煤基焦粉的除氟材料制备及再生方法
Fernández‐Olmo et al. Selective iron removal from spent passivation baths by ion exchange
JPH0765204B2 (ja) 鉄酸化物の溶解除去法
JPS6218216B2 (th)
JPS6357799A (ja) メツキ液の処理方法
JPS59160585A (ja) チオ尿素含有廃液の処理方法
JPS591396B2 (ja) ホウ素とcodを含む水の処理方法
Wing et al. Use of Spent Pickle Liquor in Waste Treatment, Evaluation of Electroless Copper and Copper Etchant
JPS6038997B2 (ja) 金属表面処理の洗浄廃水のイオン交換処理方法
SU292466A1 (ru) Способ очистки воды
JPS5520634A (en) Removing method of phosphoric acid ion in solution
BE661678A (th)
JPS589146B2 (ja) 無電解めつき液の再生方法
Drela Recovery of chromium and zinc from waste water by ion exchange method
SU638549A1 (ru) Способ очистки стоков гальванических производств
SU691405A1 (ru) Способ обработки котловой воды
RU2052388C1 (ru) Способ регенерации отработанного сильнокислотного катионита