TH18744C3 - กรรมวิธีการเตรียมแผ่นฟิล์มบางทองแดงออกไซด์ด้วยวิธีอโนไดเซชันสำหรับการกำจัดไนไตรท์ - Google Patents

กรรมวิธีการเตรียมแผ่นฟิล์มบางทองแดงออกไซด์ด้วยวิธีอโนไดเซชันสำหรับการกำจัดไนไตรท์

Info

Publication number
TH18744C3
TH18744C3 TH1903000740U TH1903000740U TH18744C3 TH 18744 C3 TH18744 C3 TH 18744C3 TH 1903000740 U TH1903000740 U TH 1903000740U TH 1903000740 U TH1903000740 U TH 1903000740U TH 18744 C3 TH18744 C3 TH 18744C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
copper
nitrite
copper oxide
solution
concentration
Prior art date
Application number
TH1903000740U
Other languages
English (en)
Other versions
TH18744A3 (th
Inventor
นายฉัตรชัยพลเชี่ยว
Original Assignee
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Filing date
Publication date
Application filed by มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี filed Critical มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Publication of TH18744A3 publication Critical patent/TH18744A3/th
Publication of TH18744C3 publication Critical patent/TH18744C3/th

Links

Abstract

บทสรุปการประดิษฐ์ซึ่งจะปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณาReadFile:------20/03/2563------(OCR)หน้า1ของจำนวน1หน้าบทสรุปการประดิษฐ์กรรมวิธีการเตรียมแผ่นฟิล์มบางทองแดงออกไซด์ด้วยวิธีอโนไดซ์เซชันสำหรับการกำจัดไนไตรท์ตามการประดิษฐ์นี้ประกอบด้วยการตรึงสารกึ่งตัวนำทองแดงออกไซด์(Cupricoxide,Cu2O)ลงบนแผ่นรองรับที่เป็นโลหะทองแดงด้วยวิธีการทางเคมีไฟฟ้าที่เรียกว่าการอโนไดเซชัน(Anodization)โดยการควบคุมค่ากระแสให้คงที่กับแผ่นทองแดงที่จุ่มอยู่ในสารละลายอิเล็กโทรไลด์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้เป็นขั้วไฟฟ้าแคโทดสำหรับการกำจัดไนไตรท์ภายใต้การเร่งด้วยแสงและศักย์ไฟฟ้าที่เรียกว่าเทคนิคโฟโตอิเล็กโตรคะตะไลติก(Photoelectrocatalytic:PEC)เพื่อเป็นการพัฒนาการเตรียมฟิล์มบางสารกึ่งตัวนำขั้วไฟฟ้าแคโทดให้มีประสิทธิภาพสูงในการเกิดปฏิกิริยารีดักชันสารประกอบไนไตรท์และสามารถขยายขนาดสเกลได้ง่ายเพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับการบำบัดนํ้าเสียที่มีสารไนไตรท์ปนเปื้อนด้วยหลักการโฟโตอิเล็กโตรคะตะไลติก------------หน้า1ของจำนวน1หน้าบทสรุปการประดิษฐ์กรรมวิธีการเตรียมแผ่นฟิล์มบางทองแดงออกไซด์ด้วยวิธีอโนไดซ์เซชันสำหรับการกำจัดไนไตรท์ตามการประดิษฐ์นี้ประกอบด้วยการตรึงสารกึ่งตัวนำทองแดงออกไซด์(Cupricoxide,Cu2O)ลงบนแผ่นรองรับที่เป็นโลหะทองแดงด้วยวิธีการทางเคมีไฟฟ้าที่เรียกว่าการอโนไดเซชัน(Anodization)โดยการควบคุมค่ากระแสให้คงที่กับแผ่นทองแดงที่จุ่มอยู่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้เป็นขั้วไฟฟ้าแคโทดสำหรับการกำจัดไนไตรท์ภายใต้การเร่งด้วยแสงและศักย์ไฟฟ้าที่เรียกว่าเทคนิคโฟโตอิเล็กโตรคะตะไลติก(Photoelectrocatalytic:PEC)เพื่อเป็นการพัฒนาการเตรียมฟิล์มบางสารกึ่งตัวนำขั้วไฟฟ้าแคโทดให้มีประสิทธิภาพสูงในการเกิดปฏิกิริยารีดักชันสารประกอบไนไตรท์และสามารถขยายขนาดสเกลได้ง่ายเพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับการบำบัดนํ้าเสียที่มีสารไนไตรท์ปนเปื้อนด้วยหลักการโฟโตอิเล็กโตรคะตะไลติก

Claims (2)

ข้อถือสิทธฺ์(ทั้งหมด)ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา:------20/03/2563------(OCR)หน้า1ของจำนวน2หน้าข้อถือสิทธิ 1.กรรมวิธีการเตรียมแผ่นฟิล์มบางทองแดงออกไซด์ด้วยวิธีอโนไดซ์เซชันสำหรับการกำจัดไนไตรท์มีขั้นตอนดังนี้ขั้นตอนที่1การทำความสะอาดแผ่นทองแดง1.1ตัดแผ่นทองแดงที่ใช้เป็นแผ่นรองรับให้มีลักษณะสี่เหลี่ยมจากนั้นทำความสะอาดด้วยสารซักฟอก(Detergent)เช็ดด้วยน้ำกลั่นจากนั้นเช็ดให้แห้ง1.2นำแผ่นทองแดงมาเตรียมผิวหน้าให้เหมาะสมโดยการสั่นด้วยเครื่องสั่นความถี่สูง(Ultra-sonicate)ในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์(Sodiumhydroxide,NaOH)ที่ความเข้มข้น1โมลต่อลิตรเป็นเวลา30นาทีและในน้ำกลั่นเป็นเวลา10นาทีจากนั้นสั่นต่อด้วยเครื่องสั่นความถี่สูง(Ultra-sonicate)ในสารละลายกรดไนตริก(Nitricacid,HNO3)อัตราส่วน1:10เป็นเวลา30นาทีและในน้ำกลั่นเป็นเวลา10นาทีจะได้แผ่นทองแดงที่สะอาดและมีพื้นที่ผิวเหมาะสมกับการทำอโนไดเซชันขั้นตอนที่2การตรึงทองแดงออกไซด์ด้วยเทคนิคอโนไดเซชัน2.1ต่อแผ่นทองแดง(2)ที่ทำความสะอาดเรียบร้อยแล้วกับขั้วไฟฟ้าบวกและต่อแผ่นทองแดง(3)กับขั้วไฟฟ้าลบโดยแผ่นทองแดง(3)จะมีขนาดใหญ่โค้งล้อมรอบแผ่นทองแดง(2)ซึ่งจะจุ่มแผ่นทองแดงทั้งสองลงในสารละลายอิเล็กโทรไลด์(4)(Electrolytesolution)ปริมาตร100มิลลิลิตรที่ซึ่งสารละลายอิเล็กโทรไลต์มีส่วนผสมของโซเดียมไอดรอกไซด์(Sodiumhydroxide,NaOH)ความเข้มข้น1โมลต่อลิตรโซเดียมคลอไรด์(SodiumChloride,NaCl)เข้มข้น2.5โมลต่อลิตรและเอทีลีนไกลคอล(Ethyleneglycol)ปริมาตร1มิลลิลิตรควบคุมอุณหภูมิสารละลายให้คงที่ที่80องศาเซลเซียสด้วยเตาไฟฟ้า(5)(hotplate)โดยควบคุมกระแสให้คงที่ที่1แอมแปร์ด้วยเครื่องควบคุมค่ากระแส(1)เป็นเวลา20นาทีซึ่งจะเกิดทองแดงออกไซด์(Cupricoxide,Cu2O)เคลือบที่ผิวหน้าทั้งสองด้านของแผ่นทองแดง(2)จากนั้นนำไปเผาที่อุณหภูมิ500องศาเซลเซียสเป็นเวลา1ชั่วโมง2.2ต่อสายไฟและปิดทับด้วยอิพอกซีเรซิ่น(Epoxyresin)รอให้แห้งจะได้ขั้วไฟฟ้าทองแดงออกไซด์(Cupricoxide,Cu2O)แล้วนำไปศึกษาคุณสมบัติต่างทั้งด้านการดูดกลืนแสงโครงสร้างผลึกสัณฐานวิทยาและสมบัติโฟโตอิเล็กโตรคะตะไลติก(Photoelectrocatalyticproperties)สำหรับการกำจัดไนไตรท์ขั้นตอนที่3การเตรียมขั้วไฟฟ้าทังสเตนออกไซด์/บิสมัทวานาเดต(Tungstenoxide/Bismuthvanadate,WO3/BiVO4)ด้วยวิธีการจุ่มเคลือบ(Dipcoatingmethod)โดยนำกระจกนำไฟฟ้าฟลูออรีนโดปทินออกไซด์(Fluorinedopedtinoxide;FTO)ที่ทำความสะอาดแล้วไปจุ่มสารละลายทังสะเตนออกไซด์(Tungstenoxide,WO3)ความเข้มข้น0.1โมลต่อลิตรแล้วนำมาอบที่อุณหภูมิ150องศาเซลเซียสเป็นเวลา5นาทีจากนั้นนำขั้วไฟฟ้าที่เย็นลงแล้วไปจุ่มสารละลายบิสมัทวานาเดต(Bismuthvanadate,BiVO4)ความเข้มข้น0.1โมลต่อลิตรแล้วนำมาอบที่อุณหภูมิ150องศาเซลเซียสเป็นเวลา5นาทีจากนั้นนำไปเผาที่อุณหภูมิ550องศาเซลเซียสเป็นเวลา60นาทีรอให้ขั้วไฟฟ้าให้เย็นลงจากนั้นต่อสายไฟและปิดทับด้วยอีพอกซีเรซิ่นหน้า2ของจำนวน2หน้า(Epoxyresin)และรอให้แห้งจะได้ขั้วไฟฟ้าFTO/WO3/BiVO4เพื่อใช้ทำเป็นขั้วไฟฟ้าแอโนด(Anodeelectrode)ต่อไป 2.การใช้แผ่นฟิล์มบางทองแดงออกไซด์ที่เตรียมได้จากกรรมวิธีในข้อถือสิทธิ1เป็นขั้วไฟฟ้าทองแดงออกไซด์สำหรับการกำจัดไนไตรท์มีขั้นตอนดังนี้นำขั้วไฟฟ้าทองแดงออกไซด์ที่เตรียมได้ประกอบกับเซลล์โฟโตอิเล็กโตรคะตะไลติก(Photoelectrocatalyticcell)โดยต่อขั้วทองแดงออกไซด์(3)(Cupricoxide,Cu2O)เข้ากับขั้วไฟฟ้าลบและขั้วไฟฟ้าทังสเตนออกไซด์/บิสมัทวานาเดต(2)(Tungstenoxide/Bismuthvanadate,WO3/BiVO4เข้ากับขั้วไฟฟ้าบวกภายใต้สภาวะเร่งด้วยแสงจากหลอดไฟ(5)และควบคุมศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ1.0โวลต์ด้วยเครื่องควบคุมศักย์ไฟฟ้า(1)ในสารละลายอิเล็กโทรไลด์(4)(Electrolytesolution)โซเดียมคลอไรด์(SodiumChloride,NaCl)ความเข้มข้น0.1โมลต่อลิตรและสารละลายไนไตรท์(Nitritesolution)ความเข้มข้น1.5มิลลิกรัมต่อลิตรติดตามความเข้มข้นของสารละลายไนไตรท์(Nitritesolution)เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการกำจัดที่เวลาต่างๆด้วยการตรวจวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่องยูวีวิสิเบิลสเปกโทรโฟโตมิเตอร์(UV/Visspectrophotometer) 3.การใช้แผ่นฟิล์มบางทองแดงออกไซด์ที่เตรียมได้จากกรรมวิธีในข้อถือสิทธิ1หรือ2เป็นขั้วไฟฟ้าทองแดงออกไซด์สำหรับการกำจัดไนไตรท์ที่ซึ่งสภาวะที่ดีที่สุดในการเกิดปฏิกิริยาการกำจัดไนไตรท์ในสารละลายน้ำคือจุ่มแผ่นทองแดงที่ทำความสะอาดเรียบร้อยแล้วในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ปริมาตร100มิลลิลิตรที่ซึ่งสารละลายอิเล็กโทรไลต์มีมีส่วนผสมของโซเดียมไฮดรอกไซด์(Sodiumhydroxide,NaOH)ความเข้มข้น1โมลต่อลิตรโซเดียมคลอไรด์(SodiumChloride,NaCl)เข้มข้น2.5โมลต่อลิตรและเอทิลีนไกลคอล(Ethyleneglycol)ปริมาตร1มิลลิลิตรควบคุมอุณหภูมิสารละลายให้คงที่ที่80องศาเซลเซียสควบคุมกระแสให้คงที่ที่1แอมแปร์เป็นเวลา20นาทีจากนั้นนำไปเผาที่อุณหภูมิ500องศาเซลเซียสเป็นเวลา1ชั่วโมงแล้วนำไปประกอบกับเซลล์โฟโตอิเล็กโตรคะตะไลติกโดยต่อขั้วไฟฟ้าทองแดงออกไซด์ที่ขั้วไฟฟ้าลบและขั้วไฟฟ้าทังสเตนออกไซด์/บิสมัทวานาเดตกับขั้วไฟฟ้าบวกภายใต้สภาวะเร่งด้วยแสงจากหลอดไฟและควบคุมค่าศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ1.0โวลต์ในสารละลายอิเล็กโทรไลด์โซเดียมคลอไรด์ความเข้มข้น0.1โมลต่อลิตร------------หน้า1ของจำนวน2หน้าข้อถือสิทธิ 1.กรรมวิธีการเตรียมแผ่นฟิล์มบางทองแดงออกไซด์ด้วยวิธีอโนไดซ์เซชันสำหรับการกำจัดไนไตรท์มีขั้นตอนดังนี้
1.การทำความสะอาดแผ่นทองแดง a.ตัดแผ่นทองแดงที่ใช้เป็นแผ่นรองรับให้มีลักษณะสี่เหลี่ยมจากนั้นทำความสะอาดด้วยสารซักฟอก(Detergent)เช็ดด้วยน้ำกลั่นจากนั้นเช็ดให้แห้ง b.นำแผ่นทองแดงมาเตรียมผิวหน้าให้เหมาะสมโดยการสั่นด้วยเครื่องสั่นความถี่สูง(Ultra?sonicate)ในสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์(Sodiumhydroxide,NaOH)ที่ความเข้มข้น1โมลต่อลิตรเป็นเวลา30นาทีและในน้ำกลั่นเป็นเวลา10นาทีจากนั้นสั่นต่อด้วยเครื่องสั่นความถี่สูง(Ultra-sonicate)ในสารละลายกรดไนตริก(Nitricacid,HNO3)อัตราส่วน1:10เป็นเวลา30นาทีและในน้ำกลั่นเป็นเวลา10นาทีจะได้แผ่นทองแดงที่สะอาดและมีพื้นที่ผิวเหมาะสมกับการทำอโนไดเซชัน 2.ขั้นตอนการตรึงทองแดงออกไซด์ด้วยเทคนิคอโนไดเซชัน2.1)ตามรายละเอียดรูปที่1ต่อแผ่นทองแดง(2)ที่ทำความสะอาดเรียบร้อยแล้วกับขั้วไฟฟ้าบวกและต่อแผ่นทองแดง(3)กับขั้วไฟฟ้าลบโดยแผ่นทองแดง(3)จะมีขนาดใหญ่โค้งล้อมรอบแผ่นทองแดง(2)ดังแสดงในรูปซึ่งจะจุ่มแผ่นทองแดงทั้งสองลงในสารละลายอีเล็กโทรไลด์(4)(Electrolytesolution)ที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮดรอกไซด์(Sodiumhydroxide,NaOH)ความเข้มข้น1โมลต่อลิตรโซเดียมคลอไรด์(SodiumChloride,NaCl)เข้มข้น2.5โมลต่อลิตรและเอทิลีนไกลคอล(Ethyleneglycol)อัตราส่วน1:100ควบคุมอุณหภูมิสารละลายให้คงที่ที่80องศาเซลเซียสด้วยเตาไฟฟ้า(5)(hotplate)โดยควบคุมกระแสให้คงที่ที่1แอมแปร์ด้วยเครื่องควบคุมค่ากระแส(1)เป็นเวลา20นาทีซึ่งจะเกิดทองแดงออกไซด์(Cupricoxide,Cu2O)เคลือบที่ผิวหน้าทั้งสองด้านของแผ่นทองแดง(2)จากนั้นนำไปเผาที่อุณหภูมิ500องศาเซลเซียสเป็นเวลา1ชั่วโมง2.2)ต่อสายไฟและปิดทับด้วยอีพอกซีเรซิ่น(Epoxyresin)รอให้แห้งจะได้ขั้วไฟฟ้าทองแดงออกไซด์(Cupricoxide,Cu2O)แล้วนำไปศึกษาคุณสมบัติต่างทั้งด้านการดูดกลืนแลงโครงสร้างผลึกสัณฐานวิทยาและสมบัติโฟโตอีเล็กโตรคะตะไลติก(Photoelectrocatalyticproperties)สำหรับการกำจัดไนไตรท์ 3.การเตรียมขั้วไฟฟ้าทังสเตนออกไซด์/บิสมัทวานาเดต(Tungstenoxide/Bismuthvanadate,WCVBiVOa)ด้วยวิธีการจุ่มเคลือบ(Dipcoatingmethod)โดยนำกระจกนำไฟฟ้าฟลูออรีนโดปทินออกไซด์(Fluorinedopedtinoxide;FTO)ที่ทำความสะอาดแล้วไปจุ่มสารละลายทังสะเตนออกไซด์(Tungstenoxide,WO3)ความเข้มข้น0.1โมลต่อลิตรแล้วนำมาอบที่อุณหภูมิ150องศาเซลเซียสเป็นเวลา5นาทีจากนั้นนำขั้วไฟฟ้าที่เย็นลงแล้วไปจุ่มสารละลายบิสมัทวานาเดต(Bismuthvanadate,BiVO4)ความเข้มข้น0.1โมลต่อลิตรแล้วนำมาอบที่อุณหภูมิ150องศาเซลเซียสเป็นเวลา5นาทีจากนั้นนำไปเผาที่อุณหภูมิ550องศาเซลเซียสเป็นเวลา60นาทีรอให้ขั้วไฟฟ้าให้เย็นลงจากนั้นต่อสายไฟและบิดทับด้วยอีพอกซีเรซิ่น(Epoxyresin)และรอให้แห้งจะได้ขั้วไฟฟ้าFT0/W03/BiVO4เพื่อใช้ทำเป็นขั้วไฟฟ้าแอโนด(Anodeelectrode)ต่อไปหน้า2ของจำนวน2หน้า 3.ขั้นตอนการประยุกต์ใช้ขั้วไฟฟ้าทองแดงออกไซด์ที่ได้พัฒนาขึ้นกับการกำจัดไนไตรท์นำขั้วไฟฟ้าทองแดงออกไซด์ที่เตรียมได้ประกอบกับเซลล์โฟโตอิเล็กโตรคะตะไลติก(Photoelectrocatalyticcell)ดังแสดงในรูปที่2โดยต่อขั้วทองแดงออกไซด์(3)(Cupricoxide,Cu2O)เข้ากับขั้วไฟฟ้าลบและขั้วไฟฟ้าทังสเตนออกไซด์/บิสมัทวานาเดต(2)(Tungstenoxide/Bismuthvanadate,W03/BiVO4)เข้ากับขั้วไฟฟ้าบวกภายใต้สภาวะเร่งด้วยแสงจากหลอดไฟ(5)และควบคุมศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ1.0โวลต์ด้วยเครื่องควบคุมศักย์ไฟฟ้า(1)ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์(4)(Electrolytesolution)โซเดียมคลอไรด์(SodiumChloride,NaCl)ความเข้มข้น0.1โมลต่อลิตรและสารละลายไนไตรท์(Nitritesolution)ความเข้มข้น1.5มิลลิกรัมต่อลิตรติดตามความเข้มข้นของสารละลายไนไตรท์(Nitritesolution)เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการกำจัดที่เวลาต่างๆด้วยการตรวจวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่องยูวีวิสิเบิลสเปกโทรโฟโตมิเตอร์(UV/Visspectrophotometer)
2.การเตรียมขั้วไฟฟ้าทองแดงออกไซด์ออกไซด์ด้วยเทคนิคอโนไดเซชันตามข้อถือสิทธิ1ที่ซึ่งสภาวะที่ดีที่สุดในการเกิดปฏิกิริยาการกำจัดไนไตรท์ในสารละลายน้ำคือจุ่มแผ่นทองแดงที่ทำความสะอาดเรียบร้อยแล้วในสารละลายผสมของโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น1โมลต่อลิตรโซเดียมคลอไรด์เข้มข้น2.5โมลต่อลิตรและเอทิลีบไกลคอลอัตราส่วน1:100ควบคุมอุณหภูมิสารละลายให้คงที่ที่80องศาเซลเซียสควบคุมกระแสให้คงที่ที่1แอมแปร์เป็นเวลา20นาทีจากนั้นนำไปเผาที่อุณหภูมิ500องศาเซลเซียสเป็นเวลา1ชั่วโมงแล้วนำไปประกอบกับเซลล์โฟโตริเล็กโตรคะตะไลติกโดยต่อขั้วไฟฟ้าทองแดงออกไซด์ที่ขั้วไฟฟ้าลบและขั้วไฟฟ้าทังสเตนออกไซด์/บิสมัทวานาเดตกับขั้วไฟฟ้าบวกภายใต้สภาวะเร่งด้วยแสงจากหลอดไฟและควบคุมค่าศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ1.0โวลต์ในสารละลายริเล็กโทรไลต์โซเดียมคลอไรด์ความเข้มข้น0.1โมลต่อลิตร
TH1903000740U 2019-03-26 กรรมวิธีการเตรียมแผ่นฟิล์มบางทองแดงออกไซด์ด้วยวิธีอโนไดเซชันสำหรับการกำจัดไนไตรท์ TH18744C3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH18744A3 TH18744A3 (th) 2021-11-25
TH18744C3 true TH18744C3 (th) 2021-11-25

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CN106868509B (zh) 一种石墨烯修饰含氟二氧化铅电极及其制备方法
CN103276429B (zh) 铝或铝合金的超疏水表面的制备方法
ES2378888T3 (es) Procedimiento para producir una película de recubrimiento de óxido de titanio cristalino a través de anodización electrolítica
CN101380636A (zh) 用于阳极化腔室部件的湿法清洁工艺
Folquer et al. Study of copper dissolution and passivation processes by electrochemical impedance spectroscopy
KR101525340B1 (ko) 도전성 다이아몬드 전극, 이것을 이용한, 황산 전해방법 및 황산 전해장치
CN106367795A (zh) 一种葡萄糖酸钠阳极氧化液及其制备方法和应用
CN104404566A (zh) 一种以修饰TiO2纳米管阵列为中间层的钛基二氧化铅阳极及其制备方法与应用
TH18744A3 (th) กรรมวิธีการเตรียมแผ่นฟิล์มบางทองแดงออกไซด์ด้วยวิธีอโนไดเซชันสำหรับการกำจัดไนไตรท์
TH18744C3 (th) กรรมวิธีการเตรียมแผ่นฟิล์มบางทองแดงออกไซด์ด้วยวิธีอโนไดเซชันสำหรับการกำจัดไนไตรท์
CN109985630A (zh) 一种铜镍电催化剂的制备方法
RU2070622C1 (ru) Способ нанесения керамического покрытия на металлическую поверхность микродуговым анодированием и электролит для его осуществления
CN112121470B (zh) 一种含氟废弃物的预分离方法及金刚石基分离装置
KR20140126076A (ko) 산화티타늄 전극의 제조방법, 이를 포함하는 활성산소종 생성 시스템, 염소 생성 시스템, 염료감응형 태양전지 및 전기이중층 커패시터
CN110257893A (zh) 一种铝箔腐蚀工艺
CN105702466A (zh) 一种高介电常数化成铝箔的制备方法
TW201031604A (en) Electrodialysis method for purifying of silicate-containing potassium hydroxide etching solution
CN114523220A (zh) 一种碳化硅晶圆片剥离方法及剥离装置
CN114394650A (zh) 一种螺旋二氧化钛光电极及其制备方法和应用
KR102605336B1 (ko) 전기 분해용 전극 및 이의 제조방법
CN107459110A (zh) 一种光阳极电极材料及其制备方法和应用
Tot et al. Electrochemical characterization of PbO2-TiO2 composite prepared on stainless steel substrate by cyclic voltammetry method
JP2003133308A (ja) 炭化ケイ素の酸化膜製造方法、酸化膜製造装置、および酸化膜を用いた半導体素子の製造方法
CN104399454B (zh) 一种具备抗硫中毒的含钯氧化钛光催化剂的制备方法
CN113308727B (zh) 二氧化钛纳米管、基于二氧化钛纳米管的复合电极、及其制备方法、应用