TH22207A3 - กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลสแบบสองขั้นตอนแบบของเหลวไหลผ่าน - Google Patents

กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลสแบบสองขั้นตอนแบบของเหลวไหลผ่าน

Info

Publication number
TH22207A3
TH22207A3 TH1903002437U TH1903002437U TH22207A3 TH 22207 A3 TH22207 A3 TH 22207A3 TH 1903002437 U TH1903002437 U TH 1903002437U TH 1903002437 U TH1903002437 U TH 1903002437U TH 22207 A3 TH22207 A3 TH 22207A3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
separating
lignocellulosic biomass
components
range
value
Prior art date
Application number
TH1903002437U
Other languages
English (en)
Other versions
TH22207U (th
Inventor
ไร่ทะ นางสาวมาริษา
โชติรสสุคนธ์ นายชญานนท์
สุริยะไชย นายนพรัตน์
เหล่าศิริพจน์ นายนวดล
วิริยะเอี่ยมพิกุล นายนาวิน
แช่มปรีดา นายวีระวัฒน์
พงษ์ชัยผล นายสุชาติ
Original Assignee
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
Filing date
Publication date
Application filed by สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ filed Critical สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
Publication of TH22207A3 publication Critical patent/TH22207A3/th
Publication of TH22207U publication Critical patent/TH22207U/th

Links

Abstract

หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้เป็นกระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลสซึ่งประกอบด้วย (ก) ขั้นตอนการแยกส่วนเฮมิเซลลูโลสให้อยู่ในรูปที่มีนํ้าตาลเป็นองค์ประกอบโดยใช้นํ้าร้อนความดันสูงซึ่งใช้ กรดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา โดยมีการควบคุมพีเอชในช่วงที่กำหนด (ข) ขั้นตอนการแยกส่วนลิกนินโดยใช้ตัวทำ ละลายอินทรีย์โดยอาศัยกรดที่คงค้างอยู่ในของแข็งที่ผ่านการขั้นตอนก่อนหน้า โดยมีค่าพีเอชในช่วงที่กำหนด และ (ค) การแยกส่วนของแข็งที่ประกอบด้วยเซลลูโลสความบริสุทธิ์สูง โดยทั้งสามขั้นตอนดำเนินการใน ถังปฏิกิรณ์เดียวในลักษณะที่ให้ของเหลวไหลผ่านโดยมีการควบคุมค่าอัตราความเร็วจำเพาะในช่วงที่กำหนด องค์ประกอบชีวมวลที่แยกได้สามารถนำไปใช้ในการผลิตสารผลิตภัณฑ์เคมีและวัสดุชีวภาพในอุตสาหกรรม

Claims (10)

1.หน้า 1 ของจำนวน 2 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลสแบบของเหลวไหลผ่านซึ่งประกอบด้วย ก. ขั้นตอนการแยกส่วนเฮมิเซลลูโลสให้อยู่ในรูปที่มีน้ำตาลเป็นองค์ประกอบ ทำการสกัดชีวมวลลิกโนเซลลูโลสด้วยน้ำซึ่งปรับพีเอชด้วยกรด โดยให้มีค่าพีเอชเริ่มต้น อยู่ในช่วง 13.5 ในช่วงอุณหภูมิ 150200 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 1090 นาที ข. ขั้นตอนการแยกส่วนลิกนิน ทำการสกัดของแข็งที่ได้จากขั้นตอนที่หนึ่งโดยใช้สารผสมตัวทำละลายอินทรีย์ซึ่ง ประกอบด้วย เอทานอลและน้ำ ที่ปริมาณเอทานอล 7095% ในช่วงอุณหภูมิ 150210องศา เซลเซียส เป็นระยะเวลา 1090 นาที โดยไม่มีการเติมตัวเร่งปฏิกิริยา และมีค่าพีเอชของระบบอยู่ ในช่วง 4.06.0 เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา ค. ขั้นตอนการแยกส่วนของแข็ง ที่ประกอบด้วยเซลลูโลสความบริสุทธิ์สูง ซึ่งเป็นส่วนของแข็งที่ คงเหลือในกังปฏิกรณ์ โดยขั้นตอนที่หนึ่งและสองทำในระบบปฏิกรณ์แบบของเหลวไหลผ่านซึ่งการควบคุมการ ไหลของสารละลายที่มีค่าความเร็วของเหลวจำเพาะอยู่ในช่วง 125 ต่อชั่วโมง โดยวัสดุลิกโน เซลลูโลสที่ใช้มีค่าความหนาแน่นรวมตั้งต้น อยู่ในช่วง 0.050.5 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
2. กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลส ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง ขั้นตอนการแยกส่วน เฮมิเซลลูโลส และขั้นตอนการแยกส่วนลิกนิน ดำเนินการในรูปแบบที่ต่อเนื่องกันโดยไม่มีการลดอุณหภูมิ และไม่มีการปรับพีเอชในระหว่างขั้นตอน
3. กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลส ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง สภาวะที่ใช้ในการแยก เฮมิเซลลูโลสที่เหมาะสมที่สุดคือ ที่อุณหภูมิ 160180 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 4080 นาที ที่พีเอช 1.5 2.5
4. กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลส ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง สภาวะที่ใช้ในการแยก ส่วนลิกนิน ที่เหมาะสมที่สุดคือ ที่อุณหภูมิ 170190 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 4060 นาที โดยมีค่าพีเอช เริ่มต้นเท่ากับ 13 เมื่อเริ่มต้นปฏิกิริยาโดยอาศัยกรดที่เหลือจากขั้นตอนแรกและเท่ากับ 46 เมื่อสิ้นสุด ปฏิกิริยา
5. กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลส ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง กระบวนการแยก องค์ประกอบดังกล่าว ที่เหมาะสมที่สุดคือ มีค่าความเร็วจำเพาะอยู่ในช่วง 515 ต่อชั่วโมง และค่าความ หนาแน่นรวมอยู่ในช่วง 0.0670.167 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
6. กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลส ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง ระบบปฏิกรณ์แบบของ เหลวไหลผ่านดังกล่าวมีค่าสัดส่วนความสูงต่อเส้นผ่านศูนย์กลางของถังปฏิกรณ์อยู่ในช่วง 115 โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในช่วง 1.252.5 หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า
7. กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลส ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งความดันในระบบอยู่ ในช่วง 1040 บาร์
8. กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลส ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง ปรับค่าค่าพีเอชโดยใช้ กรดซัลฟิวริก
9. กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลส ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง การแยกส่วนลิกนินออก จากของเหลวทำโดยการตกตะกอนลิกนินโดยการเติมน้ำและปรับพีเอชให้อยู่ในช่วงกรด และแยกลิกนินใน รูปของแข็งออกโดยวิธีที่เลือกได้จาก การกรอง, การปั่นเหวี่ยง, การเปลี่ยนเฟสของสารละลาย, การทำ แห้ง การแยกผ่านเมมเบรน อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน
10. กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลส ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง ชีวมวลลิกโนเซลลูโลสที่ ใช้ เลือกได้จาก วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในกลุ่มพืชล้มลุก วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในกลุ่มไม้ โดยที่ เหมาะสมที่สุดคือ ชานอ้อย หรือวัสดุเหลือใช้ที่ได้จากอ้อย อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน
TH1903002437U 2019-09-20 กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลสแบบสองขั้นตอนแบบของเหลวไหลผ่าน TH22207U (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH22207A3 true TH22207A3 (th) 2023-08-09
TH22207U TH22207U (th) 2023-08-09

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Dibble et al. A facile method for the recovery of ionic liquid and lignin from biomass pretreatment
DK1941064T3 (en) PROCEDURE FOR SEPARATION
US10202328B2 (en) Optimized process for extraction of ferulic acid with pretreatment
AU2012345048B2 (en) Method for manufacturing monosaccharides, oligosaccharides, and furfurals from biomass
WO2011066487A1 (en) Biorefinery process for extraction, separation and recovery of fermentable saccharides, other useful compounds, and yield of improved lignocellulosic material from plant biomass
Kaur et al. A process to produce furfural and acetic acid from pre-hydrolysis liquor of kraft based dissolving pulp process
EP3665147B1 (en) Process for producing levulinic acid
Sainio et al. Production and recovery of monosaccharides from lignocellulose hot water extracts in a pulp mill biorefinery
Oriez et al. Separation of sugarcane bagasse mild alkaline extract components by ultrafiltration–Membrane screening and effect of filtration parameters
EP1863736B1 (en) Recovery of sulphuric acid
Qian et al. Membranes for the removal of fermentation inhibitors from biofuel production
CN103896992B (zh) 一种从木质纤维素水解液中制取低聚糖的方法
TH22207A3 (th) กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลสแบบสองขั้นตอนแบบของเหลวไหลผ่าน
TH22207U (th) กระบวนการแยกองค์ประกอบของชีวมวลลิกโนเซลลูโลสแบบสองขั้นตอนแบบของเหลวไหลผ่าน
JP7534288B2 (ja) フルフラールの製造方法
JP5835185B2 (ja) バイオマスからの単糖類、オリゴ糖類及びフルフラール類の製造方法
JP5835186B2 (ja) バイオマスからの単糖類、オリゴ糖類及びフルフラール類の製造方法
RU2745988C2 (ru) Способ и устройство для ферментативного гидролиза
JP5842757B2 (ja) バイオマスからのフルフラール類の製造方法
JP5846008B2 (ja) バイオマスからの単糖類、オリゴ糖類及びフルフラール類の製造方法
CA2935050C (en) Method for producing sugar solution
CN110549456A (zh) 一种芦苇制备糠醛联产无胶纤维板的方法
Weinwurm et al. Lignin concentration by nanofiltration and precipitation in a lignocellulose biorefinery
RU2646115C2 (ru) Способ повышения выхода в процессе производства декстрозы с использованием мембранной технологии
TH2001004542A (th) วิธีการของการผลิตลิกนินและเฮมิเซลลูโลสจากวัสดุลิกโนเซลลูโลสจากพืช