TH19382A3 - กรรมวิธีการผลิตกระดาษผสมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคสำหรับรองนั่งชักโครก - Google Patents

กรรมวิธีการผลิตกระดาษผสมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคสำหรับรองนั่งชักโครก

Info

Publication number
TH19382A3
TH19382A3 TH1903001876U TH1903001876U TH19382A3 TH 19382 A3 TH19382 A3 TH 19382A3 TH 1903001876 U TH1903001876 U TH 1903001876U TH 1903001876 U TH1903001876 U TH 1903001876U TH 19382 A3 TH19382 A3 TH 19382A3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
paper
pulp
fibers
pathogenic bacteria
mixing
Prior art date
Application number
TH1903001876U
Other languages
English (en)
Other versions
TH19382C3 (th
Inventor
นางสุจยาฤทธิศร
Original Assignee
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Filing date
Publication date
Application filed by มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี filed Critical มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Publication of TH19382C3 publication Critical patent/TH19382C3/th
Publication of TH19382A3 publication Critical patent/TH19382A3/th

Links

Abstract

บทสรุปการประดิษฐ์ซึ่งจะปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณาReadFile:หน้า1ของจำนวน1หน้าบทสรุปการประดิษฐ์กรรมวิธีการผลิตกระดาษผสมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคสำหรับรองนั่งชักโครกประกอบด้วยการผลิตเยื่อเคมีการฟอกเยื่อการเตรียมนํ้าเยื่อการทำแผ่นกระดาษการปรับปรุงคุณสมบัติกระดาษซึ่งในผสมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคได้แก่สารซิลเวอร์ซิโอไลท์(Silverzeolite)หรือซิลเวอร์ไนเตรต(Silvernitrate)หรือไตรโคลซาน(Triclosan)สามารถผสมได้ในขั้นตอนของการผสมนํ้าเยื่อก่อนจะถูกส่งเข้าสู่เครื่องจักรผลิตกระดาษเพื่อทำเป็นแผ่นกระดาษหรือสามารถผสมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคกับนํ้าแป้งที่ใช้นำไปฉาบบนผิวกระดาษก่อนที่เข้าลูกอบกระดาษซึ่งการเคลือบจะเป็นการเคลือบทั้ง2ด้านของกระดาษในขั้นตอนการปรับปรุงสมบัติกระดาษโดยมีความมุ่งหมายของการประดิษฐ์นี้เพื่อผลิตกระดาษที่ใช้สำหรับรองฝานั่งซักโครกที่มีคุณสมบัติในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคที่อาจปนเปื้อนบนที่รองนั่งชักโครกในห้องสุขาสาธารณะได้

Claims (3)

ข้อถือสิทธฺ์(ทั้งหมด)ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา:------28/08/2563------(OCR) 1.กรรมวิธีการผลิตกระดาษยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคสำหรับรองนั่งชักโครกประกอบด้วยขั้นตอนที่1กรรมวิธีการผลิตกระดาษ1.1การผลิตเยื่อเคมี(chemicalpulpingprocess)ซึ่งการผลิตเยื่อตามกรรมวิธีนี้จะใช้พลังงานเคมีและพลังงานความร้อนในการทำให้เส้นใยแยกจากกันโดยวัตถุดิบที่ใช้ผลิตกระดาษจะถูกส่งเข้าหม้อต้มเยื่อ(digester)สารเคมีและความร้อนจะละลายลิกนินออกไปเหลือส่วนที่ไม่ละลายคือเยื่อ1.2การฟอกเยื่อ(bleaching)การฟอกเยื่อเป็นการทำให้เยื่อมีสีขาวเหมาะกับการใช้กระดาษ1.3การเตรียมนํ้าเยื่อมีขั้นตอนดังนี้1.3.1การกระจายเส้นใย(defibering)กระจายเยื่อเพื่อให้เส้นใยแยกออกจากกันเป็นอิสระในนํ้าโดยใช้อุปกรณ์เรียกว่าไฮดราพัลเพอร์(hydrapulper)เพื่อกระจายแยกเส้นใย1.3.2การบดเยื่อ(refining)เพื่อให้เส้นใยแตกแขนงเป็นขุยเพื่อเพิ่มศักยภาพของพันธะระหว่างเส้นใยให้สูงขึ้นโดยใส่นํ้าเยื่อให้ไหลเข้าไปในเครื่องบดเยื่อซึ่งภายในเครื่องบดเยื่อจะมีฟันบดเยื่อให้เส้นใยแตกออกเป็นแขนง1.3.3การผสมนํ้าเยื่อ(blending)เป็นการเติมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคลงไปผสมกับเยื่อที่ผ่านการบดแล้วโดยผสมในถังใบพัดกวนที่ความเร็ว5-6รอบต่อนาทีอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา20-30นาทีจากนั้นเยื่อจะถูกเก็บในถัง1.3.4การแยกสิ่งสกปรกออกจากนํ้าเยื่อ(screeningandcleaning)เพื่อคัดวัสดุที่มีขนาดใหญ่กว่าเส้นใยออกแล้วผ่านเข้าสู่เครื่องทำความสะอาดคัดแยกวัสดุอื่นออกไปโดยใช้หลักการถ่วงจำเพาะ1.3.5การควบคุมความข้นของนํ้าเยื่อ(consistencyregulator)เพื่อควบคุมให้นํ้าเยื่อข้นคงที่โดยให้นํ้าเยื่อมีความเข้มข้นร้อยละ3-4%1.4การทำแผ่นกระดาษหลังการผสมนํ้าเยื่อที่เตรียมได้จากข้อ1.3เรียบร้อยแล้วนํ้าเยื่อจะถูกส่งเข้าสู่เครื่องจักรผลิตกระดาษเพื่อทำเป็นแผ่นกระดาษที่ยาวต่อเนื่องกัน1.5การปรับปรุงสมบัติกระดาษสามารถเลือกทำได้2วิธีโดยเลือกวิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้วิธีที่1การปรับปรุงผิวกระดาษ(surfacemodification)เมื่อกระดาษผ่านลูกอบแห้งแล้วจะเข้าสู่ส่วนรีดกระดาษเพื่อปรับปรุงกระดาษให้เรียบขึ้นและเพิ่มความหนาแน่นของเนื้อกระดาษส่งผลให้กระดาษบางลงวิธีที่2การปรับปรุงผิวกระดาษในขณะที่เดินแผ่นด้วยวิธีการฉาบผิวซึ่งจะทำก่อนที่เข้าลูกอบกระดาษโดยใช้นํ้าแป้งฉาบบนผิวกระดาษทำให้กระดาษมีผิวเรียบขึ้นนอกจากนี้ยังเพิ่มความแข็งแรงของพันธะที่ผิวกระดาษทำให้ผิวกระดาษแข็งแรงที่ซึ่งประกอบเพิ่มเติมด้วยการเติมสารยับยั้งแบคทีเรียสามารถเติมในขั้นตอนการผสมน้ำเยื่อหรือผสมกับนํ้าแป้งที่ใช้ฉาบบนผิวกระดาษก็ได้ขั้นตอนที่2การเติมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคสามารถทำได้2วิธีโดยเลือกวิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้วิธีที่1เติมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคที่สามารถเลือกได้จากสารซิลเวอร์ซิโอไลท์(Silverzeolite)ซิลเวอร์ไนเตรต(Silvernitrate)ไตรโคลซาน(Triclosan)ที่มีปริมาณร้อยละ0.06-0.07(W/V)อย่างใดอย่างหนึ่งโดยผสมกับนํ้าเยื่อปริมาณร้อยละ100ที่ใช้ทำกระดาษก่อนจะถูกส่งเข้าสู่เครื่องจักรผลิตกระดาษที่เตรียมได้จากข้อ1.3เพื่อทำเป็นแผ่นกระดาษวิธีที่2เติมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคที่สามารถเลือกได้จากสารซิลเวอร์ซิโอไลท์(Silverzeolite)ซิลเวอร์ไนเตรต(Silvernitrate)ไตรโคลซาน(Triclosan)ที่มีปริมาณร้อยละ0.06-0.07(W/V)อย่างใดอย่างหนึ่งโดยผสมกับนํ้าแป้งปริมาณร้อยละ100แล้วนำไปฉาบบนผิวกระดาษก่อนที่เข้าลูกอบกระดาษซึ่งการเคลือบจะเป็นการเคลือบทั้ง2ด้านของกระดาษที่เตรียมได้จากข้อ1.5วิธีที่2ของกรรมวิธีการผลิตกระดาษ------------หน้า1ของจำนวน2หน้าข้อถือสิทธิ
1.กรรมวิธีการผลิตกระดาษยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคสำหรับรองนั่งชักโครกประกอบด้วยขั้นที่1กรรมวิธีการผลิตกระดาษ1.1การผลิตเยื่อเคมี(chemicalpulpingprocess)ซึ่งการผลิตเยื่อตามกรรมวิธีนี้จะใช้พลังงานเคมีและพลังงานความร้อนในการทำให้เส้นใยแยกจากกันโดยวัตถุดิบที่ใช้ผลิตกระดาษจะถูกส่งเข้าหม้อต้มเยื่อ(digester)สารเคมีและความร้อนจะละลายลิกนินออกไปเหลือส่วนที่ไม่ละลายคือเยื่อ1.2การฟอกเยื่อ(bleaching)การฟอกเยื่อเป็นการทำให้เยื่อมีสีขาวเหมาะกับการใช้กระดาษ1.3การเตรียมน้ำเยื่อมีขั้นตอนดังนี้1.3.1การกระจายเส้นใย(defibering)กระจายเยื่อเพื่อให้เส้นใยแยกออกจากกันเป็นอิสระในน้ำโดยใช้อุปกรณ์เรียกว่าไฮดราพัลเพอร์(hydrapulper)เพื่อกระจายแยกเส้นใย1.3.2การบดเยื่อ(refining)เพื่อให้เส้นใยแตกแขนงเป็นขุยเพื่อเพิ่มศักยภาพของพันธะระหว่างเส้นใยให้สูงขึ้นโดยใส่น้ำเยื่อให้ไหลเข้าไปในเครื่องบดเยื่อซึ่งภายในเครื่องบดเยื่อจะมีฟันบดเยื่อให้เส้นใยแตกออกเป็นแขนง1.3.3การผสมน้ำเยื่อ(blending)เป็นการเติมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคลงไปผสมกับเยื่อที่ผ่านการบดแล้วโดยผสมในถังใบพัดกวนที่ความเร็ว5-6รอบต่อนาทีอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา20-30นาทีจากนั้นเยื่อจะถูกเก็บในถัง1.3.4การแยกสิ่งสกปรกออกจากน้ำเยื่อ(screeningandcleaning)เพื่อคัดวัสดุที่มีขนาดใหญ่กว่าเส้นใยออกแล้วผ่านเข้าสู่เครื่องทำความสะอาดคัดแยกวัสดุอื่นออกไปโดยใช้หลักการถ่วงจำเพาะ1.3.5การควบคุมความข้นของน้ำเยื่อ(consistencyregulator)เพื่อควบคุมให้น้ำเยื่อข้นคงที่โดยให้น้ำเยื่อมีความเข้มข้นร้อยละ3-41.4การทำแผ่นกระดาษหลังการผสมน้ำเยื่อที่เตรียมได้จากข้อ1.3เรียบร้อยแล้วน้ำเยื่อจะถูกส่งเข้าสู่เครื่องจักรผลิตกระดาษเพื่อทำเป็นแผ่นกระดาษที่ยาวต่อเนื่องกัน1.5การปรับปรุงสมบัติกระดาษทำได้2ลักษณะคือ1.5.1การปรับปรุงผิวกระดาษ(surfacemodification)เมื่อกระดาษผ่านลูกอบแห้งแล้วจะเข้าสู่ส่วนรีดกระดาษเพื่อปรับปรุงกระดาษให้เรียบขึ้นและเพิ่มความหนาแน่นของเนื้อกระดาษส่งผลให้กระดาษบางลง1.5.2การปรับปรุงผิวกระดาษในขณะที่เดินแผ่นด้วยวิธีการฉาบผิวซึ่งจะทำก่อนที่เช้าลูกอบกระดาษโดยใช้น้ำแป้งฉาบบนผิวกระดาษทำให้กระดาษมีผิวเรียบขึ้นนอกจากนี้ยังเพิ่มความแข็งแรงของพันธะที่ผิวกระดาษทำให้ผิวกระดาษแข็งแรงที่ซึ่งประกอบเพิ่มเติมด้วยการเติมสารยับยั้งแบคทีเรียสามารถเติมในขั้นตอนการผสมน้ำเยื่อหรือผสมกับน้ำแป้งที่ใช้ฉาบบนผิวกระดาษก็ได้ขั้นที่2การเติมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคสามารถทำได้2วิธีดังนี้หน้า2ของจำนวน2หน้าวิธีที่1เติมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคที่สามารถเลือกได้จากสารซิลเวอร์ซิโอไลท์(Silverzeolite)ซิลเวอร์ไนเตรต(Silvernitrate)ไตรโคลซาน(Triclosan)ที่มีปริมาณร้อยละ0.06-0.07(W/V)อย่างใดอย่างหนึ่งโดยผสมกับน้ำเยื่อปริมาณร้อยละ100ที่ใช้ทำกระดาษก่อนจะถูกส่งเข้าสู่เครื่องจักรผลิตกระดาษที่เตรียมได้จากข้อ1.3เพื่อทำเป็นแผ่นกระดาษวิธีที่2เติมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคที่สามารถเลือกได้จากสารซิลเวอร์ซิโอไลท์(Silverzeolite)ซิลเวอร์ไนเตรต(Silvernitrate)ไตรโคลซาน(Triclosan)ที่มีปริมาณร้อยละ0.06-0.07(W/V)อย่างใดอย่างหนึ่งโดยผสมกับน้ำแป้งปริมาณร้อยละ100แล้วนำไปฉาบบนผิวกระดาษก่อนที่เข้าลูกอบกระดาษซึ่งการเคลือบจะเป็นการเคลือบทั้ง2ด้านของกระดาษที่เตรียมได้จากขั้นตอนที่1.5.2ของกรรมวิธีการผลิตกระดาษ
2.กรรมวิธีการผลิตกระดาษยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคสำหรับรองนั่งซักโครกตามข้อถือสิทธิ1ที่ซึ่งการผสมน้ำเยื่อ(blending)เป็นการเติมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคที่เลือกได้จากซิลเวอร์ซิโอไลท์(Silverzeolite)ซิลเวอร์ไนเตรต(Silvernitrate)ไตรโคลซาน(Triclosan)อย่างใดอย่างหนึ่ง
3.กรรมวิธีการผลิตกระดาษยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคสำหรับรองนั่งชักโครกตามข้อถือสิทธิ1ที่ซึ่งประกอบเพิ่มเติมด้วยการเติมสารยับยั้งแบคทีเรียสามารถเติมในขั้นตอนการผสมน้ำเยื่อหรือผสมกับน้ำแป้งที่ใช้ฉาบบนผิวกระดาษ
TH1903001876U 2019-07-24 กรรมวิธีการผลิตกระดาษผสมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคสำหรับรองนั่งชักโครก TH19382A3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH19382C3 TH19382C3 (th) 2022-03-03
TH19382A3 true TH19382A3 (th) 2022-03-03

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP6268385B2 (ja) 防水再生紙およびその生産方法
DE2606953A1 (de) Verfahren zur herstellung von vliesstoffen auf nassem wege
CN109487626A (zh) 一种高抗水性吸管衬纸及其制备方法
CN110318302A (zh) 一种饮料吸管纸的制造方法
CN104499342B (zh) 耐水性牛皮纸的制造工艺
CN112553962B (zh) 一种高强度易分散的马桶擦拭纸的生产方法
CN102116001B (zh) 一种伸性纸袋纸及其生产方法
CN110693372B (zh) 一种本色高湿强面巾纸及其生产工艺
CN105064116A (zh) 一种竹制生活用纸
CN105155333A (zh) 一种高档象牙白胶版印刷纸的制造方法
CN108824068A (zh) 替代石膏板护面纸的特种贴面玻纤薄毡一次成型工艺
CH640026A5 (de) Verfahren zur herstellung eines blattes mit hohem fuellungsgrad.
CN109371743A (zh) 一种生产纸吸管用纸浆的配方
CN102277786A (zh) 一种双胶纸或静电复印纸的制备方法
TH19382C3 (th) กรรมวิธีการผลิตกระดาษผสมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคสำหรับรองนั่งชักโครก
TH19382A3 (th) กรรมวิธีการผลิตกระดาษผสมสารยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคสำหรับรองนั่งชักโครก
CN104032626A (zh) 一种浸渍白牛皮纸及其制备工艺
CN111472198B (zh) 吸管底纸的制作方法、吸管底纸以及纸吸管
CN115058923B (zh) 一种烟花管用原纸及制造方法
CN114808537B (zh) 生活用纸的制备方法及生活用纸
CN110331614A (zh) 一种用于制备吸管纸的浆料
CN104452466A (zh) 一种本色食品包装纸及其制备方法
CN116575266B (zh) 一种军用地图纸的制造方法
CN115506181B (zh) 一种白色离型原纸及其制造方法
JP6927403B1 (ja) 紙の製造方法