TH19257A - วิธีการฟอกจางเยื่อ - Google Patents

วิธีการฟอกจางเยื่อ

Info

Publication number
TH19257A
TH19257A TH9501000332A TH9501000332A TH19257A TH 19257 A TH19257 A TH 19257A TH 9501000332 A TH9501000332 A TH 9501000332A TH 9501000332 A TH9501000332 A TH 9501000332A TH 19257 A TH19257 A TH 19257A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
phase
currents
oxygen
stream
white
Prior art date
Application number
TH9501000332A
Other languages
English (en)
Other versions
TH16767B (th
Inventor
เจ. เคิร์ซเนอร์ นายมาร์ค
เอซ. เซ็ธน่า นายรัสทัม
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH19257A publication Critical patent/TH19257A/th
Publication of TH16767B publication Critical patent/TH16767B/th

Links

Claims (7)

1.วิธีผลิตเยื่อไม้ที่ฟอกจาง ซึ่งประกอบด้วย การย่อยชิ้นไม้ในระยะของการย่อยเพื่อผลิตสต็อคสีน้ำตาล และลิเควอร์ดำที่อ่อน การล้างเยื่อสต็อคสีน้ำตาล และการสกัดลิเควอร์ดำที่อ่อน การใส่เยื่อสต็อคสีน้ำตาล หลังจากทำการล้างเข้าไปในระยะของการฟอกจางตามลำดับ รวม ถึงระยะของการแยกลิกนินออกด้วยออกซิเจน และระยะของการฟอกจางด้วยโอโซนเพื่อให้ได้ ผลิตภัณฑ์เยื่อไม้ที่ฟอกจาง ระยะของการแยกลิกนินออกด้วยออกซิเจน โดยการใช้กระแสที่มีออกซิเจน และระยะของ การฟอกจางด้วยโอโซนโดยการใช้กระแสที่มีโอโซน/ออกซิเจน และการผลิตกระแสของเสีย ซึ่งตาม หลักต้องมีไอของน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ โอโซน และออกซิเจน การทำกระแสของเสียให้กลับคืนมาใหม่ และการขัดถูกระแสของเสียด้วยสารละลายในน้ำ ของโซเดียมซัลไฟด์ และโซเดียม ไฮดรอกไซด์ เพื่อขจัดโอโซน และคาร์บอนไอออกไซด์ออกจาก กระแสของเสีย และดังนั้นเกิดเป็นกระแสที่ถูกขัดถูก และ การเกิดกระแสที่มีออกซิเจนสำหรับใช้ในระยะของการแยกลิกนินออกด้วยออกซิเจนจาก กระแสที่ถูกขัดถูกอย่างน้อยที่สุดหนึ่งส่วน
2. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ในที่ซึ่ง ขัดถูกระแสของเสีย โดยให้ลิเควอร์ขาว และกระแสของเสียทำปฏิกิริยากันในระยะของการ ผลิตพอลิซัลไฟด์ เพื่อผลิตกระแสของคิเคเวอร์พอลิซัลไฟด์ และกระแสที่ถูกขัดดังกล่าว และ ใส่กระแสของลิเควอร์พอลิซัลไฟด์ดังกล่าวนั้น เข้าไปในระยะของการย่อยดังกล่าวนั้น
3.วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ในที่ซึ่ง ระยะตามลำดับดังกล่าวนั้นประกอบต่อไปด้วยระยะของการออกซิไดซ์สกัด และระยะของ การฟอกจางด้วยเปอร์ออกไซด์ หรือคลอรีน ไดออกไซด์อย่างใดอย่างหนึ่ง ใส่กระแสพอลิซัลไฟด์เข้าไปในระยะของการย่อยดังกล่าวนั้น ใส่กระแสของลิเควอร์ไธโอซัลเฟทเข้าไปในระยะของระยะของการแยกลิกนินออกด้วยออกซิเจนดัง กล่าวนั้น กระแสที่มีออกซิเจนดังกล่าวที่ถูกใช้ในระยะของการแยกลิกนินด้วยออกซิเจนดังกล่าวนั้น ประกอบด้วยกระแสแรกที่มีออกซิเจน ใส่กระแสที่สองที่มีออกซิเจนพร้อมกับกระแสของลิเควอร์ขาวที่ถูกออกซิไดซ์อย่างเต็มที่เข้า ไปในระยะของการออกซิไดซ์ดังกล่าวนั้น อาจเลือกใส่กระแสของลิเควอร์ขาวที่อาจเลือกให้ถูกออกซิไดซ์อย่างเต็มที่เข้าไปในระยะของ การฟอกจางด้วยเปอร์ออกไซด์ดังกล่าวนั้น ใส่กระแสย่อยสามกระแส ซึ่งประกอบด้วยลิเควอร์ขาว และกระแสที่สาม กระแสที่สี่ และ กระแสที่ห้าที่มีออกซิเจน เข้าไปในระยะของการผลิตพอลิซัลไฟด์ และระยะของการออกซิไดซ์ ลิเควอร์ขาว ซึ่งความดันสูงขึ้น และระยะของการออกซิไดซ์ลิเควอร์ขาวอย่างสมบูรณ์ตามลำดับ กระแสแรกของกระแสย่อยสามกระแส จะทำปฏิกิริยากับกระแสที่สามที่มีออกซิเจนในระยะของการ ผลิตพอลิซัลไฟด์เพื่อให้เกิดกระแสลิเควอร์พอลิซัลไฟด์ กระแสที่สองของกระแสย่อยสามกระแส จะ ทำปฏิกิริยากับกระแสที่สี่ที่มีออกซิเจนในระยะของการออกซิไดซ์ลิเควอร์ขาวดังกล่าว เพื่อให้เกิด กระแสลิเควอร์ไฮโอซัลเฟท และกระแสที่สามของกระแสะย่อยสามกระแสดังกล่าวจะทำปฏิกิริยากับ กระแสที่ห้าที่มีออกซิเจนในระยะของการออกซิไดซ์ลิเควอร์อยางสมบูรณ์ดังกล่าวนั้น เพื่อให้เกิด กระแสของลิเควอร์ขาวที่ถูกออกซิไดซ์ อย่างเต็มที่และกระแสของลิเควอร์ขาวที่อาจเลือกให้ถูก ออกซิไดซ์อย่างเต็มที่ แบ่งกระแสที่ถูกขัดถูออกเป็นกระแสย่อยสี่กระแส กระแสแรก และกระแสที่สองที่มี ออกซิเจนเกิดจากสองกระแสของกระแสย่อยสี่กระแสดังกล่าวนั้น และสองกระแสของกระแสที่สาม กระแสที่สี่ และกระแสที่ห้าที่มีออกซิเจนสองกระแส ดังกล่าวนั้นเกิดจากกระแสย่อยสองกระแสที่ เหลือของกระแสย่อยสี่กระแสดังกล่าวนั้น ดังนั้นกระแสที่หนึ่งของกระแสที่สาม กระแสที่สี่ และ กระแสที่ห้าที่มีออกซิเจน ดังกล่าวนั้นไม่เกิดจากระแสสองกระแสที่เหลือดังกล่าวนั้นของกระแส ย่อยสี่กระแสดังกล่าวนั้น การอัดกระแสที่ถูกขัดถูก หรือกระแสของเสียอย่างใดอย่างหนึ่งให้ความดันสูงขึ้น ที่ซึ่งระยะ ของการออกซิไดซ์ลิเควอร์ขาวที่ความดันสูงขึ้น และระยะของการออกซิไดซ์ลิเควอร์ขาวอย่าง สมบูรณ์จะทำงาน และ การใช้กระแสของเสียเป็นกระแสหนึ่งของกระแสที่สาม กระแสที่สี่ และกระแสที่ห้า ที่มี ออกซิเจนซึ่งไม่เกิดจากกระแสที่เหลือสองกระแสดังกล่าวนั้นของกระแสย่อยสี่กระแสดังกล่าวนั้น ดัง นั้นออกซิเจนที่มีอยู่ภายในกระแสของเสียดังกล่าวนั้นทำปฏิกิริยากับลิเควอร์ขาวดังกล่าวนั้นเพื่อผลิต ลิเควอร์ไธโอซัลเฟทดังกล่าวนั้น ลิเควอร์ขาวที่ถูกออกซิไดซ์อย่างสมบูรณ์ หรืออลิเควอร์พอลิซัลไฟด์ อย่างใดอย่างหนึ่ง และลิเควอร์ขาวดังกล่าวนั้นกระทำเป็นสารละลายแอลคาไลน์น้ำดังกล่าวนั้น พร้อมๆ กันเพื่อขัดถู กระแสของเสียดังกล่าวนั้น
4. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ในที่ซึ่ง กระแสที่สามที่มีออกซิเจนดังกล่าวนั้นประกอบด้วยกระแสของเสียดังกล่าวนั้น ดังนั้นกระแส ของเสียดังกล่าวนั้นได้รับการขัดถูกระหว่างการผลิตกระแสลิเควอร์พอลิซัลไฟด์ดังกล่าวนั้น และ อัดกระแสที่ถูกขัดถูดังกล่าวนั้นให้มีความสูงขึ้น ดังกล่าวนั้น
5.วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ในทีซึ่ง ระยะตามลำดับดังกล่าวนั้นรวมต่อไปถึงระยะของการออกซิไดซ์สกัด และระยะของการฟอก จางด้วยเปอร์ออกไซด์ หรือคลอรีน ไดออกไซด์อย่างใดอย่างหนึ่ง ใส่กระแสพอลิซัลไฟด์เข้าไปในระยะของการย่อยดังกล่าวนั้น ใส่กระแสของลิเควอร์ ไธโอซัลเฟท เข้าไปในระยะของการแยกลิกนินออกด้วยออกซิเจนดัง กล่าวนั้น กระแสที่มีออกซิเจนดังกล่าวนั้นถูกใช้ในระยะของการแยกลิกนินออกด้วยออกซิเจนดังกล่าว นั้นประกอบด้วยกระแสแรกที่มีออกซิเจน ใส่กระแสที่สองที่มีออกซิเจนพร้อมกับกระแสลิเควอร์ขาวที่ถูกออกซิไดซ์อย่างเต็มที่เข้าไป ในระยะของการออกซิไดซ์สกัดดังกล่าวนั้น อาจเลือกใส่กระแสของลิเควอร์ขาวที่เลือกให้ถูกออกซิไดซ์อย่างเต็มที่เข้าไปในระยะของ การฟอกจากด้วยเปอร์ออกไซด์ดังกล่าวนั้น ใส่กระแสย่อยสามกระแส ซึ่งประกอบด้วยลิเควอร์ขาว และกระแสที่สาม กระแสที่สี่ และ กระแสที่ห้าที่มีออกซิเจนเข้าไปในระยะของการผลิตพอลิซัลไฟด์ และระยะของการออกซิไดซ์ ลิเควอร์ขาวที่ความดันสูงขึ้น และระยะของการออกซิไดซ์ลิเควอร์ขาวอย่างสมบูรณ์ตามลำดับ กระแสแรกของกระแสย่อยสามกระแส จะทำปฏิกิริยากับกระแสที่สามที่มีออกซิเจนในระยะของการ ทำปฏิกิริยากับกระแสที่สี่ที่มีออกซิเจนในระยะของการออกซิไดซ์ลิเควอร์ขาวดังกล่าวนั้นเพื่อให้เกิด กระแสลิเควอร์ ไธโอซัลเฟท และกระแสที่สามของกระแสย่อยสามกระแสดังกล่าวนั้น จะทำปฏิกิริยา กับกระแสที่ห้าที่มีออกซิเจนในระยะของการออกซิไดซ์ลิเควอร์ขาวอย่างสมบูรณ์ดังกล่าวนั้น เพื่อให้ เกิดกระแสของลิเควอร์ขาวที่ถูกออกซิไดซ์อย่างเต็มที่ และกระแสของลิเควอร์ขาวที่อาจเลือกให้ถูก ออกซิไดซ์อย่างเต็มที่ ทำการขัดถูกกระแสของเสียโดยกระแสบางส่วน ซึ่งประกอบด้วย ลิเควอร์ขาว ลิเควอร์ไธโอ ซัลเฟท ลิเควอร์ขาวที่ถูกออกซิไดซ์อย่างสมบูรณ์ หรือลิเควอร์พอลิซัลไฟด์อย่างใดอย่างหนึ่ง นำกระแสที่ถูกขัดถู หรือกระแสของเสียอย่างใดอย่างหนึ่ง มาอัดให้ความดันสูงขึ้นที่ซึ่งระยะ ของการออกซิไดซ์ลิเควอร์ขาวที่ความดันสูงขึ้น และระยะของการออกซิไดซ์ลิเควอร์ขาวอย่าง สมบูรณ์ทำงาน และ การเกิดกระแสแรก กระแสที่สอง กระแสที่สาม กระแสที่สี่ และกระแสที่ห้า ซึ่งมีออกซิเจน จากกระแสที่ถูกขัดถูดังกล่าวนั้น
6.วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ในที่ซึ่ง ขัดถูกระแสของเสียดังกล่าวนั้นด้วยลิเควอร์ไธโอซัลเฟท เพื่อผลิตกระแสขัดถูกดังกล่าว และ กระแสของลิเควอร์ขาวดังกล่าวนั้น นำกระแสของลิเควอร์ขาวดังกล่าวนั้นมาหมุนเวียนใหม่ และรวมกับกระแสย่อยสามกระแส ซึ่งประกอบด้วยลิเควอร์ขาว และ ใส่กระแสขัดถูดังกล่าวนั้น เข้าไปในระยะพอลิซัลไฟด์ดังกล่าวนั้น และใช้บางส่วนในการเกิด กระแสของลิเควอร์ พอลิซัลไฟด์ และอัดส่วนที่เหลือของกระแสที่ถูกขัดถูดังกล่าวนั้นให้เป็นความดัน ของการทำงานดังกล่าวนั้น และแบ่งให้เป็นกระแสแรก กระแสที่สอง กระแสที่สี่ และกระแสที่ห้าที่มี ออกซิเจนดังกล่าวนั้น
7. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ในที่ซึ่งลิเควอร์ดำที่อ่อนดังกล่าวมาผ่านกรรมวิธีใหม่ เพื่อผลิต ลิเควอร์ขาว
TH9501000332A 1995-02-21 วิธีการฟอกจางเยื่อ TH16767B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH19257A true TH19257A (th) 1996-06-21
TH16767B TH16767B (th) 2004-04-28

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
FI67242B (fi) Saett att avlaegsna lignin fraon oblekt kemisk pappersmassa
CA1137257A (en) Ozone effluent bleaching
JPS6320953B2 (th)
JPS61138793A (ja) 強化酸化抽出法
SE7902901L (sv) Sett for blekning av oxygendelignifierad, cellulosahaltig massa med ozon
EP0650541B1 (en) Process for bleaching pulp in conjunction with adsorption of metals
EP0395792B1 (en) Procedure for the bleaching of pulp
JPH09511031A (ja) 漂白セルロースパルプの製造方法
US5571378A (en) Process for high-pH metal ion chelation in pulps
DE68914135D1 (de) Verfahren zum Bleichen von Zellstoff.
EP0408803B1 (en) Procedure for the bleaching of sulphate pulp
AU660301B2 (en) Process for bleaching a chemical paper pulp
TH19257A (th) วิธีการฟอกจางเยื่อ
JP2787618B2 (ja) セルロース材及びリグニンセルロース繊維状材料の過酸化漂白方法
AU687626B2 (en) Pulp bleaching
SE9500826L (sv) Massablekningsförfarande
DE3461941D1 (en) Hypochlorite treatment of chemical paper pulps
SE9601709D0 (sv) Treatment of filtrates in peroxide bleaching of pulp
US6059925A (en) Method to regenerate gas mixture in ozone-bleaching process
FI86895C (fi) Foerfarande foer motstroemstvaettning och blekning av massa fraon cellulosakok
FR2416297A1 (fr) Procede anti-polluant de blanchiment de pate a papier
FI119556B (fi) Menetelmä massan käsittelemiseksi prosessin suodoksella
Akim et al. REDUCTION OF EFFLUENT VOLUME AND FRESH WATER CONSUMPTION(SNIZHENIE OB'EMA CTOCHNYKH VOD I RASKHODA SVEZHEJ VODY)
Nishida et al. STUDIES ON OXYGEN-ALKALI TREATMENT OF LIGNEOUS MATERIALS. PART V. RECYCLE AND REUSE OF WASTE LIQUOR IN O-PA-P BLEACHING SEQUENCE(IN JAPANESE)
CA2173735A1 (en) A method of separating metal ions from pulp