TH180713A - Production process of fermented soybean meal and / or fermented soybean meal with Penibacillus polyma - Google Patents

Production process of fermented soybean meal and / or fermented soybean meal with Penibacillus polyma

Info

Publication number
TH180713A
TH180713A TH1601003954A TH1601003954A TH180713A TH 180713 A TH180713 A TH 180713A TH 1601003954 A TH1601003954 A TH 1601003954A TH 1601003954 A TH1601003954 A TH 1601003954A TH 180713 A TH180713 A TH 180713A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
soybean meal
fermented
animals
amino acids
animal feed
Prior art date
Application number
TH1601003954A
Other languages
Thai (th)
Inventor
รัตติยา แววนุกูล นางสาว
Oulay Phoupasong Ms.
กนก รัตนะกนกชัย นาย
เตชะอภัยคุณ นายจักรกฤษณ์
ภัทรา ผาลอุน นางสาว
Original Assignee
นางสาวผ่องศรี เวสารัช
นายพิเชษฐ์ ธนพงศ์จงรวย
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวผ่องศรี เวสารัช, นายพิเชษฐ์ ธนพงศ์จงรวย filed Critical นางสาวผ่องศรี เวสารัช
Publication of TH180713A publication Critical patent/TH180713A/en

Links

Abstract

------23/11/2560------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้ได้เจตเผยถึงกรรมวิธีการผลิตกากถั่วเหลืองหมัก และ/หรือ กากถั่วเหลืองแยกเปลือก หมักด้วยจุลชีพเพนนิบาซิลลัส พอลิไมซา เพื่อปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของกากถั่ว เหลืองให้ดีขึ้นโดยอาศัยการทำงานของเอนไซม์ชนิดต่างๆ ที่จุลชีพผลิตขึ้น และกระบวนการหมักนี้สามารถ กำจัดสารด้านโภชนะต่างๆ ในกากถั่วเหลือง ได้แก่ สารขัดขวางการทำงานของน้ำย่อยทริปซิน สารที่ก่อให้เกิด อาการภูมิแพ้ สารกระตุ้นการจับตัวเป็นก้อนของเม็ดเลือดแดง และนํ้าตาลโอลิแซ็กคาไรด์ตระกูลแรฟฟิโนส และทำให้มีกรดอะมิโนอิสระเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะกรดอะมิโนจำเป็นที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของสัตว์ นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติด้านอนุมูลอิสระ ช่วยส่งเสริมให้สัตว์มีสุขภาพดี การประดิษฐ์นี้สามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์โดยนำกากถั่วเหลืองหมักที่ได้ไปใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์ทำให้ สัตว์สามารถดูดซึมและใช้ประโยชน์จากโปรตีนและสารอาหารในกากถั่วเหลืองได้ดีขึ้น ส่งผลดีต่อคุณภาพและ ปริมาณของเนื้อสัตว์ที่ได้ ------------ การประดิษฐ์นี้ได้เปิดเผยถึงกรรมวิธีการผลิตกากถั่วเหลืองหมัก และ/หรือ กากถั่วเหลืองแยกเปลือก หมักด้วยจุลชีพเพนนิบาซิลลัส พอลิไมชา เพื่อปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของถั่ว เหลืองให้ดีขึ้นโดยอาศัยการทำงานของเอนไซม์ชนิดต่างๆ ที่จุลชีพผลิตขึ้น และกระบวนการหมักนี้สามารถ กำจัดสารต้านโภชนะต่างๆ ในกากถั่วเหลือง ได้แก่ สารขัดขวางการทำงานของน้ำย่อยทริปชิน สารที่ก่อให้เกิด อาการภูมิแพ้ สารกระตุ้นการจับตัวเป็นก้อนของเม็ดเลือดแดง และน้ำตาลโอลิแซ็กคาไรด์ตระกูลแรฟฟิโนส และทำให้มีกรดอะมิโนอิสระเพิ่มมากขึ้นโดนเฉพาะกรดอะมิโนจำเป็นที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของสัตว์ นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ ช่วยส่งเสริมให้สัตว์มีสุภาพดี การประดิษฐ์นี้สามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยนำกากถั่วเหลือกหมักที่ได้ไปใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์ ทำให้ สัตว์สามารถดูดซึมและใช้ประโยชน์จากโปรตีนและสารอาหารในกากถั่วเหลืองได้ดีขึ้น ส่งผลดีต่อคุณภาพและ ปริมาณของเนื้อสัตว์ที่ได้ ------ 23/11/2017 ------ (OCR) page 1 of number 1 page invention summary This invention exposes a process for producing fermented soybean meal and / or split shell soybean meal. Fermented with penicillus polyimisa microorganisms to improve quality and increase the nutritional value of pea residue. Yellow improves by the work of various enzymes. That microorganisms produce And this fermentation process can Eliminate various nutritional substances In soybean meal, there is an inhibitor of gastric juice, trypsin. Substances that cause allergy symptoms, stimulants of red blood cell coagulation And the olisaccharide family of Raffinos. And increased free amino acids, especially essential amino acids that promote animal growth It also has the properties of free radicals. Help promote healthy animals This invention can lead to It is applied in the animal feed industry by using fermented soybean meal as an ingredient in animal feed. Animals are better able to absorb and utilize protein and nutrients in soybean meal. Positively affects the quality and The amount of meat produced ------------ This invention discloses a process for producing fermented soybean meal and / or shelled soybean meal. Fermented with penicillus polymaicha microorganisms to improve quality and increase nutritional value of beans. Yellow improves by the work of various enzymes. That microorganisms produce And this fermentation process can Eliminate various antinutrients In soybean meal, there is an inhibitor of gastric juice, tripchin. Substances that cause allergy symptoms, stimulants of red blood cell coagulation And the olisaccharide family of Raffinose And increase the free amino acids, only essential amino acids that promote the growth of animals It also has antioxidant properties. Helping to encourage the animals to be polite This invention can lead to Applied in animal feed industry By using fermented pea residue as an ingredient in animal feed, animals can better absorb and utilize protein and nutrients in soybean meal. Positively affects the quality and Quantity of meat

Claims (1)

: ------23/11/2560------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้ได้เจตเผยถึงกรรมวิธีการผลิตกากถั่วเหลืองหมัก และ/หรือ กากถั่วเหลืองแยกเปลือก หมักด้วยจุลชีพเพนนิบาซิลลัส พอลิไมซา เพื่อปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของกากถั่ว เหลืองให้ดีขึ้นโดยอาศัยการทำงานของเอนไซม์ชนิดต่างๆ ที่จุลชีพผลิตขึ้น และกระบวนการหมักนี้สามารถ กำจัดสารด้านโภชนะต่างๆ ในกากถั่วเหลือง ได้แก่ สารขัดขวางการทำงานของน้ำย่อยทริปซิน สารที่ก่อให้เกิด อาการภูมิแพ้ สารกระตุ้นการจับตัวเป็นก้อนของเม็ดเลือดแดง และนํ้าตาลโอลิแซ็กคาไรด์ตระกูลแรฟฟิโนส และทำให้มีกรดอะมิโนอิสระเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะกรดอะมิโนจำเป็นที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของสัตว์ นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติด้านอนุมูลอิสระ ช่วยส่งเสริมให้สัตว์มีสุขภาพดี การประดิษฐ์นี้สามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์โดยนำกากถั่วเหลืองหมักที่ได้ไปใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์ทำให้ สัตว์สามารถดูดซึมและใช้ประโยชน์จากโปรตีนและสารอาหารในกากถั่วเหลืองได้ดีขึ้น ส่งผลดีต่อคุณภาพและ ปริมาณของเนื้อสัตว์ที่ได้ ------------ การประดิษฐ์นี้ได้เปิดเผยถึงกรรมวิธีการผลิตกากถั่วเหลืองหมัก และ/หรือ กากถั่วเหลืองแยกเปลือก หมักด้วยจุลชีพเพนนิบาซิลลัส พอลิไมชา เพื่อปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของถั่ว เหลืองให้ดีขึ้นโดยอาศัยการทำงานของเอนไซม์ชนิดต่างๆ ที่จุลชีพผลิตขึ้น และกระบวนการหมักนี้สามารถ กำจัดสารต้านโภชนะต่างๆ ในกากถั่วเหลือง ได้แก่ สารขัดขวางการทำงานของน้ำย่อยทริปชิน สารที่ก่อให้เกิด อาการภูมิแพ้ สารกระตุ้นการจับตัวเป็นก้อนของเม็ดเลือดแดง และน้ำตาลโอลิแซ็กคาไรด์ตระกูลแรฟฟิโนส และทำให้มีกรดอะมิโนอิสระเพิ่มมากขึ้นโดนเฉพาะกรดอะมิโนจำเป็นที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของสัตว์ นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ ช่วยส่งเสริมให้สัตว์มีสุภาพดี การประดิษฐ์นี้สามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ โดยนำกากถั่วเหลือกหมักที่ได้ไปใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์ ทำให้ สัตว์สามารถดูดซึมและใช้ประโยชน์จากโปรตีนและสารอาหารในกากถั่วเหลืองได้ดีขึ้น ส่งผลดีต่อคุณภาพและ ปริมาณของเนื้อสัตว์ที่ได้ข้อถือสิทธิ์ (ข้อที่หนึ่ง) ซึ่งจะปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา : ------23/11/2560------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า ข้อถือสิทธิ: ------ 23/11/2017 ------ (OCR) page 1 of number 1 page invention summary This invention exposes a process for producing fermented soybean meal and / or split shell soybean meal. Fermented with penicillus polyimisa microorganisms to improve quality and increase the nutritional value of pea residue. Yellow improves by the work of various enzymes. That microorganisms produce And this fermentation process can Eliminate various nutritional substances In soybean meal, there is an inhibitor of gastric juice, trypsin. Substances that cause allergy symptoms, stimulants of red blood cell coagulation And the olisaccharide family of Raffinos. And increased free amino acids, especially essential amino acids that promote animal growth It also has the properties of free radicals. Help promote healthy animals This invention can lead to It is applied in the animal feed industry by using fermented soybean meal as an ingredient in animal feed. Animals are better able to absorb and utilize protein and nutrients in soybean meal. Positively affects the quality and The amount of meat produced ------------ This invention discloses a process for producing fermented soybean meal and / or shelled soybean meal. Fermented with penicillus polymaicha microorganisms to improve quality and increase nutritional value of beans. Yellow improves by the work of various enzymes. That microorganisms produce And this fermentation process can Eliminate various antinutrients In soybean meal, there is an inhibitor of gastric juice, tripchin. Substances that cause allergy symptoms, stimulants of red blood cell coagulation And the olisaccharide family of Raffinose And increase the free amino acids, only essential amino acids that promote the growth of animals It also has antioxidant properties. Helping to encourage the animals to be polite This invention can lead to Applied in animal feed industry By using fermented pea residue as an ingredient in animal feed, animals can better absorb and utilize protein and nutrients in soybean meal. Positively affects the quality and The amount of meat that has the claim (Section one) which will appear on the advertisement page: ------ 23/11/2017 ------ (OCR) Page 1 of the number 1 page. 1. กรรมวิธีการผลิตกากถั่วเหลืองหมัก และ/หรือ กากถั่วเหลืองแยกเปลือกหมักด้วยจุลชีพ เพนนิบาซิลลัส พอลิไมซา ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ ก. การเตรียมวัตถุดิบ โดยนำกากถั่วเหลือง และ/หรือ กากถั่วเหลืองแยกเปลือก ผสมนํ้าให้มีความ เข้มข้นร้อยละ 20-50 โดยมวลต่อปริมาตร ใส่ลงในลังหมัก ให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 100-120 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15-20 นแท็ก :1. Production process of fermented soybean meal and / or fermented soybean meal with microbial bark The penicillus polyma consists of the following steps: a. Preparation of raw materials. By separating soybean meal and / or soybean meal Mix with water Concentrated 20-50% by mass by volume. Put into the fermentation crate It is heated to 100-120 ° C for 15-20 hours.
TH1601003954A 2016-07-04 Production process of fermented soybean meal and / or fermented soybean meal with Penibacillus polyma TH180713A (en)

Publications (1)

Publication Number Publication Date
TH180713A true TH180713A (en) 2018-10-18

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Kumar et al. Microalgae as a sustainable source of edible proteins and bioactive peptides–Current trends and future prospects
EP4233557A3 (en) A process for making a plant based product
CN104082520B (en) A kind of low value marine fish Gly-His-Lys and its preparation method and application
KR101721729B1 (en) Ginseng Berry assisted pet food manufacturing method
RU2014128662A (en) HAVING A VEGETABLE BASIS ALTERNATIVE TO CUTTING MEAT
DE502007004033D1 (en) PROCESS FOR OBTAINING TEMPORUS FRUIT PROTEIN FRACTIONS OF MEDIUM MOLECULAR WEIGHT, TROUT PROTEIN FRACTION AND USE THEREOF
KR20200064407A (en) Aquarium fish feed composition using insect and manufacturing method thereof
CN103254000A (en) Pleurotus eryngii compost formula
Türker et al. Waste (water) to feed protein: Effluent characteristics, protein recovery, and single-cell protein production from food industry waste streams
RU2431411C1 (en) Method for production of protein product of manchurian walnut cake
CN103976271A (en) Nutritional type fish meat fine dried noodles and production method thereof
CN104351538A (en) Feed for meat pigeons and preparation method of feed
CN104146170A (en) Piglet feed
CN103637175A (en) Apple pear chili sauce and preparation method thereof
TH180713A (en) Production process of fermented soybean meal and / or fermented soybean meal with Penibacillus polyma
CN104322876A (en) Boar feed and preparation method thereof
Degtyarev et al. Protein preparations from rapse processing waste: A review of the current status and development prospects of existing technologies
CN106798184A (en) A kind of feed combinations for juvenile prawn cultivation
CN105053660A (en) Young pigeon feed formula
TH180713B (en) Production process of fermented soybean meal and / or fermented soybean meal with Penibacillus polyma
Galali et al. Extraction of Bioactive Molecules from Food Processing By-Products
RU2516788C2 (en) Cedar curd production method
RU2429725C1 (en) Biologically active supplement with hypocholesteremic properties
CN106798188A (en) A kind of feed combinations for juvenile prawn cultivation
Kumar et al. Smart proteins as a new paradigm for meeting dietary protein sufficiency of India: a critical review on the safety and sustainability of different protein sources