TH22740A - วิธีการและระบบของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองแบบแข็งเกร็งตามแนวตั้ง - Google Patents

วิธีการและระบบของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองแบบแข็งเกร็งตามแนวตั้ง

Info

Publication number
TH22740A
TH22740A TH9501003155A TH9501003155A TH22740A TH 22740 A TH22740 A TH 22740A TH 9501003155 A TH9501003155 A TH 9501003155A TH 9501003155 A TH9501003155 A TH 9501003155A TH 22740 A TH22740 A TH 22740A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
casting
pair
assembly
aforementioned
cast
Prior art date
Application number
TH9501003155A
Other languages
English (en)
Other versions
TH19123B (th
Inventor
อี. ฮัฟฟ์แมน นายโรนัลด์
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH22740A publication Critical patent/TH22740A/th
Publication of TH19123B publication Critical patent/TH19123B/th

Links

Abstract

โครงสร้างของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองสำหรับใช้ในการเข้าประกบกันของคู่ของชิ้นหล่อ ของแบบจำลองทางทันตกรรม ซึ่งได้รับการจัดตำแหน่งไว้ในลักษณะที่ตรงกันข้ามกัน และเว้นระยะ จากกัน โครงสร้างของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองประกอบด้วยชิ้นประกอบรองรับแข็งเกร็งตาม แนวแกนอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้นประกอบที่มีปลายซึ่งอยู่คนละด้านกัน ซึ่งชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อ แบบหลายชิ้นอาจได้รับการยึดติดเข้าไปในแนวตั้งฉาก ชิ้นประกอบรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกน อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้นประกอบดังกล่าว และชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่ยึดติดได้ในแนวตั้งฉาก ดังกล่าวเป็นโครงสร้างของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองที่จัดให้ชิ้นประกอบรองรับแข็งเกร็งตามแนว แกนอยู่ใกล้กันอย่างเป็นสำคัญกับผิวหน้าฟันกรามส่วนหลังของคู่ที่อยู่ตรงกันข้ามกันของชิ้นหล่อของ แบบจำลองทางทันตกรรม ในสภาพที่กันไม่ให้มีการเคลื่อนแบบเลื่อนที่เข้ายันกันของชิ้นหล่อของ แบบจำลองทางทันตกรรมในระนาบที่ขนานกันกับชิ้นประกอบรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกน โดย เฉพาะอย่างยิ่ง การเคลื่อนแบบเลื่อนที่เข้ายันกันในบริเวณที่ฟันกรามส่วนหลังอาจไม่มีอยู่ในแบบ จำลองทางทันตกรรม โครงสร้างยึดติดชิ้นหล่อแบบหลายชิ้นได้รับการก่อรูปขึ้นมาให้มีพื้นผิวโค้ง ส่วนหนึ่งของทรงกลมเพื่อประกอบเข้าคู่ ซึ่งทำให้มีความสะดวกในการจัดตรงแนวหลายทิศทางของคู่ ของชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรมที่อยู่ตรงกันข้ามกัน โครงสร้างยึดติดชิ้นหล่อแบบหลายชิ้น อาจได้รับการก่อรูปขึ้นมาเป็นการจัดเชิงโครงสร้างชนิดเรียงตามยาวที่ประกอบด้วย โครงสร้างการจัด ตรงแนวที่ยึดติดได้แบบสองชิ้น ร่วมด้วยบล็อกตัวเว้นระยะอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้นที่ใช้ชดเชยสำหรับ ความต่างขนาดของชิ้นหล่อ และยึดติดได้กับผิวหน้าด้านหลังของชิ้นหล่อที่เลือกในรูปลักษณะที่ควร เลือกใช้ ชิ้นประกอบรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกนอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้นประกอบดังกล่าวได้รับการ ก่อรูปขึ้นมาเป็นโครงสร้างรูปตัว U ที่มีคู่ของแขนรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกน

Claims (2)

1. เครื่องของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองสำหรับใช้ในการเข้าประกบกันของคู่ของชิ้นหล่อ ของแบบจำลองทางทันตกรรม ซึ่งได้รับการจัดตำแหน่งไว้ในลักษณะที่ตรงกันข้ามกัน และเว้นระยะ จากกัน,เครื่องดังกล่าวประกอบรวมด้วย : (a) ชิ้นประกอบรองรับโก่งงอได้ทางข้างแข็งเกร็งตามแนวแกนอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้น ประกอบ, ชิ้นประกอบรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกนดังกล่าวมีปลายด้านไกลที่หนึ่ง และปลายด้าน ไกลที่สอง ซึ่งอยู่ที่ด้านตรงกันข้ามกันกับปลายด้านไกลที่หนึ่งดังกล่าว; (b) ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่ง, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่งดังกล่าวสามารถหมุน รอบแกนได้ โดยที่สามารถถอดออกมาได้จากปลายด้านไกลที่หนึ่งดังกล่าว และสามารถยึดติดอย่าง ตายตัวได้กับชิ้นหล่อหนึ่งของคู่ของชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าว; และ (c) ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่สอง, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่สองดังกล่าวสามารถยึดติด อย่างตายตัวได้กับอีกชิ้นหล่อหนึ่งของคู่ของชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าว และยื่น ออกมาจากปลายด้านไกลที่สองดังกล่าว, ชิ้นประกอบรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกนอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้นประกอบดังกล่าว และ ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่งและที่สองดังกล่าวประกอบรวมด้วยโครงสร้างของกลอุปกรณ์ขา กรรไกรจำลองในแนวตั้งฉากที่ต่ออย่างปรับได้ซึ่งในสภาพประกอบและยึดติดชิ้นหล่อแล้ว จะจัดให้ ชิ้นประกอบรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกนดังกล่าวอยู่ใกล้กับคู่ที่อยู่ตรงกันข้ามกันของชิ้นหล่อของ แบบจำลองทางทันตกรรม ในลักษณะที่กันไม่ให้มีการเคลื่อนแบบเลื่อนที่เข้ายันกันของคู่ที่อยู่ตรงกัน ข้ามกันของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าวในระหว่างการจำลองการกัดของฟันกรามส่วนหลัง ที่ซึ่งชิ้นประกอบรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกนอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้นประกอบดังกล่าว ประกอบรวมด้วยโครงสร้างรูปตัว U ที่มีคู่ของแขนรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกน และปลายด้านไกล ที่หนึ่งดังกล่าวประกอบรวมด้วยส่วนปลายเปิดของโครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว และปลายด้านไกล ที่สองดังกล่าวประกอบรวมด้วยส่วนปลายปิดของโครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว; และ ที่ซึ่งแขนแต่ละแขนของคู่ของแขนรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกนดังกล่าวประกอบรวมด้วย ชิ้นประกอบหมุนรอบแกน ณ ปลายด้านไกลที่หนึ่งดังกล่าว; และชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่ง และที่สองดังกล่าวแต่ละชิ้นประกอบอย่างน้อยที่สุดประกอบรวมด้วยส่วนติดตั้งชิ้นหล่อ และส่วน ยึดติดชิ้นประกอบรองรับ, ส่วนติดตั้งชิ้นหล่อแต่ละส่วนสามารถต่ออย่างตายตัวได้กับส่วนยึดติด ชิ้นประกอบรองรับที่สอดคล้องกันโดยอาศัยปลายที่ได้รับการก่อรูปให้มีรูปทรงเชิงเรขาคณิตของ พื้นผิวที่ใช้ประกอบเข้าคู่กัน ซึ่งทำให้มีความสะดวกในการจัดตรงแนวหลายทิศทางของคู่ของชิ้นหล่อ ที่อยู่ตรงกันข้ามกันดังกล่าวก่อนการต่ออย่างตายตัว; ส่วนยึดติดชิ้นประกอบรองรับดังกล่าวที่สัมพันธ์ กับชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่งดังกล่าว มีชิ้นประกอบหมุนรอบแกนที่ทำให้มีความสะดวกใน การถอดออก และยึดอย่างหมุนรอบแกนได้กับชิ้นประกอบหมุนรอบแกนเพื่อประกอบเข้าคู่ที่ สอดคล้องกันบนแขนรองรับดังกล่าว, ส่วนยึดติดชิ้นประกอบรองรับดังกล่าวที่สัมพันธ์กับ ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่สองดังกล่าวประกอบรวมด้วยโครงสร้างที่ยื่นออกไปอย่างเป็นชิ้นเดียว กันจากส่วนปลายปิดดังกล่าว และประกอบรวมด้วยส่วนที่เป็นชิ้นเดียวกันของโครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว 2. เครื่องของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองสำหรับใช้ในการเข้าประกบกันของคู่ของชิ้นหล่อ ของแบบจำลองทางทันตกรรมซึ่งได้รับการจัดตำแหน่งไว้ในลักษณะที่ตรงกันข้ามกัน และเว้นระยะ จากกัน, เครื่องดังกล่าวประกอบรวมด้วย (a) โครงสร้างรูปตัว U ที่มีคู่ของแขนรองรับโก่งงอได้ทางข้างแข็งเกร็งตามแนวแกน, แขน รองรับแข็งเกร็งตามแนวแกนแต่ละแขนมีปลายด้านไกลที่หนึ่งที่ประกอบรวมด้วยส่วนปลายเปิดของ โครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว และปลายด้านไกลที่สองที่ประกอบรวมด้วยส่วนปลายปิดของโครงสร้าง รูปตัว U ดังกล่าว และอยู่ที่ด้านตรงกันข้ามกันกับปลายด้านไกลที่หนึ่งดังกล่าว; (b) ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่ง, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่งดังกล่าวสามารถหมุน รอบแกนได้ โดยที่สามารถถอดออกมาได้จากปลายด้านไกลที่หนึ่งดังกล่าวแต่ละปลายของแขน ดังกล่าว และสามารถยึดติดอย่างตายตัวได้กับชิ้นหล่อหนึ่งของคู่ของชิ้นหล่อของแบบจำลองทาง ทันตกรรมดังกล่าว; และ (c) ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่สอง, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่สองดังกล่าวสามารถยึดติด อย่างตายตัวได้กับอีกชิ้นหล่อหนึ่งของคู่ของชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าว และ ยื่นออกมาจากปลายด้านไกลที่สองดังกล่าว, โครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว และชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่งและที่สองดังกล่าว ประกอบรวมด้วยโครงสร้างของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองที่ต่ออย่างปรับได้ซึ่งในสภาพประกอบ และยึดติดชิ้นหล่อแล้ว จะจัดให้แขนรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกนดังกล่าวอยู่ใกล้กับคู่ที่อยู่ตรงกัน ข้ามกันของชิ้นหล่องของแบบจำลองทางทันตกรรมในลักษณะที่กันไม่ให้มีการเคลื่อนแบบเลื่อนที่เข้า ยันกันของคู่ที่อยู่ตรงกันข้ามกันของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าวในระหว่างการจำลองการกัด ของฟันกรามส่วนหลัง; ที่ซึ่งแขนแต่ละแขนของคู่ของแขนรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกนดังกล่าวประกอบรวมด้วย ชิ้นประกอบหมุนรอบแกน ณ ปลายด้านไกลที่หนึ่งดังกล่าว; และชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่ง และที่สองดังกล่าวแต่ละชิ้นประกอบประกอบรวมด้วยส่วนติดตั้งชิ้นหล่อ และส่วนยึดติดชิ้นประกอบ รองรับ, ส่วนติดตั้งชิ้นหล่อและส่วนยึดติดชิ้นประกอบรองรับที่สอดคล้องกันแต่ละชิ้นมีพื้นผิวที่ต่อ ได้ซึ่งก่อนการต่อ ทำให้มีความสะดวกในการจัดตรงแนวหลายทิศทางของคู่ของชิ้นหล่อที่อยู่ตรงกัน ข้ามกันดังกล่าว; ส่วนยึดติดชิ้นประกอบรองรับดังกล่าว ที่สัมพันธ์กับส่วนยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่ง ดังกล่าวมีชิ้นประกอบหมุนรอบแกนเพื่อประกอบเข้าคู่ที่ทำให้มีความสะดวกในการถอดออก และ ยึดอย่างหมุนรอบแกนได้กับชิ้นประกอบหมุนรอบแกนที่สอดคล้องกันบนแขนรองรับดังกล่าว; และ ส่วนยึดติดชิ้นประกอบรองรับดังกล่าวที่สัมพันธ์กับชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่สองดังกล่าว ได้รับ การก่อรูปขึ้นมาให้ยื่นออกในแนวตั้งฉากจากส่วนปลายปิดดังกล่าว และเป็นส่วนที่เป็นชิ้นเดียวกัน ของโครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว 3. เครื่องของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองตามที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง: ส่วนติดตั้งชิ้นหล่อแต่ละส่วนประกอบรวมด้วยส่วนลิ้นที่ทำให้การติดตั้งแบบลิ้น และร่อง กับคู่ของชิ้นหล่อดังกล่าวเป็นไปโดยสะดวก 4. เครื่องของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองตามที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง: พื้นผิวที่ต่อได้ดังกล่าวประกอบรวมด้วยพื้นผิวเพื่อประกอบเข้าคู่โค้งที่ใช้ประกอบเข้าคู่กัน ที่ทำให้มีความสะดวกในการจัดตรงแนวหลายทิศทางดังกล่าว 5. เครื่องของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองสำหรับใช้ในการเข้าประกบกันของคู่ของชิ้นหล่อ ของแบบจำลองทางทันตกรรม ซึ่งได้รับการจัดตำแหน่งไว้ในลักษณะที่ตรงกันข้ามกัน และเว้นระยะ จากกัน, แบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าวมีฟันกรามส่วนหลังที่ขาดหายไปซึ่งก่อให้เกิดบริเวณที่ว่าง ขึ้นมาในแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าว, เครื่องดังกล่าวประกอบรวมด้วย: (a) โครงสร้างรูปตัว U ที่มีคู่ของแขนรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกน, (b) ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่ง, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่งดังกล่าวประกอบ รวมด้วยโครงสร้างที่ต่อได้แบบหลายชิ้นที่หนึ่ง, โครงสร้างที่ต่อได้แบบหลายชิ้นที่หนึ่งดังกล่าว สามารถหมุนรอบแกนได้โดยที่สามารถถอดออกมาได้จากแขนดังกล่าว และสามารถยึดติดอย่าง ตายตัวได้กับชิ้นหล่อหนึ่งของคู่ของชิ้นหล่อดังกล่าวของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าว; และ (c) ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่สอง, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่สองดังกล่าวประกอบ รวมด้วยโครงสร้างที่ต่อได้แบบหลายชิ้นที่สอง, โครงสร้างที่ต่อได้แบบหลายชิ้นที่สองดังกล่าว สามารถยึดติดอย่างตายตัวได้กับอีกชิ้นหล่อหนึ่งของคู่ของชิ้นหล่อดังกล่าวของแบบจำลองทาง ทันตกรรมดังกล่าว และยื่นออกมาจากส่วนปลายปิดของโครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว, โครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว และโครงสร้างที่ต่อได้แบบหลายชิ้นที่หนึ่งและที่สองดังกล่าว ประกอบรวมด้วยโครงสร้างของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลอง ซึ่งในสภาพประกอบและยึดติดชิ้นหล่อ แล้ว จะกันไม่ให้มีการเคลื่อนแบบเลื่อนที่ของคู่ที่อยู่ตรงกันข้ามกันของชิ้นหล่อของแบบจำลองทาง ทันตกรรมดังกล่าวเข้าในบริเวณที่ว่างดังกล่าวในทิศทางที่จำลองการกัดของฟันกรามส่วนหลัง ที่ซึ่งโครงสร้างที่ต่อได้แบบหลายชิ้นที่หนึ่งดังกล่าว และโครงสร้างที่ต่อได้แบบหลายชิ้นที่ สองดังกล่าวแต่ละโครงสร้างประกอบรวมด้วยส่วนติดตั้งชิ้นหล่อ และส่วนยึดติดชิ้นประกอบรองรับ ที่มีพื้นผิวที่ต่อได้เพื่อประกอบเข้าคู่โค้งที่ใช้ประกอบเข้าคู่กัน ซึ่งทำให้มีความสะดวกในการจัดตรง แนวหลายทิศทาง; และ ประกอบรวมต่อไปอีกด้วยตัวเว้นระยะอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้น สำหรับการที่จะได้รับการจัด ตำแหน่งอย่างตายตัวระหว่างส่วนติดตั้งชิ้นหล่อดังกล่าวส่วนหนึ่งที่เลือกและชิ้นหล่อหนึ่งที่สอดคล้อง กันของคู่ของชิ้นหล่อดังกล่าวของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าว 6. เครื่องของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองตามที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 5 ที่ซึ่ง: โครงสร้างที่ต่อได้แบบหลายชิ้นที่หนึ่งและที่สองดังกล่าวโครงสร้างใดโครงสร้างหนึ่ง ประกอบรวมด้วยตัวเว้นระยะการติดตั้งชิ้นหล่ออย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้น 7. วิธีการของการกันการเคลื่อนไหวในการกัดฟันกรามส่วนหลัง เมื่อใช้กลอุปกรณ์ ขากรรไกรจำลอง, วิธีการดังกล่าวประกอบรวมด้วยขั้นตอนของการจัดให้มี: (a) การจัดให้มีคู่ของชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรม ซึ่งได้รับการจัดตำแหน่งไว้ใน ลักษณะที่ตรงกันข้ามกัน และเว้นระยะจากกันสำหรับการยึดติดกับอุปกรณ์ของกลอุปกรณ์ขากรรไกร จำลอง และสำหรับการจำลองการเคลื่อนไหวของการสบฟันและการบดเคี้ยว, ชิ้นหล่อของแบบ จำลองทางทันตกรรมที่ผ่านการจัดตำแหน่งดังกล่าวมีช่องว่างในบริเวณฟันกรามส่วนหลังที่เกิดขึ้นมา โดยการขาดหายไปของฟันกรามส่วนหลังในแบบจำลอง; (b) การจัดให้มีอุปกรณ์ของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองดังกล่าวที่ประกอบรวมด้วย (1) โครงสร้างรูปตัว U ที่มีคู่ของแขนรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกน; (2) ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่ง, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่งดังกล่าว ประกอบรวมด้วยโครงสร้างที่ต่อได้อย่างตายตัวแบบหลายชิ้น และสามารถหมุนรอบแกนได้ โดยที่สามารถถอดออกมาได้จากแขนดังกล่าว และยังสามารถยึดติดอย่างตายตัวได้กับ ชิ้นหล่อหนึ่งของคู่ของชิ้นหล่อดังกล่าวของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าวอีกด้วย; และ (3) ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่สอง, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่สองดังกล่าว ประกอบรวมด้วยโครงสร้างที่ต่อได้อย่างตายตัวแบบหลายชิ้น และสามารถยึดติดอย่างตายตัว ได้กับอีกชิ้นหล่อหนึ่งของคู่ของชิ้นหล่อดังกล่าวของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าว และ ยื่นออกมาจากส่วนปลายปิดของโครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว; (c) การยึดติดส่วนติดตั้งชิ้นหล่อที่สัมพันธ์กับชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่งและที่สอง ดังกล่าวแต่ละชิ้นกับผิวหน้าด้านหลังของชิ้นหล่อแต่ละชิ้นของคู่ของชิ้นหล่อของแบบจำลองทาง ทันตกรรมดังกล่าว; (d) การจัดตรงแนวชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรมของขั้นตอน (c) ในลักษณะที่ให้ อยู่ตรงกันข้ามกัน; (e) การจัดตรงแนวและการจัดตำแหน่งชั่วคราวของพื้นผิวของส่วนยึดติดชิ้นประกอบรองรับ ที่สัมพันธ์กับชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่งและที่สองดังกล่าวแต่ละชิ้นดังกล่าว เทียบกับพื้นผิว เพื่อประกอบเข้าคู่ที่สอดคล้องกันบนส่วนติดตั้งชิ้นหล่อดังกล่าวแต่ละส่วนของขั้นตอน (c) ดังกล่าว (f) การต่อพื้นผิวที่ผ่านการจัดตำแหน่งอย่างชั่วคราวดังกล่าวของขั้นตอน (c) ดังกล่าวอย่าง ถาวร; และ (g) การกันไม่ให้มีการเคลื่อนแบบเลื่อนที่ของคู่ที่อยู่ตรงกันข้ามกันดังกล่าวของชิ้นหล่อของ แบบจำลองทางทันตกรรมในบริเวณที่ว่าดังกล่าว 8. วิธีการของการกันการเคลื่อนไหวในการกัดฟันกรามส่วนหลังตามที่บรรยายไว้ใน ข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่ง; ขั้นตอน (c ) ดังกล่าวประกอบด้วยการยึดติดตัวเว้นระยะอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้นกับผิวหน้า ด้านหลังของชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าวชิ้นหล่อหนึ่งที่เลือก 9. วิธีการของการกันการเคลื่อนไหวในการกัดฟันกรามส่วนหลังตามที่บรรยายไว้ใน ข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่ง; ขั้นตอน (b) ดังกล่าวประกอบด้วยการจัดให้ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่งและที่สอง ดังกล่าวมีพื้นผิวเพื่อประกอบเข้าคู่มีลาย และขั้นตอน (f) ดังกล่าวประกอบด้วยการต่ออย่างถาวรของ พื้นผิวเพื่อประกอบเข้าคู่มีลายดังกล่าว และการเพิ่มการยึดติดระหว่างพื้นผิวเพื่อประกอบเข้าคู่ดังกล่าว ให้มีมากขึ้น 1 0. เครื่องของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลอง, เครื่องดังกล่าวประกอบรวมด้วย; (a) โครงสร้างรูปตัว U ที่มีคู่ของแขนรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกน; (b) ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อแบบหลายชิ้นที่หนึ่ง, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อแบบหลายชิ้น ที่หนึ่งดังกล่าวสามารถหมุนรอบแกนได้โดยที่สามารถถอดออกมาได้จากแขนดังกล่าว และสามารถ ยึดติดอย่างตายตัว ได้กับชิ้นหล่อหนึ่งของคู่ของชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรม; และ (c) ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อแบบหลายชิ้นที่สอง, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อแบบหลายชิ้น ที่สองดังกล่าวสามารถยึดติดอย่างตายตัวได้กับอีกชิ้นหล่อหนึ่งของคู่ของชิ้นหล่อดังกล่าวของแบบ จำลองทางทันตกรรมดังกล่าว และยื่นออกมาจากส่วนปลายปิดของโครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อแบบหลายชิ้นที่หนึ่งและที่สองดังกล่าวแต่ละชิ้นประกอบมีชิ้น เชิงโครงสร้างแต่ละชิ้น ที่จัดไว้ให้มีพื้นผิวเพื่อประกอบเข้าคู่โค้งที่ทำให้มีความสะดวกในการจัด ตรงแนวหลายทิศทางของชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าวก่อนการต่ออย่างตายตัว, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อแบบหลายชิ้นที่หนึ่งและที่สองดังกล่าวประกอบด้วยชิ้นประกอบ ตัวเว้นระยะอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้นประกอบ; และ โครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว และชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อแบบหลายชิ้นที่หนึ่งและที่สอง ดังกล่าวสามารถยึดติดได้ในแบบบานพับและในแนวตั้งฉาก ในลักษณะที่ทำให้ในสภาพประกอบและ ยึดติดชิ้นหล่อแล้ว การจัดเชิงโครงสร้างที่ประกอบรวมกันจะกันไม่ให้มีการเคลื่อนแบบเลื่อนที่เข้ายัน กันของคู่ของชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าว ในระหว่างกิริยาการเข้าประกบกันที่ จำลองการกัดของฟันกรามส่วนหลัง 1
1. เครื่องของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลอง, เครื่องดังกล่าวประกอบรวมด้วย: (a) โครงสร้างรูปตัว U ที่มีคู่ของแขนรองรับแข็งเกร็งตามแนวแกน, โครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าวมีส่วนตั้งฉากที่ยื่นจากส่วนปลายปิดของโครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว, ส่วนตั้งฉากดังกล่าว มีพื้นผิวที่ปลายเพื่อประกอบเข้าคู่ที่ก่อรูปขึ้นมาให้มีผิวหน้าทรงกลม, แขนรองรับดังกล่าวแต่ละแขน มีชิ้นประกอบหมุนรอบแกนที่ปลายเปิดของโครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว; (b) ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อแบบหลายชิ้นที่หนึ่ง, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อแบบหลายชิ้น ที่หนึ่งดังกล่าวประกอบรวมด้วย: ส่วนยึดติดชิ้นประกอบรองรับที่มีชิ้นประกอบหมุนรอบแกนเพื่อประกอบเข้าคู่ สำหรับการยึดติดอย่างให้หมุนรอบแกนได้เข้ากับชิ้นประกอบหมุนรอบแกนดังกล่าวบนแขน ดังกล่าว, ส่วนยึดติดชิ้นประกอบรองรับดังกล่าวมีพื้นผิวยึดติดที่ปลายซึ่งก่อรูปขึ้นมาให้มี ผิวหน้าทรงกลม; และ ส่วนติดตั้งชิ้นหล่อที่มีปลายยึดติดเพื่อประกอบเข้าคู่ที่ก่อรูปขึ้นมาให้มีพื้นผิวทรง กลมเพื่อประกอบเข้าคู่สำหรับการประกอบเข้าคู่กับพื้นผิวยึดติดที่ปลายดังกล่าว บนส่วน ยึดติดชิ้นประกอบรองรับดังกล่าว และปลายติดตั้งที่สร้างให้เหมาะสมสำหรับการยึดติดกับ ชิ้นประกอบชิ้นหล่อของชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรม; และ (c) ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่สอง, ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่สองดังกล่าวประกอบ รวมด้วยส่วนติดตั้งชิ้นหล่อที่มีพื้นผิวทรงกลมเพื่อประกอบเข้าคู่ สำหรับการประกอบเข้าคู่กับผิวหน้า ทรงกลมดังกล่าวบนส่วนตั้งฉากดังกล่าว และมีปลายติดตั้งที่สร้างให้เหมาะสมสำหรับการยึดติดกับ ชิ้นประกอบชิ้นหล่อของชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรม, โครงสร้างรูปตัว U ดังกล่าว และชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่งและที่สองดังกล่าวสามารถ ยึดติดได้ในแบบบานพับและในแนวตั้งฉาก ในลักษณะที่ทำให้ในสภาพประกอบและยึดติดชิ้นหล่อ แล้วการจัดเชิงโครงสร้างที่ประกอบรวมกันจะกันไม่ให้มีการเคลื่อนแบบเลื่อนที่เข้ายันกันของคู่ของ ชิ้นหล่อของแบบจำลองทางทันตกรรมดังกล่าว ในระหว่างกิริยาการเข้าประกบกันที่จำลองการกัดของ ฟันกรามส่วนหลัง 1
2. เครื่องของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองตามที่บรรยายไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 11 ที่ซึ่ง: ชิ้นประกอบยึดติดชิ้นหล่อที่หนึ่งและที่สองดังกล่าว ชิ้นประกอบใดชิ้นประกอบหนึ่ง ประกอบรวมด้วยตัวเว้นระยะการติดตั้งชิ้นหล่อที่ยึดติด ได้อย่างน้อยที่สุดหนึ่งชิ้น
TH9501003155A 1995-12-06 วิธีการและระบบของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองแบบแข็งเกร็งตามแนวตั้ง TH19123B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH22740A true TH22740A (th) 1996-12-27
TH19123B TH19123B (th) 2005-11-22

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
AU701565B2 (en) Vertically rigid dental articulator system and method
US9844428B2 (en) Dental articulator
CA1193122A (en) Dental model articulator
DE277026T1 (de) Artikulator zur anpassung von kiefermodellen und entsprechendes verfahren.
US2608762A (en) Denture modeling articulator
US4533323A (en) Mounting for dental model articulators
US7326100B2 (en) Marble building toy
WO2001001881A2 (en) Dental model base assembly
EP0480150A1 (en) Cast dental model articulator system and method
US20120164595A1 (en) Articulator
JP2009531145A (ja) 歯科咬合器
KR20170107613A (ko) 치과용 교합기
US20080206704A1 (en) Dental modeling system with drillable tray base
US5482460A (en) Dental model articulator
TH19123B (th) วิธีการและระบบของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองแบบแข็งเกร็งตามแนวตั้ง
TH22740A (th) วิธีการและระบบของกลอุปกรณ์ขากรรไกรจำลองแบบแข็งเกร็งตามแนวตั้ง
US5846076A (en) System for casting a dental model
WO2010104261A1 (ko) 치아모형 교합기
US7059851B2 (en) Dental model articulator
JP2001500398A (ja) 歯模型咬合器
CN108158680B (zh) 一种义齿咬合实验用安装方法
US7083410B2 (en) Dental articulator
US6508646B2 (en) Securable mounting for an articulator for dental casts
KR200300715Y1 (ko) 치과 기공용 교합기
EP1341469B1 (en) Glue-free dental articulator