TH2101002626A - การใช้กรดซัลโฟนิกในเครื่องไฟฟ้าแบบแห้งเพื่อขัดพื้นผิวโลหะผ่านการส่งผ่านด้วยไอออน - Google Patents

การใช้กรดซัลโฟนิกในเครื่องไฟฟ้าแบบแห้งเพื่อขัดพื้นผิวโลหะผ่านการส่งผ่านด้วยไอออน

Info

Publication number
TH2101002626A
TH2101002626A TH2101002626A TH2101002626A TH2101002626A TH 2101002626 A TH2101002626 A TH 2101002626A TH 2101002626 A TH2101002626 A TH 2101002626A TH 2101002626 A TH2101002626 A TH 2101002626A TH 2101002626 A TH2101002626 A TH 2101002626A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
dry
polish
electrolyte
metal
dry electrolyte
Prior art date
Application number
TH2101002626A
Other languages
English (en)
Inventor
ซาร์ซาเนดาส มิลลเลท ปัว
Original Assignee
ดรายไลท์ เอสแอล
Filing date
Publication date
Application filed by ดรายไลท์ เอสแอล filed Critical ดรายไลท์ เอสแอล
Publication of TH2101002626A publication Critical patent/TH2101002626A/th

Links

Abstract

DEPCT65 19/07/2564 การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ซึ่งถูกกำหนดลักษณะ ในแบบที่ว่า ของเหลวที่นำไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แบบแห้งประกอบรวมด้วยอย่างน้อยกรดซัลโฟนิก โดย เป็นที่พึงประสงค์แล้ว อนุภาคที่เป็นรูพรุนของอิเล็กโทรไลต์แบบแห้งประกอบรวมด้วยโพลิเมอร์ซัลโฟเนต และโดยเป็นที่พึงประสงค์มากยิ่งขึ้นแล้วโพลีสไตรีนไดไวนิลเบนซีน โดยเป็นที่พึงประสงค์แล้ว ของเหลวที่ นำไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แบบแห้งประกอบรวมด้วยกรดเมทานิซัลโฟนิก โดยเป็นที่พึงประสงค์แล้ว ความ เข้มข้นของกรดซัลโฟนิกโดยสัมพันธ์กับตัวทำละลายอยู่ระหว่างช่วงจาก 1 ถึง 70% โดยเป็นทางเลือกแล้ว ของเหลวที่นำไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แบบแห้งประกอบรวมด้วยสารจับโลหะและ/หรือสารคีเลต อิเล็กโทร ไลต์แบบแห้งซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่ามันประกอบรวมด้วยกรดซัลโฟนิกโดยเป็นของเหลวที่นำ ไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิก่อนหน้าข้อใดข้อหนึ่ง ----------------------------------------------------------- การใช้อิเล็กโทรไลต์แห้งเพื่อขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนโดยมีลักษณะที่ของเหลวที่เป็นสื่อ กระแสไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลด์แห้งประกอบด้วยกรดซัลโฟนิกเป็นอย่างน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งอนุภาคที่มีรู พรุนของอิเล็กโทรไลต์แห้งประกอบด้วยพอลิเมอร์ซัลโฟเนตและดีกว่าโพลีสไตรีนไดไวนิลเบนซีน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งของเหลวที่เป็นสื่อกระแสไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แห้งประกอบด้วยกรด methanesulfonic โดยเฉพาะ อย่างยิ่งความเข้มข้นของกรดซัลโฟนิกที่สัมพันธ์กับตัวทำละลายอยู่ระหว่าง 1 ถึง 70%อีกทางเลือกหนึ่ง ของเหลวที่เป็นสื่อกระแสไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แห้งประกอบด้วยสารเชิงซ้อนและ / หรือสารคีเลต อิเล็กโทร ไลต์แบบแห้งมีลักษณะที่ประกอบด้วยกรดซัลโฟนิกเป็นของเหลวที่เป็นสื่อกระแสไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิ

Claims (13)

DEPCT65 19/07/2564. 1. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ซึ่งถูกกำหนด ลักษณะในแบบที่ว่า ของเหลวที่นำไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แบบแห้งประกอบรวมด้วยอย่างน้อยกรด ซัลโฟนิก 2. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ตามที่กล่าวไว้ใน ข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่าอนุภาคที่เป็นรูพรุนของอิเล็กโทรไลต์แบบแห้ง ประกอบรวมด้วยโพลิเมอร์ซัลโฟเนต 3. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ตามที่กล่าวไว้ใน ข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่าอนุภาคที่เป็นรูพรุนของอิเล็กโทรไลต์แบบแห้ง ประกอบรวมด้วยเรซินแลกเปลี่ยนไอออนของโพลีสไตรีน-ไดไวนิลเบนซีน 4. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ตามข้อถือสิทธิ ก่อนหน้าข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่าของเหลวที่นำไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แบบ แห้งประกอบรวมด้วยกรดมีเทน-ซัลโฟนิก. 5. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ตามข้อถือสิทธิ ข้อ 1 และ 4 ซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่าความเข้มข้นของกรดซัลโฟนิกโดยสัมพันธ์กับตัวทำ ละลายอยู่ระหว่างช่วงจาก 1 ถึง 70% 6. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ตามข้อถือสิทธิ ก่อนหน้าข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่าของเหลวที่นำไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แบบ แห้งประกอบรวมด้วยสารจับโลหะ 7. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ตามข้อถือสิทธิ ข้อ 6 ซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่าสารจับโลหะประกอบรวมด้วยโพลีอีเธอร์ 8. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ตามข้อถือสิทธิ ข้อ 7 ซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่าโพลีอีเธอร์คืออัลคิลแบบเส้นตรง 9. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ตามข้อถือสิทธิ ข้อ 8 ซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่าโพลีอีเธอร์คือโพลีเอทิลีนไกลคอล 10. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ตามข้อถือสิทธิ ข้อ 9 ซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่าโพลีเอทิลีนไกลคอลมีน้ำหนักโมเลกุลที่มีช่วงจาก 200 ถึง 500 ดัลตัน 11. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ตามข้อถือสิทธิ ข้อ 8 ซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่าโพลีอีเธอร์คือโพลีโพรพิลีนไกลคอล 12. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดเงาพื้นผิวโลหะผ่านการขนส่งไอออน ตามข้อถือสิทธิ ก่อนหน้าข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่าของเหลวที่นำไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แบบ แห้งประกอบรวมด้วยสารคีเลต 13. อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งซึ่งถูกกำหนดลักษณะในแบบที่ว่ามันประกอบรวมด้วยกรดซัลโฟ นิกโดยเป็นของเหลวที่นำไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิก่อนหน้าข้อใดข้อหนึ่ง -----------------------------------------------------------
1. การใช้อิเล็กโทรไลต์แห้งเพื่อขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนโดยมีลักษณะที่ของเหลวที่เป็นสื่อ กระแสไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แห้งประกอบด้วยกรดซัลโฟนิกเป็นอย่างน้อย
2. การใช้อิเล็กโทรไลต์แห้งเพื่อขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิที่ 1 โดยมีลักษณะ ที่อนุภาคที่มีรูพรุนของอิเล็กโทรไลต์แห้งประกอบด้วยโพลิเมอร์ซัลโฟเนต
3. การใช้อิเล็กโทรไลต์แห้งเพื่อขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิที่ 2 โดยมีลักษณะ ที่อนุภาคที่มีรูพรุนของอิเล็กโทรไลต์แห้งประกอบด้วยเรซินแลกเปลี่ยนไอออนของพอลิสไตรีน-ไดไวนิลเบน ซีน
4. การใช้อิเล็กโทรไลต์แห้งเพื่อขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนตามข้อกล่าวอ้างก่อนหน้านี้โดยระบุว่า ของเหลวที่เป็นสื่อกระแสไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แห้งประกอบด้วยกรดมีเทน - ซัลโฟนิก
5. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนตามข้อถือสิทธิที่ 1 และ 4 ระบุว่ามีความ เข้มข้นของกรดซัลโฟนิกที่สัมพันธ์กับตัวทำละลายตั้งแต่ 1 ถึง 70%
6. การใช้อิเล็กโทรไลต์แห้งเพื่อขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนตามข้อกล่าวอ้างใด ๆ ก่อนหน้านี้โดยระบุว่า ของเหลวที่เป็นสื่อกระแสไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แห้งประกอบด้วยสารเชิงซ้อน
7. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนตามข้อถือสิทธิที่ 6 ระบุว่าสารเชิงซ้อน ประกอบด้วยโพลีเอเทอร์
8. การใช้อิเล็กโทรไลต์แห้งเพื่อขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนตามข้อถือสิทธิที่ 7 ที่ระบุว่าโพลีเอเทอร์มี ลักษณะเป็นอัลคิลเชิงเส้น
9. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนตามข้อถือสิทธิที่ 8 ระบุว่า โพลีเอเทอร์ คือโพลีโพรพีลีนไกลคอล
10. การใช้อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งเพื่อขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนตามข้อถือสิทธิที่ 9 ระบุว่าโพลีเอทิลีน ไกลคอลมีนํ้าหนักโมเลกุลตั้งแต่ 200 ถึง 500 Da
11. การใช้อิเล็กโทรไลต์แห้งในการขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนตามข้อถือสิทธิที่ 8 ระบุว่าโพลีเอเทอร์คือ โพลีโพรพีลีนไกลคอล
12. การใช้อิเล็กโทรไลต์แห้งเพื่อขัดผิวโลหะผ่านการส่งผ่านไอออนตามข้อถือสิทธิใด ๆ ก่อนหน้านี้โดยระบุว่า ของเหลวที่เป็นสื่อกระแสไฟฟ้าของอิเล็กโทรไลต์แห้งประกอบด้วยสารคีเลต
13. อิเล็กโทรไลต์แบบแห้งมีลักษณะประกอบด้วยกรดซัลโฟนิกเป็นของเหลวนำไฟฟ้าตามข้อถือสิทธิใด ๆ ก่อนหน้านี้
TH2101002626A 2019-11-06 การใช้กรดซัลโฟนิกในเครื่องไฟฟ้าแบบแห้งเพื่อขัดพื้นผิวโลหะผ่านการส่งผ่านด้วยไอออน TH2101002626A (th)

Publications (1)

Publication Number Publication Date
TH2101002626A true TH2101002626A (th) 2022-09-05

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Zuo et al. Sulfonated microporous polymer membranes with fast and selective ion transport for electrochemical energy conversion and storage
Zeng et al. Anion exchange membranes for aqueous acid-based redox flow batteries: Current status and challenges
Tominaga et al. Fast Li-ion conduction in poly (ethylene carbonate)-based electrolytes and composites filled with TiO 2 nanoparticles
ES2748340T3 (es) Membranas de intercambio iónico
Jang et al. Highly proton conductive, dense polybenzimidazole membranes with low permeability to vanadium and enhanced H 2 SO 4 absorption capability for use in vanadium redox flow batteries
Maurya et al. Amphoteric nanoporous polybenzimidazole membrane with extremely low crossover for a vanadium redox flow battery
Lin et al. Protic ionic liquid-based hybrid proton-conducting membranes for anhydrous proton exchange membrane application
Hu et al. Proton delivery through a dynamic 3D H-bond network constructed from dense hydroxyls for advanced ion-selective membranes
Li et al. Mussel-inspired modification of ion exchange membrane for monovalent separation
Liao et al. Fluoro-methyl sulfonated poly (arylene ether ketone-co-benzimidazole) amphoteric ion-exchange membranes for vanadiumáredox flow battery
CN112534088A (zh) 磺酸在干电解质中通过离子传输抛光金属表面的用途
KR101586769B1 (ko) 고분자 지지체를 이용한 박형 이온교환막의 제조방법
Pan et al. One-pot solvent-free synthesis of cross-linked anion exchange membranes for electrodialysis
Muthumeenal et al. Sulfonated polyethersulfone (spes)–charged surface modifying macromolecules (csmms) blends as a cation selective membrane for fuel cells
US20170136413A1 (en) Reverse electrodialysis device having enhanced maximum power density with ultra-thin ion exchange membranes
CN104437090A (zh) 反向电透析装置用离子交换膜及包含它的反向电透析装置
Lu et al. Preparation and characterization of nonaqueous proton-conducting membranes with protic ionic liquids
JP2023085516A (ja) フロー電池用複合膜
Thakur et al. Controlled metal loading on poly (2-acrylamido-2-methyl-propane-sulfonic acid) membranes by an ion-exchange process to improve electrodialytic separation performance for mono-/bi-valent ions
Park et al. Sulfonated mesoporous benzene-silica-embedded sulfonated poly (ether ether ketone) membranes for enhanced proton conduction and anti-dehydration
Jang et al. Alkyl spacer grafted ABPBI membranes with enhanced acid-absorption capabilities for use in vanadium redox flow batteries
US20100330454A1 (en) Polymer electrolyte composition
TH2101002626A (th) การใช้กรดซัลโฟนิกในเครื่องไฟฟ้าแบบแห้งเพื่อขัดพื้นผิวโลหะผ่านการส่งผ่านด้วยไอออน
KR20100027954A (ko) 전해질막, 이의 제조 방법, 및 이를 포함하는 물품
Li et al. Cation-exchange membranes with controlled porosity in electrodialysis application