TH23905B - ตัวสั่นแบบสัมผัสที่ใช้อาร์เมเจอร์กำทอนเชิงแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีเสถียรภาพ - Google Patents

ตัวสั่นแบบสัมผัสที่ใช้อาร์เมเจอร์กำทอนเชิงแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีเสถียรภาพ

Info

Publication number
TH23905B
TH23905B TH9301001186A TH9301001186A TH23905B TH 23905 B TH23905 B TH 23905B TH 9301001186 A TH9301001186 A TH 9301001186A TH 9301001186 A TH9301001186 A TH 9301001186A TH 23905 B TH23905 B TH 23905B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
plane
armature
planar
resonance
group
Prior art date
Application number
TH9301001186A
Other languages
English (en)
Other versions
TH21276A (th
TH21276EX (th
Inventor
ยูจิน บริงค์ลีย์ นายเจอรัลด์
แฮโรลด์ โฮลเดน นายเออร์วิง
ไมเคิล แม็คกี นายจอห์น
ดับบลิว มูนีย์ นายชาร์ลส์
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายดำเนิน การเด่น
นายดำเนิน การเด่น นายต่อพงศ์ โทณะวณิก นายวิรัช ศรีเอนกราธา นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายดำเนิน การเด่น, นายดำเนิน การเด่น นายต่อพงศ์ โทณะวณิก นายวิรัช ศรีเอนกราธา นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH21276A publication Critical patent/TH21276A/th
Publication of TH21276EX publication Critical patent/TH21276EX/th
Publication of TH23905B publication Critical patent/TH23905B/th

Links

Abstract

ระบบอาร์เมเจอร์กำทอน (109, 114, 116) สำหรับสร้างการเคลื่อนไหว แบบสั่นในการสนองตอบต่อแรงกระตุ้นสลับประกอบด้วยชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่าง น้อยสองชิ้น (109) ซึ่งเกือบจะขนานซึ่งกันและกัน และถูกแยกออกจากกันเป็นระยะ ห่างค่าหนึ่ง ชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบ (109) ประกอบด้วยชิ้นส่วนสปริงเชิงระนาบ ที่เป็นอิสระต่อกันจำนวนหนึ่ง (112) ซึ่งถูกจัดเรียงอย่างสม่ำเสมอรอบบริเวณเชิง ระนาบตรงกลาง (110) ภายในบริเวณรอบรูปเชิงระนาบ (108) ระบบ อาร์เมเจอร์กำทอน (109, 114, 116) ยังประกอบด้วยมวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้ (114) อย่างน้อยหนึ่งก้อนที่ถูกกำหนดตำแหน่งให้อยู่ระหว่าง และเชื่อมโยงเข้ากับ ชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบ (109) อย่างน้อยสองชิ้น สำหรับสร้างกำทอนกับชิ้นส่วน แขวนเชิงระนาบ (109) อย่างน้อยสองชิ้นที่ความถี่กำทอนในโหมดพื้นฐาน

Claims (6)

1. ระบบอาร์เมเจอร์กำทอนสำหรับก่อกำเนิดการสั่นแบบสัมผัสตอบสนองกับแรงของ การกระตุ้นกระแสสลับ, ระบบอาร์เมเจอร์กำทอนประกอบด้วย : ชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้น, ซึ่งโดยพื้นฐานทั่วไปจะขนานซึ่งกันและกัน และทำให้แยกออกจากกันด้วยระยะทางขนาดหนึ่ง, แต่ละชิ้นของชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่ สุดสองชิ้น ประกอบด้วยชิ้นส่วนสปริงเชิงระนาบที่เป็นอิสระจากกันกลุ่มหนึ่ง ที่จัดเรียงไว้อย่าง สม่ำเสมอรอบบริเวณเชิงระนาบตรงกลางภายในบริเวณรอบรูปเชิงระนาบ, และ มวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้ที่จัดตำแหน่งไว้ระหว่างและให้เชื่อมโยงกับชิ้นส่วนแขวนเชิง ระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นสำหรับสร้างกำทอนกับชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นที่ ความถี่กำทอนในโมดพื้นฐาน, ในที่นี้มวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้ประกอบด้วยช่องแคบที่มีรูปร่างที่ก่อ เกิดในที่นั้นที่ทำให้ส่วนของมวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้สามารถผ่านทะลุช่องได้อย่างเสรีในชิ้นส่วน แขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นในระหว่างการปฏิบัติการของระบบอาร์เมเจอร์กำทอน, โดยวิธี การนี้เป็นการยอมให้มีอัตราส่วนของมวลต่อปริมาตรสำหรับระบบอาร์เมเจอร์กำทอนมากกว่าที่เป็น ไปได้โดยไม่มีช่องแคบที่มีรูปร่าง 2. ระบบอาร์เมเจอร์กำทอนสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1, ในที่นี้ชิ้นส่วนแขวนเชิง ระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นประกอบด้วยลักษณะเรขาคณิตของสปริงในลักษณะที่แรงคืนตัวที่หนึ่ง ตอบสนองกับระยะขจัดเชิงเส้นของบริเวณเชิงระนาบตรงกลางในทิศทางขนานกับระนาบของชิ้นส่วน แขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นจะสูงกว่าแรงคืนสภาพที่สองที่ตอบสนองกับระยะขจัดเชิงเส้น ที่เท่ากันของบริเวณเชิงระนาบตรงกลางในทิศทางตั้งฉากกับระนาบของชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่าง น้อยที่สุดสองชิ้นนั้น 3. ระบบอาร์เมเจอร์กำทอนสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1, ในที่นี้มวลที่สามารถ เคลื่อนที่ได้จะยึดติดกับบริเวณเชิงระนาบตรงกลางของชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้น 4. ระบบอาร์เมเจอร์ของกำทอนสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1, ในที่นี้ชิ้นส่วนปริง เชิงระนาบที่เป็นอิสระจากกันมีส่วนตัดขวางเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากเป็นส่วนใหญ่ซึ่งมีความกว้างมาก กว่าความหนา 5. ระบบอาร์เมเจอร์กำทอนสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1, ในที่นี้แรงกระตุ้นกระแส สลับทำให้ก่อกำเนิดขึ้นด้วยสนามแม่เหล็กกระแสสลับ 6. ระบบอาร์เมเจอร์กำทอนสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 1, ยังประกอบเพิ่มเติมด้วยแม่ เหล็กถาวรที่มีโพลาไรซ์ตามแนวรัศมีจำนวนหนึ่งที่ยึดติดกับมวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้สำหรับการ เชื่อมโยงมวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้เชิงแม่เหล็กกับแรงของการกระตุ้นแบบสลับ 7. เครื่องสำเร็จสำหรับก่อกำเนิดการสั่นแบบสัมผัสตองสนองกับสัญญาณกระตุ้นซึ่ง เครื่องสำเร็จประกอบด้วย : ระบบอาร์เมเจอร์กำทอนซึ่งประกอบด้วย : ชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้น ซึ่งโดยพื้นฐานทั่วไปจะขนานซึ่งกันและกัน และทำให้แยกออกจากกันด้วยระยะทางขนาดหนึ่ง, ชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นนี้ แต่ละชิ้นประกอบด้วยชิ้นส่วนปริงเชิงระนาบที่เป็นอิสระจากกันกลุ่มหนึ่งที่จัดเรียงไว้อย่างสม่ำเสมอ รอบบริเวณเชิงระนาบตรงกลางภายในบริเวณรอบรูปเชิงระนาบ, มวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้ที่จัดตำแหน่งไว้ระหว่างและทำให้เชื่อมโยงกับชิ้นส่วนแขวนเชิง ระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้น สำหรับสร้างกำทอนกับชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้น ที่ความถี่กำทอนในโมดพื้นฐาน, ในที่นี้มวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้ประกอบด้วยช่องแคบที่มีรูปร่างที่ ก่อเกิดไว้ในที่นั้นที่ทำให้ส่วนของมวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้สามารถผ่านทะลุช่องได้อย่างเสรีในชิ้น ส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นในระหว่างการปฏิบัติการของเครื่องสำเร็จ, โดยวิธีการนี้ เป็นการยอมให้มีอัตราส่วนของมวลต่อปริมาตร สำหรับระบบอาร์เมเจอร์กำทอนสูงกว่าที่เป็นไปได้ โดยไม่มีช่องแคบที่มีรูปร่าง, และ แม่เหล็กถาวรที่มีโพลาไรซ์ตามแนวรัศมีจำนวนหนึ่งที่ยึดติดกับมวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้ สำหรับก่อกำเนิดแรงกระตุ้นกระแสสลับเพื่อก่อให้เกิดการสั่นแบบสัมผัสตอบสนองกับสนามแม่เหล็ก กระแสสลับและ อุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้าที่เชื่อมโยงเชิงแม่เหล็กกับกลุ่มของแม่เหล็กถาวรที่มีโพลาไรซ์ตามแนว รัศมีเพื่อก่อกำเนิดสนามแม่เหล็กกระสลับตอบสนองกับสัญญาณกระตุ้น 8. เครื่องสำเร็จสอดคล้องกับข้อถือสิทธิที่ 7, ยังประกอบเพิ่มเติมด้วยฝาโครงที่เชื่อมโยง ในทางกายภาพกับอุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้า และกับระบบอาร์เมเจอร์กำทอน เพื่อทำการปิดหุ้มและรอง รับอุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้าและระบบอาร์เมเจอร์กำทอน 9. เครื่องสำเร็จซึ่งสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 7, ในที่นี้อุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้า ประกอบด้วยคอยล์แม่เหล็กไฟฟ้าคอยล์เดียว 1 0. เครื่องสำเร็จซึ่งสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 7, ในที่นี้อุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้าจะยึด ติดในทางภายภาพกับบริเวณรอบรูปเชิงระนาบของชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นนั้น ด้วยอุปกรณ์การยึดติด ซึ่งประกอบด้วยจุดต่าง ๆ ของการยึดติดกลุ่มหนึ่ง 1
1. เครื่องสำเร็จซึ่งสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 10, ในที่นี้อุปกรณ์การยึดติดยังประกอบ เพิ่มเติมด้วยส่วนยื่น โผล่กลุ่มหนึ่งซึ่งยืนจากอุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้าในทิศทางตั้งฉากกับระนาบของ บริเวณรอบรูปเชิงระนาบ, ส่วนยื่นโผล่แต่ละส่วนของกลุ่มของส่วนยื่นโผล่จะให้อยู่ระหว่างจุดสองจุด ของกลุ่มของจุดของการยึดติด 1
2. เครื่องสั่นกำทอนเชิงแม่เหล็กไฟฟ้า, ประกอบด้วย : ระบบอาร์เมเจอร์กำทอน ซึ่งประกอบด้วย : ชิ้นส่วนแขวนเชิง ระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นซึ่งโดยพื้นฐานทั่วไปจะขนานกันและทำให้ แยกจากกันด้วยระยะทางขนาดหนึ่ง, ชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นนั้นแต่ละชิ้น ประกอบด้วยชิ้นส่วนสปริงเชิงระนาบที่เป็นอิสระจากกันจำนวนหนึ่งที่จัดเรียงไว้อย่างสม่ำเสมอรอบ บริเวณเชิงระนาบตรงกลางภายในบริเวณรอบรูปเชิงระนาบ มวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้ที่จัดตำแหน่งไว้ระหว่างและเชื่อมโยงกับชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบ อย่างน้อยที่สุดสองชิ้นนั้นสำหรับสร้างกำทอนกับชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นที่ ความถี่กำทอนในโหมดพื้นฐาน, ในที่นี้มวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้ประกอบด้วยช่องแคบที่มีรูปร่างที่ก่อ เกิดในที่นั้น ซึ่งทำให้ส่วนของมวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้สามารถผ่านทะลุช่องได้อย่างเสรีในชิ้นส่วน แขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นในระหว่างการปฏิบัติการของเครื่องสั่นกำทอนเชิงแม่เหล็กไฟ ฟ้า, โดยวิธีการนี้เป็นการยอมให้มีอัตราส่วนของมวลต่อปริมาตรสำหรับระบบอาร์เมเจอร์กำทอนสูง กว่าที่เป็นไปได้โดยไม่มีช่องแคบที่มีรูปร่าง, และ แม่เหล็กถาวรที่มีโพลาไรซ์ตามแนวรัศมีกลุ่มหนึ่งที่ยึดติดกับมวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้ สำหรับก่อกำเนิดแรงกระตุ้นกระแสสลับ เพื่อก่อให้เกิดการสั่นแบบสัมผัสตอบสนองกับสนามแม่ เหล็กกระแสสลับ, แม่เหล็กไฟฟ้าที่เชื่อมโยงเชิงแม่เหล็กกับกลุ่มของแม่เหล็กถาวรที่มีโพลาไรซ์ตามแนวรัศมีเพื่อ ก่อกำเนิดสนามแม่เหล็กกระแสสลับตอบสนองกับสัญญาณกระตุ้น, และ ฝาโครงที่เชื่อมโยงทางกายภาพกับแม่เหล็กไฟฟ้า และกับระบบอาร์เมเจอร์กำทอนเพื่อปิดหุ้ม และรองรับแม่เหล็กไฟฟ้า และระบบอาร์เมเจอร์กำทอน 1
3. เครื่องสั่นกำทอนเชิงแม่เหล็กไฟฟ้าสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 12, ในที่นี้ชิ้นส่วน แขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นประกอบด้วยลักษณะเรขาคณิตของสปริงในลักษณะที่แรงคืน ตัวที่หนึ่งตอบสนองกับระยะขจัดเชิงเส้นของบริเวณเชิงระนาบตรงกลางในทิศทางขนานกับระนาบ ของชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นจะสูงกว่าแรงคืนสภาพที่สองตอบสนองกับระยะ ขจัดเชิงเส้นที่เท่ากันของบริเวณเชิงระนาบตรงกลางในทิศทางตั้งฉากกับระนาบของชิ้นส่วนแขวนเชิง ระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นนั้น 1
4. เครื่องสั่นกำทอนเชิงแม่เหล็กไฟฟ้าที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 12, ในที่นี้จะทำการยึดติดแม่เหล็กไฟฟ้าในทางกายภาพกับบริเวณรอบรูปของวงกลมเชิงระนาบ ของชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้น ด้วยอุปกรณ์การยึดติดซึ่งประกอบด้วยจุดต่าง ๆ ของการยึดติดกลุ่มหนึ่ง, และ ในที่นี้อุปกรณ์การยึดติดยังประกอบเพิ่มเติมด้วยส่วนยื่นโผ่ลกลุ่มหนึ่งซึ่งยื่นจากแม่เหล็กไฟ ฟ้าในทิศทางตั้งฉากกับระนาบของบริเวณรอบรูปของวงกลมเชิงระนาบ, ส่วนยื่นโผล่แต่ละส่วนของ กลุ่มของส่วนยื่นโผล่จะให้อยู่ระหว่างจุดของกลุ่มของจุดของการยึดติดสองจุด 1
5. เครื่องรับการเรียกแบบเจาะจงเลือกประกอบด้วย เครื่องรับเครื่องหนึ่งสำหรับรับสัญญาณความถี่วิทยุ (RF) ซึ่งประกอบด้วยสารสนเทศ และ สำหรับทำการดีมอดูเลตสัญญาณ RF เพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ ตัวถอดรหัสที่เชื่อมโยงกับเครื่องรับเพื่อทำการถอดรหัสสารสนเทศที่ได้รับและได้มาซึ่งข้อ ความจากสารสนเทศนั้น ตัวประมวลผลที่เชื่อมโยงกับตัวถอดรหัสเพื่อรับข้อความและเพื่อก่อกำเนิดสัญญาณแจ้งเตือน ตอบสนองกับข้อความนั้น, และ อุปกรณ์แจ้งเตือนที่เชื่อมโยงกับตัวประมวลผลเพื่อก่อกำเนิดการแจ้งเตือนแบบสัมผัสด้วยการ สั่นตอบสนองกับสัญญาณแจ้งเตือน, อุปกรณ์แจ้งเตือนประกอบด้วย : ระบบอาร์เมเจอร์กำทอนซึ่งประกอบด้วย : ชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นซึ่งโดยพื้นฐานทั่วไปจะขนานซึ่งกันและกัน และทำให้แยกออกจากกันด้วยระยะทางขนาดหนึ่ง, แต่ละชิ้นของชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่ สุดสองชิ้นประกอบด้วยชิ้นส่วนสปริงเชิงระนาบที่เป็นอิสระจากกันกลุ่มหนึ่งที่จัดเรียงไว้อย่าง สม่ำเสมอรอบบริเวณเชิงระนาบตรงกลางภายในบริเวณรอบ รูปเชิงระนาบและ มวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้ที่จัดตำแหน่งไว้ระหว่างและเชื่อมโยงกับชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบ อย่างน้อยที่สุดสองชิ้นสำหรับสร้างกำทอนกับชิ้นส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นนั้นที่ ความถี่ กำทอนในโมดพื้นฐาน, ในที่นี้มวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้ประกอบด้วยช่องแคบที่มีรูปร่างที่ ก่อเกิดไว้ในที่นั้น ซึ่งทำให้ส่วนของมวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้สามารถผ่านทะลุช่องได้อย่างเสรีในชิ้น ส่วนแขวนเชิงระนาบอย่างน้อยที่สุดสองชิ้นในระหว่างการปฏิบัติการของอุปกรณ์แจ้งเตือน โดยวิธี การนี้เป็นการยอมให้มีอัตราส่วนของมวลต่อปริมาตร สำหรับระบบอาร์เมเจอร์กำทอนสูงกว่าที่เป็นไป ได้เมื่อ ไม่มีช่องแคบที่มีรูปร่าง 1
6. เครื่องรับการเรียกแบบเจาะจงเลือกซึ่งสอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อที่ 15, ในที่นี้ระบบอาร์เมเจอร์กำทอนยังประกอบเพิ่มเติมด้วยแม่เหล็กถาวรที่มีโพลาไรซ์ตามแนว รัศมีกลุ่มหนึ่งที่ยึดติดกับมวลที่สามารถเคลื่อนที่ได้เพื่อก่อกำเนิดแรงกระตุ้นกระแสสลับเพื่อก่อให้เกิด การแจ้งเตือนแบบสัมผัสด้วยการสั่นตอบสนองกับสนามแม่เหล็กกระแสสลับ, และ ในที่นี้อุปกรณ์แจ้งเตือนยังประกอบเพิ่มเติมด้วย : แม่เหล็กไฟฟ้าที่เชื่อมโยงเชิงแม่เหล็กกับกลุ่มของแม่เหล็กถาวรที่มีโพลาไรซ์ตามแนวรัศมีเพื่อ ก่อกำเนิดสนามแม่เหล็กกระแสสลับตอบสนองกับสัญญาณกระตุ้น, วงจรขับเคลื่อนที่เชื่อมโยงกับแม่เหล็กไฟฟ้าและกับตัวประมวลผลเพื่อจัดให้มีสัญญาณ กระตุ้นสำหรับแม่เหล็กไฟฟ้าตอบสนองกับสัญญาณแจ้งเตือน, และ ฝาโครงที่เชื่อมโยงในทางกายภาพกับแม่เหล็กไฟฟ้า, วงจรขับเคลื่อน, และระบบอาร์เมเจอร์ กำทอนเพื่อทำการปิดหุ้ม, รองรับ, และทำการชีลด์แม่เหล็กไฟฟ้าในเชิงแม่เหล็ก, วงจรขับเคลื่อนและ ระบบอาร์เมเจอร์กำทอน
TH9301001186A 1993-07-05 ตัวสั่นแบบสัมผัสที่ใช้อาร์เมเจอร์กำทอนเชิงแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีเสถียรภาพ TH23905B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH21276A TH21276A (th) 1996-10-22
TH21276EX TH21276EX (th) 1996-10-22
TH23905B true TH23905B (th) 2008-06-20

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
KR950702728A (ko) 안정화 전자기 공진 전기자 택타일 바이브레이터(Stabilized Electromagnetic Resonant Armature Tactile Vibrator)
US5107540A (en) Electromagnetic resonant vibrator
US5172092A (en) Selective call receiver having audible and tactile alerts
KR101944654B1 (ko) 선형 진동모터
CN109309892B (zh) 电磁激励器以及屏幕发声装置
JP3748637B2 (ja) 携帯機器用振動発生装置
US5023504A (en) Piezo-electric resonant vibrator for selective call receiver
JP2008093623A (ja) 振動発生装置
JP3366507B2 (ja) 振動発生装置
US20230015265A1 (en) Vibration apparatus
JP2006175433A (ja) 携帯用品用の機械的衝撃保護手段が設けられた震動装置
EP0454692A4 (en) Vibrator
JPH1014195A (ja) 報知用振動発生装置
JPH09172763A (ja) 振動発生装置
TH23905B (th) ตัวสั่นแบบสัมผัสที่ใช้อาร์เมเจอร์กำทอนเชิงแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีเสถียรภาพ
CH629067B (fr) Avertisseur acoustique a excitation electronique.
TH21276A (th) ตัวสั่นแบบสัมผัสที่ใช้อาร์เมเจอร์กำทอนเชิงแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีเสถียรภาพ
US3021520A (en) Electric signaling device
JP2002200461A (ja) 振動発生装置およびこれを用いた携帯機器
US2872598A (en) Vibrating reed oscillator controller
JP2571811Y2 (ja) アラーム装置
WO1992019018A1 (en) Piezo-electric resonant vibrator for a selective call receiver
JPH1014193A (ja) 報知用振動発生装置
KR20230064186A (ko) 수평 선형 진동자
KR20140087138A (ko) 진동 장치