TH22393A3 - กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.) - Google Patents

กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.)

Info

Publication number
TH22393A3
TH22393A3 TH2003001177U TH2003001177U TH22393A3 TH 22393 A3 TH22393 A3 TH 22393A3 TH 2003001177 U TH2003001177 U TH 2003001177U TH 2003001177 U TH2003001177 U TH 2003001177U TH 22393 A3 TH22393 A3 TH 22393A3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
hydrolyzate
phycocyanin
algae
arthrospira
degrees celsius
Prior art date
Application number
TH2003001177U
Other languages
English (en)
Other versions
TH22393U (th
Inventor
ตันตนะรัตน์ นายกฤษณ์
ศรีพันนาม นายชยพล
สัตยากวี นายสราวุธ
เพชรรุ่งนภา นายอำนาจ
Original Assignee
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)มหาวิทยาลัยนเรศวร
Filing date
Publication date
Application filed by สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)มหาวิทยาลัยนเรศวร filed Critical สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)มหาวิทยาลัยนเรศวร
Publication of TH22393U publication Critical patent/TH22393U/th
Publication of TH22393A3 publication Critical patent/TH22393A3/th

Links

Abstract

18/11/2564(OCR) กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospiro sp.) ประกอบด้วยขั้นตอนการเพาะเลี้ยงหัวเชื้อสาหร่าย การสร้างสภาวะเหนี่ยวนำการเพิ่มมวลสารและปลดปล่อยสารชีวมวล การคัดแยกสารสกัดด้วยการแช่แข็งละลาย และการย่อยโปรตีนด้วยเอนไซม์ เพื่อได้มาซึ่งสารออก ฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระสูง สามารถนำไปใช้เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ อาหารเสริมดูแลสุขภาพและบำรุงผิวที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ และเป็นที่ต้องการในตลาดปัจจุบัน อันจะเป็น ประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมเครื่องสำอางต่อไป กรรมวิธีการผลิตไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.) ประกอบด้วยขั้นตอนการเพาะเลี้ยงหัวเชื้อสาหร่าย การสร้างสภาวะเหนี่ยวนำการเพิ่มมวลสารและปลดปล่อย สารชีวมวล การคัดแยกสารสกัดด้วยการแช่แข็งละลาย และการย่อยโปรตีนด้วยเอนไซม์ เพื่อได้มาซึ่งสารออก ฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระสูง สามารถนำไปใช้เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ อาหารเสริมดูแลสุขภาพและบำรุงผิวที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ และเป็นที่ต้องการในตลาดปัจจุบัน อันจะเป็น ประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมเครื่องสำอางต่อไป

Claims (9)

1./11/2564(OCR) 1. กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospiro sp.) ประกอบด้วย ขั้นตอน ดังนี้ ก. การเพาะเลี้ยงหัวเชื้อสาหร่าย นำสาหร่ายอาร่โธรสไปร่ามาเลี้ยงในสารละลายอาหารเหลวสูตรมาตรฐาน ที่อุณหภูมิ 20 35 องศาเซลเซียส ให้แสงสว่างที่ 1216 ชั่วโมงต่อวัน ที่ความสว่าง 3,000 5,000 ลักซ์ และทำการเติม อากาศร่วมขณะเลี้ยง เป็นเวลา 10 20 วัน และ/หรือ มวลของสาหร่ายมีความเข้มข้นเพิ่มขึ้นเป็น 10 30 เท่า จากความเข้มข้นเริ่มต้น (หน่วยเป็นกรัมต่อลิตร) ข. การสร้างสภาวะเหนี่ยวนำการเพิ่มมวลสารและปลดปล่อยสารชีวมวล ทำการย้ายสาหร่ายจากข้อที่ ก. มาไว้ในภาชนะเลี้ยงสาหร่ายที่บรรจุด้วยสารละลายอาหารเหลว สูตรดัดแปลงซาร์บสู (Zarblue) ที่อุณหภูมิ 25 35 องศาเซลเซียส ให้แสงสว่างที่ 12 14 ชั่วโมงต่อวัน ที่ความสว่าง 4,000 5,500 ลักซ์ และทำการเติมอากาศร่วมขณะเลี้ยง เป็นเวลา 15 30 วัน และ/หรือ มวลของสาหร่ายมีความเข้มข้นเพิ่มขึ้นเป็น 410 เท่า จากความเข้มข้นเริ่มต้น (หน่วยเป็นกรัมต่อลิตร) แล้วจึงนำสาหร่ายที่ได้ไปพักบนภาชนะ ค. การคัดแยกสารสกัดด้วยการแช่แข็งละลาย ทำการเติมนํ้ากลั่นลงในภาชนะที่บรรจุสาหร่ายจากข้อที่ ข. ในอัตราส่วน 2 5 เท่าของนํ้าหนัก สาหร่าย ผสมรวมให้เข้ากัน แล้วนำไปแช่แข็งที่อุณหภูมิ (12) (20) องศาเซลเซียส เป็นเวลา 510 ชั่วโมง และนำมาละลายที่อุณหภูมิ 430 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 24 ชั่วโมง จากนั้นนำของเหลว ที่ได้มาแยกตะกอน ด้วยวิธีการปั่นเหวี่ยงหรือกรองด้วยตาข่ายแพลงก์ตอน จนได้เป็นสารสกัดสีน้ำเงินที่มี สารไฟโคไซยานินเป็นองค์ประกอบ ง. การย่อยโปรตีนด้วยเอนไซม์ นำสารสกัดสีนํ้าเงินจากข้อที่ ค. มาผสมรวมเข้ากับเอนไซม์ในกลุ่มเอนโดเปปติเดส (endopeptidases) หรือเอ็กโซเปปติเดส (exopeptidases) ที่ความเข้มข้นเอนไซม์เท่ากับร้อยละ 2 5 จากนั้นทำการบ่ม ที่อุณหภูมิ 50 60 องศาเซลเซียส ปรับค่าความเป็นกรดด่าง (pH) ที่ 5.0 9.0 เป็น เวลา 224 ชั่วโมง แล้วจึงนำไปผ่านความร้อนที่อุณหภูมิ 95 100 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 510 นาที จากนั้นนำของเหลวที่ได้มาผ่านตัวกรองขนาด 0.22 ไมครอน จนได้เป็นสารละลายไฟโคไซยานิน ไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า ที่มีลักษณะเป็นของเหลว ใส สีฟ้าถึงจนสีนํ้าเงินเข้ม2. กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospiro sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง สารละลายอาหารเหลวสูตรดัดแปลงซาร์บลู (Zarblue) ที่ใช้ในการเลี้ยงสาหร่าย ประกอบด้วย ธาตุอาหารหลัก ได้แก่ โซเดียมไนเตรต (NaNO3) ไดโปแตสเซียมไฮโดรเจนออร์โธฟอสเฟต (K2HPO4) โปแตสเซียมซัลเฟต (K2SO4) เกลือแกง (NaCl) กากนํ้าตาล (molasses) ยูเรีย (urea) ธาตุ อาหารรอง และน้ำ ผสมรวมกันอยู่ในปริมาณ 2.5 15.0 กรัม ต่อนํ้า 1 ลิตร3. กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง ขั้นตอนข้อที่ ค. การคัดแยกสารสกัดด้วยการแช่แข็งละลาย มีการแยกตะกอนด้วยวิธีการ ปั่นเหวี่ยง ที่ความเร็ว 3,000 10,000 รอนต่อนาที เป็นเวลา 520 นาที4. กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง ขั้นตอนข้อที่ ค. การคัดแยกสารสกัดด้วยการแช่แข็งละลาย มีการแยกตะกอนด้วยวิธีการ กรองด้วยตาข่ายแพลงก์ตอน ที่ขนาด 20 50 ไมครอน5. กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง เอนไซม์ใบกลุ่มเอนโดเปปติเดส (endopeptidases) ได้แก่ ฟลาโวลไซม์ (Flavourzyme)6. กรรมวิธีการผลิตไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง เอนไซม์ในกลุ่มเอ็กโซเปปติเดส (exopeptidases) ได้แก่ เอนไซม์แอลคาเลส (alcalase enzyme)7. กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง สารละลายไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า สามารถนำมาทำแห้งให้อยู่ ในรูปผงไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสท ด้วยวิธีการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง ที่สภาวะความดันตํ่าที่อุณหภูมิ (40) (80) องศาเซลเซียส8. กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง สารละลายไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า สามารถนำมาทำแห้งให้อยู่ ในรูปผงไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสท ด้วยวิธีการทำแห้งแบบพ่นฝอย โดยนำสารละลายไฟโคไซยานิน ไฮโดรไลเสทมาพ่นฝอยที่อุณหภูมิขาเข้า 120 160 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิขาออก 70 90 องศา เซลเซียส 1. กรรมวิธีการผลิตไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.) ประกอบด้วย ขั้นตอน ดังนี้ ก. การเพาะเลี้ยงหัวเชื้อสาหร่าย นำสาหร่ายอาร์โธรสไปร่ามาเลี้ยงในสารละลายอาหารเหลวสูตรมาตรฐาน ที่อุณหภูมิ 20 35 องศาเซลเซียส ให้แสงสว่างที่ 1216 ชั่วโมงต่อวัน ที่ความสว่าง 3,000 5,000 ลักซ์ และทำการเติม อากาศร่วมขณะเลี้ยง เป็นเวลา 10 20 วัน และ/หรือ มวลของสาหร่ายมีความเข้มข้นเพิ่มขึ้นเป็น 10 30 เท่า จากความเข้มข้นเริ่มต้น (หน่วยเป็นกรัมต่อลิตร) ข. การสร้างสภาวะเหนี่ยวนำการเพิ่มมวลสารและปลดปล่อยสารชีวมวล ทำการย้ายสาหร่ายจากข้อที่ ก. มาไว้ในภาชนะเลี้ยงสาหร่ายที่บรรจุด้วยสารละลายอาหารเหลว สูตรดัดแปลงซาร์บลู (Zarblue) ที่อุณหภูมิ 25 35 องศาเซลเซียส ให้แสงสว่างที่ 12 14 ชั่วโมงต่อวัน ที่ความสว่าง 4,000 5,500 ลักซ์ และทำการเติมอากาศร่วมขณะเลี้ยง เป็นเวลา 15 30 วัน และ/หรือ มวลของสาหร่ายมีความเข้มข้นเพิ่มขึ้นเป็น 4 10 เท่า จากความเข้มข้นเริ่มต้น (หน่วยเป็นกรัมต่อลิตร) แล้วจึงนำสาหร่ายที่ได้ไปพักบนภาชนะ ค. การคัดแยกสารสกัดด้วยการแช่แข็งละลาย ทำการเติมน้ำกลั่นลงในภาชนะที่บรรจุสาหร่ายจากข้อที่ ข. ใบอัตราส่วน 2 5 เท่าของน้ำหนัก สาหร่าย ผสมรวมให้เข้ากัน แล้วนำไปแช่แข็งที่อุณหภูมิ (12) (20) องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5 10 ชั่วโมง และนำมาละลายที่อุณหภูมิ 4 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 10 24 ชั่วโมง จากนั้นนำของเหลว ที่ได้มาแยกตะกอน ด้วยวิธีการปั่นเหวี่ยงหรือกรองด้วยตาข่ายแพลงก์ตอน จนได้เป็นสารสกัดสีน้ำเงินที่มี สารไฟโคไซยานินเป็นองค์ประกอบ ง. การย่อยโปรตีนด้วยเอนไซม์ นำสารสลัดสีน้ำเงินจากข้อที่ ค. มาผสมรวมเข้ากับเอนไซม์ในกลุ่มเอนโดเปปติเดส (endopeptidases) หรือเอ็กโซเปปติเดส (exopeptidases) ที่ความเข้มข้นเอนไซม์เท่ากับร้อยละ 2 5 จากนั้นทำการบ่ม ที่อุณหภูมิ 50 60 องศาเซลเซียส ปรับค่าความเป็นกรดด่าง (pH) ที่ 5.0 9.0 เป็น เวลา 2 24 ชั่วโมง แล้วจึงนำไปผ่านความร้อนที่อุณหภูมิ 95 100 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5 10 นาที จากนั้นนำของเหลวที่ได้มาผ่านตัวกรองขนาด 0.22 ไมครอน จนได้เป็นสารละลายไฟโคไซยานิน ไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า ที่มีลักษณะเป็นของเหลว ใส สีฟ้าถึงจนสีน้ำเงินเข้ม 2. กรรมวิธีการผลิตไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง สารละลายอาหารเหลวสูตรดัดแปลงซาร์บลู (Zarblue) ที่ใช้ในการเลี้ยงสาหร่าย ประกอบด้วย ธาตุอาหารหลัก ได้แก่ โซเดียมไนเตรต (NaNO3) ไดโปแตสเซียมไฮโดรเจนออร์โธฟอสเฟต (K2HPO4) โปแตสเซียมซัลเฟต (K2SO4) เกลือแกง (NaCl) กากน้ำตาล (molasses) ยูเรีย (urea) ธาตุ อาหารรอง และน้ำ ผสมรวมกันอยู่ในปริมาณ
2.5 15.0 กรัม ต่อน้ำ 1 ลิตร
3. กรรมวิธีการผลิตไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospiro sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง ขั้นตอนข้อที่ ค. การคัดแยกสารสกัดด้วยการแช่แข็งละลาย มีการแยกตะกอนด้วยวิธีการ ปั่นเหวี่ยง ที่ความเร็ว 3,000 10,000 รอบต่อนาที เป็นเวลา 520 นาที
4. กรรมวิธีการผลิตไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospiro sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง ขั้นตอนข้อที่ ค. การคัดแยกสารสกัดด้วยการแช่แข็งละลาย มีการแยกตะกอนด้วยวิธีการ กรองด้วยตาข่ายแพลงก์ตอน ที่ขนาด 20 50 ไมครอน
5. กรรมวิธีการผลิตไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospiro sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง เอนไซม์โนกลุ่มเอนโดฟปติเดส (endopeptidases) ได้แก่ ฟลาโวลไซม์ (Flavourzyme)
6. กรรมวิธีการผลิตไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospiro sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง เอนไซม์ในกลุ่มเอ็กโซเปปติเดส (exopeptidases) ได้แก่ เอนไซม์แอลคาเลส (alcalase enzyme)
7. กรรมวิธีการผลิตไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospiro sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง สารละลายไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า มีลักษณะเป็นของเหลวใส สีฟ้าถึงจนสีน้ำเงินเข้ม
8. กรรมวิธีการผลิตไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospiro sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง สารละลายไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า สามารถนำมาทำแห้งให้อยู่ ในรูปผงไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสท ด้วยวิธีการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็ง ที่สภาวะความดันตํ่าที่อุณหภูมิ (40) (80) องศาเซลเซียส
9. กรรมวิธีการผลิตไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospiro sp.) ตามข้อถือสิทธิ ข้อที่ 1 ที่ซึ่ง สารละลายไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า สามารถนำมาทำแห้งให้อยู่ ในรูปผงไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสท ด้วยวิธีการทำแห้งแบบพ่นฝอย โดยนำสารละลายไฟโคไซยานิน ไฮโดรไลเสทมาพ่นฝอยที่อุณหภูมิขาเข้า 120 160 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิขาออก 70 90 องศา เซลเซียส
TH2003001177U 2020-06-02 กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.) TH22393A3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH22393U TH22393U (th) 2023-09-06
TH22393A3 true TH22393A3 (th) 2023-09-06

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Richmond et al. Microalgaculture
CN101972004B (zh) 牡蛎酶解物的制备方法及应用
Vonshak Recent advances in microalgal biotechnology
CN104757334A (zh) 一种饲料用三藻胶
Affan et al. Variation of Spirulina maxima biomass production in different depths of urea-used culture medium
CN103627639B (zh) 一种利用螺旋藻养殖液残液养殖杜氏盐藻的方法
CN104212865A (zh) 微藻培养生产虾青素的生产工艺
Pan-utai et al. Photoautotrophic cultivation of Arthrospira maxima for protein accumulation under minimum nutrient availability
US10745351B2 (en) Method of producing phycocyanin powder
TH22393A3 (th) กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.)
TH22393U (th) กรรมวิธีการสกัดไฟโคไซยานินไฮโดรไลเสทจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.)
CN108179124B (zh) 一种用于培养钝顶螺旋藻的复合培养基
CN108165048B (zh) 一种天然食用色素盐藻黄及其制备方法和应用
CN102028173A (zh) 虾蛋白提取精及其制造工艺
US11758923B2 (en) Method for making plant-based meatloaf or tofu using single cell proteins from microalgae
Akter et al. Growth performance analysis of Spirulina platensis production by substituting K2SO4-K of kosaric medium with MOP-K
CN101240243A (zh) 淡水培育出系列功能保鲜新型钝顶螺旋藻和极大螺旋藻
TH22394U (th) กรรมวิธีการสกัดเพิ่มสารไฟโคไซยานินจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.)
CN102178206B (zh) 一种利用谷氨酸菌体制备肉味呈味料的方法
TH22394A3 (th) กรรมวิธีการสกัดเพิ่มสารไฟโคไซยานินจากสาหร่ายอาร์โธรสไปร่า (Arthrospira sp.)
CN112279738A (zh) 一种火龙果用有机液体肥料及其制备方法
CN106719111B (zh) 一种珊瑚分割繁殖的人工培育方法
AU2004322412A1 (en) An economical and efficient method for mass production of spirulina
CN108276797B (zh) 一种天然食用色素盐藻绿的制备方法及其应用
CN106399107A (zh) 一种海洋饵料微藻的保存方法